SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 217
ติว สอบภาคปฏิบ ัต ิ


             ณ.สวนสิร ีร ุก ชาติ
     มหาวิท ยาลัย มหิด ล ศาลายา
โกฐก้า น
       พร้:า วข้อๆ
 ลัก ษณะ เป็น
  คล้ายหางหนู
 รส : เย็น
 สรรพคุณ : แก้หอบ
  สะอึก
• อยูในพิกดโกฐทัง 7 และ 9
     ่    ั     ้
• สรรพคุณเสมอ ชิงช้าชาลี
          สรรพคุณ
• ( แก๊ก : หอบทางมะพร้าวไป
  ทิงตอนเย็นแล้วผูกชิงช้า
    ้
  นอน)         รส
          เสมอ
โกฐจุฬ าลัม
   พา
 ลัก ษณ ะ : ใบป่นๆ สี
 นำ้าตาลปนเทา ต้นสี
 นำ้าตาล มักมาทั้งต้น
 ใช้ท ั้ง ต้น
 รส : ขมกลิ่นหอม
     ( สาวจุฬาฯ ผิวขาวกลิ่น
    กายหอม )
    สรรพคุณ : แก้ไข้
    เจรียง
• สรรพคุณเสมอ หญ้า
ลัก ษณ ะ : เป็น
โกฐหัว บัว
             
              ก้อนๆ เหมือนก้อนขี้
              หมู
              รส : มันสุขุมหอม
                  ( กินเม็ดบัว มัน...หอม )
                 สรรพคุณ :
                      แก้ลมในกอง
                 ริดสีดวง
             • อยูในพิกัดโกฐทัง 5, 7
                  ่           ้
               และ 9
             • สรรพคุณเสมอ หัว
โกฐสอ
 ลัก ษณะ : รูปร่างคล้าย
 สากกระเบือ
 รส : สุขุมกลิ่นหอม
 สรรพคุณ : แก้หืด แก้
 ไอ
            บำารุงหัวใจให้
 ชุมชื่น
   ่
               สุข ุม
     โกฐสอ 3 ส/ศ      สากกระ
    เบือ
                 ศอ = คอ     แก้
    หือ แก้ไ อ
โกฐเชีย ง
 ลัก ษณะ : เป็นเส้น
 นิ่มๆ และมีความ
 เหนียว
 รส : หวานสุขุม
     ( กุน เชีย ง ทอด หวาน
    กิน มากแล้ว ไอ )
    สรรพคุณ : แก้
    สะอึก แก้ไอ
    แก้ลมเสียดแทง 2
    ราวข้าง
โกฐเขมา
 ลัก ษณะ : ก้อน
 เล็กๆ คล้าย
  ก้อนขี้หมา สีออก
 เหลืองๆ
 รส : สุขุมหอม
 สรรพคุณ : แก้
 โรคในปาก
 ( เขมา = เม๊าท์ /
   mouth )
โกฐกระดูก
 ลัก ษณะ : ผิวแข็ง มีรู
 พรุนคล้ายกระดูก ผิว
 นอกเป็นร่องให้ดมดู
 กลิ่นฉุนมาก
 รส : ร้อนกลิ่นหอม
 สรรพคุณ : แก้ลมวิง
 เวียน
           หน้ามืด
 ตาลาย
( แก๊ก : เผากระดูก จะเป็น ลม
   หน้า มืด ต้อ งใช้ไ ฟร้อ น
   เผาแล้ว มีก ลิ่น หอม )
โกฐชฎามัง สี
       ลัก ษณะ : เม็ดเล็กๆ
       งอๆ เหมือนตัวหนอน
       ผิวเป็นกำามะหยี่
       รส : สุขุมหอม

       สรรพคุณ : ขับเลือด
       เน่าร้าย
      ( ดูล ะครนางร้า ย ใส่ช ฎา ขับ
         รสคัน เดีย วกับ เขมา )
       ( ชฎา – นึก ถึง ผู้ห ญิง – ขับ
         เลือ ดเน่า ร้า ย )
      • อยู่ในพิกดเนาวโกฐ
                 ั
โกฐพุง ปลา
         ลัก ษณะ : เป็นกระ
         เปาะเหมือนพุงปลา
         รส : ฝาด ( ลูก )
         ( แก๊ก : ฝาก ลูกไว้ใน
           พุงปลา )
            สรรพคุณ : แก้
            ท้องร่วง
                     แก้
            อาเจียน
        • จัดเป็นพืชประเภท
          เถา-เครือ
เป็น ท่อ นแข็ง มีเ ส้น เป็น ร่อ ง
 ตามแนวยาว เป็น ระเบีย บ             โกฐกัก กรา
                                      ลัก ษณะ : ผิวเป็น
                                      ร่องๆตามยาว มีเส้น
                                      กั้น ( กัก )เป็นระยะ
                                      รส : ฝาดน้อยเผ็ด

มีเ ส้น กัก
                                      ร้อนซ่า
เป็น ระยะ                             สรรพคุณ : แก้
                                      ริดสีดวงทวาร แก้
                                      คลื่นเหียนอาเจียน
                                     ( กักกรา = กรักขฬะ-จนน่า
                                        อาเจียอนแข็ง หักยาก
                                          เป็นท่ น )
โกฐนำ้า เต้า
แบบหั่น มาเป็น
ชิ้น ๆแล้ว



                   ลัก ษณะ : เปลือกสี
                   เข้มขรุขระหน้าตัดวง
                   เนือข้างในเป็นสีเหลือง
                      ้
                   เนือแน่นๆ ไม่พรุน
                        ้
                  รส : ฝาดหอม
                  ใช้ร าก ( ปอกเปลือก
                     ออกนำาไปนึงแล้วตากแห้ง
                               ่
                     )
                     สรรพคุณ : แก้
                     ริดสีดวงทวาร
โกฐกะกลิ้ง ( แสลงใจ, ลูก กระจี้,)
                    ลัก ษณะ : เหมือน
                    กระดุม
                    รส : ขมเมา ( ขี้เมา
                       เมาจนกลิ้ง )
                       สรรพคุณ : แก้ลม
                       อัมพาต
                        บำารุงประสาท บำารุง
                       หัวใจ
                          ( แสลงใจ แต่บำารุง
                     หัวใจ )
                   • อยูในพิกัดโกศพิเศษ
                        ่
เทีย นเยาวพานี
 ( ผัก ชีก ะเหรี่ย ง )
            ลัก ษณะ : เม็ดเล็กๆ
            คล้าย
            ลูกผักชีล้อม แต่เล็กกว่า
            ไม่มีแตกครึ่งซีก
            รส : หวานกลิ่นหอม
            สรรพคุณ : แก้
            คลื่นเหียน อาเจียน
            ( แก๊ก : น้องนีเป็นน้องเล็ก
             เป็นคนกะเหรี่ยง หน้าหวาน
             แต่พอหอม
             แล้วจะอวก )
เทีย นตา
ตั๊ก แตน ( ผัก ชีล าว
          )
    ลัก ษณะ : รีๆเหมือน
   ดวงตา มีหาง
             เล็กกว่าเทียน
   ตากบ
   รส : ขมเผ็ดร้อนเล็ก
   น้อย
        ผัก ชีล าว
   ( แก๊ก : คนลาวชอบกินตั๊กแตน
      ทอด ทอดนานไปหน่อยเลย ขม
      ก่อนกินโรยพริกไทย เผ็ด จะ
      กินให้อร่อยต้องกินตอนยัง ร้อ น
เทีย นตากบ
        ลัก ษณะ : คล้าย
        เทียนตาตั๊กแตน แต่มี
        ขนาดใหญ่กว่า มี
        ลักษณะเหมือนรูป
        ดวงตา
        รส : เผ็ดร้อนขม
        หอม
        สรรพคุณ : แก้
        กระเพาะอาหารพิการ
เทีย นข้า ว
  เปลือ ก
    ลัก ษณะ : รูปร่างคล้าย
    ข้าวเปลือก อ้วนกว่าเทียน
    ขาว เปลือกมีเส้นลาย มี
    หางสั้นกว่าเทียนแกลบ
    รส : หวานเผ็ดหอม

( แก๊ก: กินข้าวหอมมะลิตอน
  เย็น )
 สรรพคุณ : ขับผายลม
    แกท้องอืดท้องเฟ้อ
    ( แก๊ก : กินข้าวบำารุงกำาลัง
เทีย นขาว
        ( ยีห ร่า )
            ่
 ลัก ษณะ : คล้าย
 เทียนข้าวเปลือก แต่
 ขนาดเล็กและผอมกว่า
 รส : เผ็ดร้อนขม
    ( เราขาว ผัวเราก็ขาว )
    สรรพคุณ : บำารุง
    กำาลัง
        ( เหมือนเทียนข้าว
    เปลือก )
ขับผายลม แก้เส้น
   ศูนย์กลางท้องพิการ
( เทีย นขาว – ให้น ึก ถึง เส้น
   ขาวกลางถนนเวลาขับ
   รถ )
เทีย นแดง
 ลัก ษณะ : เม็ดเล็กๆ
 สีแดง
 รส : เผ็ดร้อนขมเล็ก
 น้อย
( เราแดง ผัว เราขาวเล็ก
   น้อ ย แต่เ ป็น คน (นำ้า )ดี )
    สรรพคุณ : ขับ
    เสมหะ
        แก้ลม แก้นำ้าดี
เทีย นดำา
                                 ลัก ษณะ : เม็ดเล็กๆ
                                 สีดำาด้านๆ
                                 รส : เผ็ดขม
                                (แก๊ก : เราดำา ผัวขาวซีด
                                  ต้องบำารุงโลหิต )
                                    สรรพคุณ : บำารุง
                                    โลหิต
( เทีย นดำา , หยัก ใย่ไ ฟ ของ
                                            แก้อาเจียน
ดำา บำา รุง โลหิต )             • อยูในพิกัดเทียนทัง5, 7
                                     ่             ้
                                  และ 9
เทีย นเกล็ด
    หอย
         ลัก ษณะ   : เม็ดบางๆ
         ขาวๆ
          มีรอยบุ๋มตรงกลาง
         เม็ด
         รส : เผ็ดร้อนขม
         หอม
         สรรพคุณ : แก้ลม
         วิงเวียน
          แก้หน้ามืด ตามัว
เทีย นแกลบ
 ลัก ษณ ะ : เม็ดใหญ่
 กว่าเทียวขาว เปลือก
 บางกว่าไม่มีลายเส้น
 มีหางยาว
 รส : เผ็ดร้อนเล็ก
 น้อย
( แก๊ก :ผัว เราตัว เล็ก นะจะ
  กิน แกลบอยู่แ ล้ว ยัง ชอบ
  ขึ้น เบื้อ งสูง )
   สรรพคุณ : แก้
เทีย นลวด
                     ลัก ษณะ : คล้ายลวด
                     ตากผ้า ตัดมาเป็น
                     ท่อนๆ สีดำา
                     รส : ร้อนขมหอม
                     ( ใช้ราก )
                     สรรพคุณ : แก้
                     กำาเดา แก้เพ้อคลั่ง
• อยูในพิกัด
     ่                นอนสะดุ้งสะทก
เทียนพิเศษ           สะท้าน
กระดัง งา
      ไทย
 ลัก ษณะ : ดอกไม้
 แห้ง กลีบเป็น
 เกลียว ริ้วๆ
 รส : สุขุมกลิ่นหอม
 สรรพคุณ : 3 บำา /
 บำารุงหัวใจ
         บำารุงโลหิต
 บำารุงธาตุ
พิก ุล
 ลัก ษณะ : ดอกไม้
 เล็กๆ ปลายเหมือน
 แปรง
 รส : ฝาดกลิ่นหอม
 สรรพคุณ : บำารุง
 โลหิต
• อยูในพิกัดเกสรทั้ง5, 7
     ่
  และ 9
• อยูในยาหอม
       ่
สารภี
 ลัก ษณะ : ดอกไม้
 เล็กๆ
 คล้าย ค๊อปเตอร์
 โดเรมอน
 รส : หอมเย็น
 สรรพคุณ : บำารุง
 หัวใจ
• อยูในพิกดเกสรทัง5,
     ่    ั      ้
มะลิ ( เป็น ไม้เ ถา
     ยืน ต้น )
  ลัก ษณะ : ยังคงรูป
  ของดอก มะลิอยู่
  ชัดเจน
  รส : หอมเย็น
  สรรพคุณ : แก้ร้อน
  ในกระหายนำ้า ทำาให้
  จิตใจแช่มชื่น
 ( แก๊ก : ดื่มนำ้าเย็นลอยดอก
    มะลิแก้ร้อนในกระหาย
    นำ้า ทำาให้ชื่นใจ )
 • จัดอยู่ในประเภท เถา –
บุน นาค
                  ลัก ษณะ : ดอกไม้
                  แห้งที่ใหญ่ที่สด กลีบ
                                 ุ
                  ดอกหนาแข็ง มีเจดีย์
                  แหลมตรงกลาง
                  รส : หอมเย็น
                  สรรพคุณ : บำารุง
                  โลหิต
                 ( ตระกุล บุน นาค ชอบกิน
                   ยาบำา รุง โลหิต )
มีเ จดีย แ หลม
         ์          พิก ุล
ตรงกลาง
                 • อยูในพิกัดเกสรทัง 5, 7
                      ่            ้
ดอก
ลำา เจีย ก
        ลัก ษณะ : เกสรเล็กๆ
        จำานวนมาก สีเหลือง
        เป็นฝอยๆ ฟูๆ เหมือน
        ปลาดุกฟู
        ดอก : รสหอมเย็น
        บำารุงหัวใจ
        รากอากาศ : รสจืด
        หวานเล็กน้อย
                    ขับปัสสาวะ
ลำา ดวน
 ลัก ษณะ : ก้านดอก
 ยาว มีกลีบดอก 3
 กลีบ เหมือนขนมกลีบ
 ลำาดวน
 รส : หอมเย็น
 สรรพคุณ : บำารุง
 หัวใจ
• อยูในพิกัดเกสรทั้ง 9
     ่
คำา ไทย       ( คำา แสด,
                              คำา เงาะ )
                          ลัก ษณะ : เป็นดอกไม้ที่
                          ไม่บาน ก้านดอกเป็นช่อ
                         รส : หวาน ( นึกถึงนำ้าคำา-
                          หวาน )
                         สรรพคุณ : บำารุงโลหิต
                                แก้โลหิตจาง
                      • เรียกอีกชื่อหนึงว่า ดอกชาติ
                                       ่
                      • อยู่ในยาบำารุงโลหิต 10 ส่วน
ดอกไม่   ผลมีข น      • ทำาสีผสมอาหารได้ สีแสด
บาน      คล้า ยเงาะ
เกสรบัว      ลัก ษณะ    : เกสรเส้น
  หลวง        เล็กๆ ยาวๆ สีเหลือง ยิ่ง
              ใหม่สียิ่งเหลือง
             รส : ฝาดหอม
              ( เกสร )
             สรรพคุณ : บำารุง
              ครรภ์รักษา แก้ไข้
              รากสาดหรือไข้ท้อง
              เสีย
            • อยู่ในพิกัดตรีเกสรเพศ,
              เกสรมาศ
             เหง้า : รสหวานมันเล็ก
• อยูในยา
     ่
              น้อย แก้ร้อนในกระหาย
เกสรดอก
คำา ฝอย ( ดอกคำา
           )
   ลัก ษณะ : เกสรสี
   แดงๆ ส้มๆ
   รส : หวาน ( เกสร )
   สรรพคุณ : บำารุง
   โลหิต
  • ดอก รสหอมร้อน บำารุง
    หัวใจ
  • ใช้ทำาสีผสมอาหารได้สี
กานพลู
 ลัก ษณะ : เหมือน
 ไมโครโฟน
 รส : ร้อน ( ดอก )
 สรรพคุณ : แก้ปวด
 ท้อง จุกเสียด แก้ปวด
 ฟัน แก้รำามะนาด
•  พิกดตรีพษจักร, พิกัดตรี
      ั    ิ
  คันธวาต
• สรรพคุณเสมอ ลูกจันทน์
• สสม. ช่วยป้องกันไม่ให้
ดอกงิ้ว
    ลัก ษณะ :
        ดอกไม้แห้ง
    เหมือนที่ใส่ใน
    ขนมจีนนำ้าเงี้ยว

    สรรพคุณ :
       ตำาผสมนำ้าทา
    ระงับปวด
กระเจี๊ย บ
  ลัก ษณะ : เหมือนใน
  ภาพ
 ใบ : รสเปรี้ยว กัดเสลด
 เมล็ด ใน : รสจืด บำารุง
  ธาตุ
 ผล : รสจืดเมาเล็กน้อย
  ขับเหงื่อ
 ใช้ท ั้ง 5 : แก้พยาธิตัวจี๊ด
• ในสสม. ใช้กลีบเลี้ยงและ
  กลีบรองดอก ใช้รักษาอาการ
    ขัดเบา โดยนำาไปตากแห้ง และ
สมอทะเล

แฉกคล้า ย
              ลัก ษณะ : หัวเป็น
ตรารถเบนซ์    แฉกเหมือนตรารถ
              เบนซ์
              รส : ร้อน
             ( แก๊ก : ขับรถเบนซ์ไปทะเล
               มันร้อน
             ลมก็แรง กินอาหารทะเลแล้ว
               ท้องเสีย อีก )
                 สรรพคุณ : ถ่าย
                 อุจจาระ ถ่ายลม
สมอพิเ ภก    ลัก ษณะ : ส่วนหัวมี
              จุก ผิวเป็นกำามะหยี่
              รส : เปรี้ยวฝาดหวาน
              ( ผลแก่ )
              ( แก๊ก : พิเภกยักษ์แก่ ตา
               ไม่ดีเลยใช้ให้ ไปเฝ้าวัด )

              สรรพคุณ : แก้โรค
หัว มี
               ตา
จุก               แก้เสมหะจุกคอ
               แก้ริดสีดวง
             • พิกดตรีผลา ,ตรีสมอ
                  ั
สมอไทย
                 ลัก ษณะ : ลูกสีดำา
                 เหี่ยวๆ
                            ( สมอไทย ไข่
                 เหี่ยว )
ผิว ลูก จะ
                 รส : ฝาดติดเปรี้ยว
เหี่ย วมาก          ( พี่ไทย ไฝติดปาก )
                 สรรพคุณ : ระบา
                 ยอ่อนๆ
                        คุมธาตุ
             • อยูในพิกัดตรีผลา ,
                  ่
สมอเทศ
        ลัก ษณะ : ลูกสี
        นำ้าตาล ผิวลูกตึงกว่า
        สมอไทย
         ( แก๊ก : สมอไทยไข่เ หี่ย ว
        สมอเทศไข่ต ึง )
        รส : เปรี้ยวและฝาด
        จัด
            ( ปากเลียไฝจัด )
        สรรพคุณ : ระบา
        ยอ่อนๆ
สมอดีง ู

        ลัก ษณะ   : ลูกยาวรี
        หัวแหลมท้ายแหลม
        สีดำา ผิวเป็นร่อง
        รส : ขมฝาด
           ( งูขดข้างฝาหมดแรง
            เพราะถ่ายมาก )
           สรรพคุณ : ถ่าย
           ระบายอุจจาระแรง
           กว่าสมอชนิดอื่น
ลูก กระดอม
       ลัก ษณะ : ลูกสีนำ้า
       ตาลรีๆ ยาวๆ
               ผิวเปลือก
       เหี่ยวๆ
       รส : ขม
       สรรพคุณ : บำารุง
       นำ้าดี
      • อยูในยาจันทลีลา
            ่
      ( 3 ทหารขม = บอระเพ็ด
ลูก จัน ทน์เ ทศ
 กะเทาะ
 เปลือ กแล้ว                  ลัก ษณะ : ถ้ายังไม่
                              กะเทาะเปลือก
                             ลูกกลมรีสดำา ถ้ากะเทาะ
                                       ี
                              เปลือกแล้ว
                             เนื้อในลูกจะมีลาย
ยัง ไม่ก ะเทาะเปลือ กออก
                             รส : หอมฝาดหวาน
                              สุขุม
                             สรรพคุณ : บำารุง
                              โลหิต
รกจัน ทน์
( ดอกจัน ทน์ )
 ลัก ษณะ : รกหุ้มเมล็ด
 สีแดง
 รส : เผ็ดร้อน ( ในยา
    9 รส )
             หอมฝาดร้อน
    ( พืชวัตถุ )
    สรรพคุณ : บำารุง
    โลหิต ( สีแดง )
       บำารุงเนื้อหนังให้
มะขามป้อ ม
                 ลัก ษณะ : ลูกกลมๆ
                 เหี่ยวๆ ผิวมีลายจุด ลูก
                 ที่แตกจะมีเขี้ยว งอๆ
มีเ ขี้ย วงอๆ    รส : เปรี้ยวฝาดขม
                 ( ผลแก่ )
                      (ป้อม ไปเฝ้าขวด )
                       ฝาดขม ( ผล
                 อ่อน )
                 สรรพคุณ : แก้เสมหะ
                 ( ผลแก่ )
                บำารุงเนื้อหนังให้สมบูรณ์
ลูก เบญกานี
        ลัก ษณะ : ลูกสี
มี
หนา     นำ้าตาลอ่อน
ม
         มีหนามเหมือนลูก
        ระเบิด
        รส : ฝาด
        สรรพคุณ : แก้ท้อง
        ร่วง
        สมานแผล
       • อยูในยามันทธาตุ 3
            ่
ลูก สำา รอง
 ลัก ษณะ : ลูกสี
 นำ้าตาลเข้ม
           ผิวเหี่ยวๆ
 ใช้เ นือ ในลูก
         ้
 รส : เปรี้ยว
 สรรพคุณ : แก้
 กระหายนำ้า
เมล็ด สลอด
 ลัก ษณะ : เหมือน
 ในภาพ
 รส : เมาเบื่อ
 สรรพคุณ : ถ่าย
 อย่างแรง
• สรรพคุณเสมอ
  พาดไฉน
• ก่อนใช้ต้องนำาไป ฆ่า
  ฤทธิ์ ก่อน โดยนำาไป
  ห่อรวมกับข้าวเปลือก
ลูก
 ลักระวาน ว
    ก ษณะ : คล้ายหั
 กระเทียม
         แต่เล็กกว่า สี
 ครีม
 รส : เผ็ดร้อนเล็กน้อย
 ( ลูก )
 สรรพคุณ : ขับเสมหะ
 โลหิต และลม
  ( แก๊ก : ผัวเราวานลูกให้
 ขับ 3 อย่าง )
     เผ็ด ร้อ น        ลูก
ลูก เล็บ มือ นาง           (
       ไม้เ ถายืน ต้น )
  ลัก ษณะ : เหมือนลูก
  มะเฟือง
          แต่ขนาดเล็ก
  กว่า
  รส : เบื่อเอียน
  สรรพคุณ : ขับพยาธิ
     ไส้เดือน
 • เป็นพืชประเภท เถา – เครือ
กระเบา
      ลัก ษณะ : ลูกกลมๆ
      คล้ายหินตามนำ้าตก
      เขย่าจะได้ยินเสียง
      เมล็ดข้างใน
      รส : เมาเบื่อ
      สรรพคุณ : นำ้ามัน
      จากเมล็ด
               แก้โรค
      ผิวหนัง
มะคำา ดีค วาย
         ลัก ษณะ : ลูกสีดำา ผิว
         เป็นมัน
         รส : ขม
         สรรพคุณ : บำารุง
         นำ้าดี
                  แก้กาฬ
         ภายใน
        • สุมเป็นถ่าน อยูในยามหา
                         ่
          นิลแท่งทอง
        • ต้มเอาฟองสุมศีรษะเด็กแก้
ลูก ผัก ชีล า
    ลัก ษณะ : เม็ด
    กลมๆ
    ( ล้อมรี-ลากลม )
   รส : ฝาดร้อนหอม
    ( ฝากรักหา ก่อนลา
    ลม )
    สรรพคุณ : ขับลม
    ในลำาไส้
             บำารุงธาตุ (
  ลา )
• พิกดตรีสัตกุลา, ทศ
     ั
ลูก ผัก ชีล ้อ ม
                  ลัก ษณะ : เม็ดรีๆ
                  คล้ายเทียนเยาวพานี
                  แต่ใหญ่กว่าเล็กน้อย
บางเม็ด แตก
ครึ่ง ซีก         บางเม็ดมีแตกครึ่งซีก
                  ( ล้อมรี-ลากลม )
                 รส : หอมร้อนเล็ก
                  น้อย
                  ( ล้อม-จักร หากรักเล็ก
                  น้อย )
                     ( ตรีพ ิษ จัก ร )
ราชดัด
 ลัก ษณะ : เมล็ดรี
 เปลือกย่นคล้ายเม็ด
 มะละกอ แต่เล็กกว่า
 รส : ขม
 สรรพคุณ : บำารุง
 นำ้าดี
• อยูในพิกัดตรีทราวสา
     ่          ุ
• อยูในยาหอมเนาวโกฐ
       ่
  4 ส่วน
เมล็ด ชุม เห็ด ไทย
            ลัก ษณะ : เม็ดเล็ก
            สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
            รส : ขมหอมเล็กน้อย
            สรรพคุณ : ทำาให้
            นอนหลับ
           ( ก่อนใช้ต้องนำาเมล็ดไปคั่ว
              ให้เกรียม )
           • ราก ชุมเห็ดไทย เป็นนำ้า
              กระสายยาแก้นอนไม่
              หลับ
ลูก ซัด
           ลัก ษณะ : เป็นเม็ด
           สีเหลี่ยมสีเหลือง
             ่
           เหมือนยาอมโบตัน
           มีขีดตรงกลาง
           รส : ฝาด
           สรรพคุณ : แก้
           ท้องร่วง
              ( แก๊ก : ซัดโบตันให้
              ร่วง )
แมงลัก
     ลัก ษณะ : เม็ดเล็ก
     เหมือนหยดนำ้า
     รส : หอมร้อน
     สรรพคุณ : ระบาย
     อุจจาระ
    • สสม. ใช้เมล็ดแมงลัก 1.2
      ชช. ล้างนำ้าให้สะอาด แช่
      นำ้าอุ่น 250 ซีซี จนพองตัว
      เต็มที่ รับประทานก่อนนอน
    • ข้อควรระวัง ถ้าเมล็ด
งา
      ลัก ษณะ : เม็ด
      ใหญ่กว่าเทียนดำา
      แต่สีอ่อนกว่านิด
      หน่อย มักมีเม็ดสี
      นำ้าตาลปน
      รส : มัน
      สรรพคุณ : บำารุง
      ไขมัน
               บำารุง
ลูก สะค้า น
              ลัก ษณะ  : คล้ายเม็ด
              พริกไทย แต่ใหญ่
              กว่า มีก้านยาวที่หัว
              รส : เผ็ดร้อน
             ( แน่น ในทรวงอกเพราะผัว
               รัก เตะลูก ค้า น )
              สรรพคุณ : แก้ลมแน่น
               ในทรวงอก
มีก ้า น
ยาวที่ห ัว   • อยูในพิกัดวาตะผล
                  ่
              ( ลูกสะค้าน-รากพริก
พริก ไทย
 ลัก ษณะ : เมล็ดค่อน
 ข้างกลมเปลือกขรุขระ
 นิดหน่อย สีออกนำ้าตาล
 ดำา ดมดูมีกลิ่นฉุน
 รส : ร้อนเผ็ด ( กิน พริก
    กลับ เผ็ด ร้อ น )
           ( พริก - พฤกษ์ )
    สรรพคุณ : แก้ลม
    อัมพฤกษ์แก้ท้องอืด
    เฟ้อ บำารุงธาตุ
เมล็ด ข่อ ย

               ลัก ษณะ : เม็ดกลม
               ขาวๆ คล้ายพริกไทย
               แต่บบแล้วแตก ( ถ้า
                    ี
               พริกไทยบีบไม่แตก )
บีบ เม็ด
แตกง่า ย    รส : มันร้อนน้อย
            สรรพคุณ : บำารุง
            ธาตุ
             เจริญอาหาร เป็นยา
            อายุวัฒนะ
พริก หอม

          ลัก ษณะ : คล้าย
          ไดโว่

          รส : เผ็ดร้อน

          สรรพคุณ : ขับ
          ลมในลำาไส้
ลูก ช้า พลู
 ลัก ษณะ : ลูกดำาๆ
 เป็นช่อๆ
           คล้ายองุ่น
 เล็ก
 รส : เผ็ดร้อนเล็ก
 น้อย
 สรรพคุณ : แก้
 เสมหะในลำาคอ
• อยูในพิกัดตรีเสมหะผล
     ่
ลูก พิล ัง กาสา
   ลัก ษณะ : คล้าย
   มังคุดลูกเล็กๆ
     ก้นลูกมีตุ่มแหลมๆ
   รส : ฝาดสุขุม
   สรรพคุณ : แก้ท้อง
   เสีย
              ( แก๊ก : พิลังกาเสีย )



 ที่ก ้น ลูก มีต ุ่ม
 แหลม
คัด เค้า
                     ลัก ษณะ : ลูกสีดำา
                     เล็กๆ ที่ก้นลูกเป็นวง
                     กลมๆ
ที่ก ้น ลูก เป็น
วงกลมๆ              รส : ฝาดอมเปรี้ยว
                    สรรพคุณ : ขับฟอก
                     โลหิตระดูสตรีที่เน่าร้าย
                   • เป็นพืชจำาพวก เถา-เครือ
เร่ว ใหญ่
  ลัก ษณะ : คล้ายลูก
  น้อยหน่า หรือมันสมอง
  ขนาดใหญ่กว่าเร่วน้อย
 รส : ขมเผ็ด ( ผล )
 สรรพคุณ : แก้
  ริดสีดวงทั้ง 9
• อยูในพิกดตรีคันธวาต
      ่   ั
   และพิกัดทศกุลาผล
• จุลพิกัดต่างกันทีขนาด
                   ่
เร่ว น้อ ย
 ลัก ษณะ : คล้ายลูก
  น้อยหน่า หรือมัน
  สมอง ขนาดเล็กกว่า
 รส : ขมเผ็ด ( ผล )
 สรรพคุณ : แก้หืด
  ไอ
            แก้ริดสีดวง
• อยูในพิกัดทศกุลาผล
     ่
• จุลพิกัดต่างกันทีขนาด
                   ่
เมล็ด     ลัก ษณะ : คล้ายเมล็ด
ลำา โพง    พริกแต่ใหญ่กว่า เปลือก
           ลูกมีหนามเหมือนทุเรียน
           ใบ : รสเมา พอกฝี
           ทำาให้ยุบ
           ดอกแห้ง : รสเมาเบื่อ
           แก้ริดสีดวงจมูก
           นำ้า มัน จากเมล็ด รส
           เมาเบือ บำารุงประสาท
                  ่

             เมล็ด : รสเมาเบือ รับ
                              ่
              ประทานแต่น้อยเพียง 2-3
เมล็ด สะแก

        ลัก ษณะ  : เมล็ดในมี
        ปีกยื่นออกมา 4 พู
        คล้ายถั่วพู
        รส : เมาเบื่อ
        สรรพคุณ : ขับ
        พยาธิเส้นด้าย
                 ขับพยาธิ
        ไส้เดือน
ลูก ยอ     ลัก ษณะ : เปลือกสี
           ดำา เนือในเต็มไป
                  ้
           ด้วยเม็ด
          รส : ร้อนปร่า
          สรรพคุณ : แก้
           อาเจียน
         • อยูในพิกดตรีผลสมุฎ
              ่      ั
           ฐาน
         • ลูกยอหมกไฟต้มเอานำ้า
           เป็นนำ้ากระสายยา แก้
           อาเจียน
เนื้อ ในฝัก
      คูณ
  ลัก ษณะ : หั่นมาเป็น
  แว่นหนาๆ
 รส : หวานเอียน
 สรรพคุณ : ระบาย
  ท้อง
• สสม. ใช้เนือในฝักแก่
             ้
    ก้อนเท่าหัวแม่มอื
    ( ประมาณ 4 กรัม ) ต้มกับ
    นำ้าเกลือเล็กน้อย ดื่มก่อน
    นอนหรือตอนเช้าก่อน
มะแว้ง
         เครือ
             ลัก ษณะ : ลูกก้าน
             ยาวและมีลาย
                       เถามีหนาม
             รส : ขม ( ผล )

                   ขื่นเปรี้ยวเล็ก
             น้อย ( ราก )
ลูก
ก้า น        สรรพคุณ : แก้ไอ ขับ
ยาว
                เสมหะ (ผล )
                 แก้ไอ แก้นำ้าลายเหนียว (
                ราก )
ลูก สะบ้า

         ลัก ษณะ : กลมๆ
         แบนๆ สีดำา
        รส : เมาเบือ ( เมล็ด
                      ่
         ใน )
        สรรพคุณ :

               แก้โรคผิวหนัง
         ผืนคัน
           ่
       • อยูในยามหานิล ( สุม
             ่
สีเ สีย ดเทศ   (สีเ สีย ดแขก )

                 ลัก ษณะ : เป็นท่อนสี
                 อิฐ
                  ท่อนลักษณะคล้าย
                 ข้าวหลาม
                 รส : ฝาดจัด
                 สรรพคุณ : แก้ท้อง
                 ร่วง
                         แก้บิดมูก
                 เลือด
สีเ สีย ดไทย
        ลัก ษณะ : เป็นก้อนดำา
        ด้านๆเหมือนนำ้าตาลปึก
        บางชินด้านหน้ามีเศษ
              ้
        ใบไม้ติด
        รส : ฝาดจัด
        สรรพคุณ : แก้ท้อง
        ร่วง
                 แก้บดมูกเลือด
                     ิ
       • จุลพิกัดต่างกันที่ถนเกิด
                            ิ่
         ( ไทย-แขก )
ข้า วเย็น ใต้
 ลัก ษณะ : ก้อนสี
 ขาว คล้ายฝรั่งเฉาะ
 ด้วยปลายมีด
 รส : กร่อยหวานมัน
 เล็กน้อย
( แก๊ก : เที่ยวสาวเหนือสาวใต้
   แล้วเป็นกามโรค เลยกร่อ ย
   ตอนเที่ยวก็ห วานมัน ดี
   หรอก สาวใต้ชื่อเล็ก สาว
   เหนือชื่อน้อ ย )
   สรรพคุณ : แก้
ข้า วเย็น
     เหนือ
 ลัก ษณะ : ลักษณะ
 เป็นก้อนเฉาะจากหัว
 เหง้า มีสีเหลือง
 รส : กร่อยหวานมัน
 เล็กน้อย
( แก๊ก : เที่ยวสาวเหนือสาวใต้
   แล้วเป็นกามโรค เลย
   กร่อ ย ตอนเที่ยวก็ห วาน
   มัน ดีหรอก สาวใต้ชื่อเล็ก
   สาวเหนือชื่อน้อ ย )
   สรรพคุณ : แก้
หัว แห้ว หมู ( พืช
      ประเภทหญ้า )
   ลัก ษณะ : คล้ายหัว
   เผือก
            แต่เล็กกว่า
   มาก
   รส : ซ่าติดจะร้อน
   เผ็ด
  ( ไอ้แห้วชอบทำาซ่าติดจะ
     ใจร้อนด้วย )
      สรรพคุณ : บำารุง
      ธาตุ ( หมู )
               บำารุงครรภ์
กกลัง กา
    ( กกขนาก )
  ลัก ษณะ : หัวเหง้าสี
  ดำาๆ มีขนเล็กน้อย
  บางชิ้นจะเห็นเป็นข้อๆ
  เนื้อข้างในสีนำ้าตาล
 รส : ขมเอียน
 สรรพคุณ : บำารุง
  ธาตุ ( กา )
            เจริญอาหาร
• พิกดเบญจผลธาตุ
     ั
หัว เต่า เกีย ด
 ลัก ษณะ : เอามือรูปดู
 หน้าตัดจะเป็นเสี้ยน
 เล็กๆ สีนำ้าตาลอมส้ม
 รส : เย็นหอมฉุน ( ใน
 พืชวัตถุ )
        เผ็ดร้อน ( ในยา
 9 รส )
 สรรพคุณ : แก้ตเสี้ย นเล็ก
      เนื้อ สี นำ้า ตาล มีเ ส้น
                                ับ
        ตลอดหน้า ตัด
 ปอด พิการ
      เปลือ กนอก สีน ำ้า ตาลแดงไหม
• พิกัดเบญจผลธาตุ
รากกล้ว ย
              ลัก ษณะบหน้าตัดมี
                    ตี :
              เสี้ยนแต่น้อยหว่าหัวเต่า
              เกียด บีบแล้วนุมมือ ฉีก
                             ่
              จะเห็นเส้นใย
              ราก : รสฝาดเย็น แก้
              ไข้ท้องเสีย
              ใบ : ฝาดเมา แก้
              ริดสีดวงจมูก
             •   อยู่ในพิกด ตรีอมฤต ( กอก-
                          ั
                 กล้ว ย-ดอม )
             • อยู่ในยาเหลืองปิดสมุทร 1
ฉีก จะเห็น     ส่วน
เส้น ใย
เหง้า ขิง
       แห้เป็นชิ้นแห้งๆ
 ลัก ษณะ :
            ง
 เหี่ยวๆ
 รส : หวานเผ็ดร้อน
    ( นึก ถึง เวลากิน นำ้า ขิง )
    สรรพคุณ : เจริญอากาศ
    ธาตุ ขับลม แก้จุกเสียด
• อยู่ในพิกัดตรีกฏุก, เบญจกุล,
   พิกดตรีสตกุลา ( ขิงสด )
       ั     ั
• ในมหาพิกัดทัวไป ระคนใน
                ่
  กอง วาโย
• ฤาษีที่บริโภคชื่อ มหิทธิธรรม
• ใน สสม.- แก้ล มจุก เสีย ด แก้
    คลื่น เหีย นอาเจีย น ใช้เ หง้า แก่
    สดเท่า หัว แม่ม ือ ทุบ ให้แ ตก ต้ม
รากเจตมูล
เพลิง ( ไฟใต้เ ดิน )
   ลัก ษณะ : รากไม้สี
   แดงคลำ้า
   รส : ร้อน
   สรรพคุณ : บำารุง
   ธาตุ
            บำารุงโลหิต
  • พิกดตรีสาร เบญจกูล
        ั
    ตรีปิตตะผล
  • ข้อควรระวัง ถ้ารับ
    ประทานมาก
     ทำาให้แท้งได้
รากช้า พลู
รากชี้ล ง
                             ( ผัก อีไ ร )
                         ลัก ษณะ : เขี่ยให้เจอ
                         ราก จะมีรากตรงข้อ ดู
                         ลักษณะของราก
            รากชี้ล ง     เป็นไม้ต้นเดียว ที่ราก
                         จะลง
                         รส : เผ็ดร้อนเล็กน้อย
                         สรรพคุณ : แก้คถ  ู
                         เสมหะ
                        • อยู่ในพิกัดตรีสาร, เบญจ
เถาสะค้า น
                                                  ลัก ษณะ : เถาหน้า
                                                  ตัดลักษณะเหมือน
                                                  พัดลม
                                                  รส : เผ็ดร้อน
หน้า ตัด เป็น ลายพัด ลม                           สรรพคุณ : ขับลม
                                                  ในลำาไส้
                                                 • พิกดตรีสาร ,เบญจกูล
                                                      ั
     มีปุ่มเล็กๆ
                   เปลือกกับเนื้อไม้มช่อง/ร่อง
                                     ี           • ฤาษีทบริโภคชื่อ บุพเท
                                                        ี่
                                                   วา
บอระเพ็ด              ( เจตมูล
                หนาม )
                    ลัก ษณะ : เถามีตุ่ม
                    หนาม เถาเล็กๆ
                              ( บอระเพ็ดตัว
                    เมีย )
                     บอระเพ็ดตัวผู้ ( ชิงช้า
                    ชาลี ) เถาจะใหญ่กว่า
                    ตุ่มเรียบกว่า
                    รส : ขม
                    สรรพคุณ : แก้ไข้
 ตุ่ม นูน สูง
                    เหนือ บำารุงนำ้าดี
 มือ รูป แล้ว
 สะดุด มาก
                   • ใน สสม. แก้ไข้ทกชนิด
                                    ุ
ท้า วยายม่อ ม                ( เป็น
                           ไม้ต ้น ขนาดย่อ ม )
                                        ลัก ษณะ : รากมี
                                        ลักษณะเป็นเถามีรู
มีร ูต รงกลาง                           ตรงกลาง
                                                ( แก๊ก : ย่ามีลาย
                                             ยายมีรู )
                                             รส :   จืดขื่น
  มีวงลางๆ รอบข้อมี 4 ตา                     ( ราก )
   (รอยใบทีหลุดรอบข้อ)
            ่
                                         ( แก๊ก : ยายกลัวงู ใจจะ
                           มีรูตรงกลาง
                                            ขาด )
                   เนื้อไม้สีขาว
                                            สรรพคุณ : แก้พิษงู
เถาวัล ย์
                     เปรีย ง
                 ลัก ษณะ : หน้าตัด
                 เป็นวงซ้อนกัน เอามือ
                 รูปดูจะเป็นคลื่นนูนๆ
                 รส : เบื่อเอียน
                 สรรพคุณ : แก้ปวด
                 เมื่อย
                        ทำาให้เส้นเอ็น
                 หย่อน
หน้า ตัด เป็น
คลื่น นูน       ( แก๊ก : เบื่อระอาโหน
หญ้า นาง
              ( หญ้า ภคิน ี )
                    ลัก ษณะ : หน้าตัด
 กิง ไม้
   ่
 กลม
                    มีลายเหมือนแยม
หน้า ตัด มี         โรล
 ลาย
                    ( แก๊ก : ย่ามีลาย ยาย
                    มีรู )
                       รส : เย็นขม ( ราก
                    )
                   สรรพคุณ : แก้ไข้
                    ทุกชนิด
ตองแตก
                               ( ทนดี )
                           ลัก ษณะ : ราก มีไส้สี
                           ขาวๆตรงกลาง ( คล้าย
                           สำาลีอุด )
มีไ ส้ส ีข าวอุด ตรง    ( ย่ามีลาย ยายมีรู สำาลีอุดหู
กลาง                      คือตองแตก )
                        รส : จืดเฝือนขมน้อย
                                    ่
                        สรรพคุณ : ระบา
                        ยอ่อนๆ
                         ( แก๊ก : ตองแตก ขี้แตก )
                       • อยูในยาถ่าย
                             ่
เถาเอ็น อ่อ น
เปลือ กมีป ุ่ม คล้า ยฝีแ ตก
                                          ลัก ษณะ  : เปลือกสีนำ้า
                                          ตาลร่อนๆ หน้าตัดเป็น
                                          ขุยๆ มีรูตรงกลาง
                                          รส : ขมเมา ( เถา )
               มีร ูบ ุ๋ม ตรงกลาง
                                          สรรพคุณ : แก้เส้น
                                          ตึง แก้ปวดเมื่อยตาม
                                          ร่างกาย ( เอ็น อ่อ น )
                                    มีรูบุ๋มตรงกลาง
                                         • อีกชื่อเรียกต้นตีนเป็ด
                                           เครือ      ไม่มีวงปีเด่นชัด มีจดเล็กๆ
                                                                          ุ
     มีป ุ่ม คล้า ยฝีแ ตก
                                               เปลือกปุ่มคล้ายฝีแตก
เถามวกแดง
 ( เครือ เขามวก )
 ลัก ษณะ    : หน้าตัดมีรูอา
 กาศเล็กๆ คล้ายฟองนำ้า
 ดึงดูที่เปลือกจะมีเส้นใย
 รส : เย็นเบือ ่
 สรรพคุณ : บำารุงโลหิต

            แก้โลหิตจาง
• จุลพิกัดต่างกันทีสี ( ขาว -
                        ่
  แดง )
           เนื้อ ไม้ส ีข าว
• อยู่ในยาหอมอินทจักร
           จุดสีนำ้าตาลแดง
เถาลิ้น เสือ
                       ลัก ษณะ : เปลือก
                       เป็นร่องๆสีแดง มีจุด
                       ทั่วหน้าตัด มีรูตรง
                       กลาง มีวงขาวล้อม
เปลือ กเป็น
ร่อ งสีแ ดง            รอบอีกวง
มีว งขาวล้อ ม          รส : ขื่น
รอบอีก วง
                       สรรพคุณ : แก้ตับ
      มีจุดทัวหน้าตัด
             ่
      มีรูตรงกลาง      ทรุด ตับพิอการม้าแ ดงเข้ม
       มีวงขาวล้อมรอบอีกวง     เปลื กเหี่ย วสี
                                               มโต
                       บำารุงตับ น ร่อ งเบีย ดกัน
                               เป็
                             สับ สนเล็ก น้อ ย ไม่ต รง
                             แต่ย าวต่อ เนื่อ ง
จิง จ้อ หลวง
     ( จิง จ้อ ขาว )
    ลัก ษณะ : หน้าตัด
    เถาเป็นดอกๆ คล้ายม้า
    กระทืบโรง ( แต่มา
                    ้
    กระทืบโรงมีสีแดง )
 รส : ร้อน ( ใช้เถา )
 สรรพคุณ : แก้สมหะ
 โลหิตและกำาเดา
 (แก๊ก : คุยจ้อหน้าร้อนจน
  เสมหะแห้ง) น้า ตัด เป็น
             ห
              รูป ดอกไม้
เถาคัน แดง
                     ลัก ษณะ : หน้าตัดมี
                     ลักษณะเหมือนฟองนำ้า
                     คล้ายดอกไม้เล็กๆ ชัน
                                        ้
                     เดียว ไม่กระจาย
                     เหมือนม้ากระทืบโรง
                     เปลือกสีแดงๆ
                    ใช้เ ถาทำา ยา
                    รส : ขื่นขม
                    สรรพคุณ : ขับ
หน้า ตัด เหมือ น     เสมหะ ขับเลือดเน่า
ฟองนำ้า              และขับนำ้าคาวปลา
เป็น รูป ดอกไม้      หลังการคลอด
รางจืด
         ลัก ษณะ : ราก มีไส้
         สีขาวๆตรงกลาง หน้า
         ตัดเหมือนฟองนำ้า
        ( ย่ามีลาย ยายมีรู สำาลีอุด
          หูคือตองแตก )
     รส :เย็น
     สรรพคุณ :ถอนพิษ
     เบือเมา
        ่
    )
แซ่ม ้า ทลาย (
    ปรู )
 ลัก ษณะ : หน้าตัด
 เป็นเส้นๆ คล้ายแส้
 ลายเส้นรัศมีเหมือน
 แสงพระอาทิตย์
 ชัดเจน
 รส :( เถา ) รสฝาด
 เย็น
 สรรพคุณ : แก้โรค
 ผิวหนัง นำ้าเหลือง
 เสีย
ม้า กระทืบ
                            โรง ้อสี
                      ลัก ษณะ : เนื
                       นำ้าตาลแดงมีช่องเชื่อม
                       แต่ละวง ลายคล้าย
                       กระทืบนำ้ากระจาย
หน้า ตัด ลายคล้า ย    ใช้ท ั้ง ต้น
กระทืบ นำ้า กระจาย
                      รส : ขมน้อย
                     ( ม้าตัวนี้ ไข่นอย(เล็ก)ต้อง
                                     ้
                       บำารุงกำาหนัด )
                      สรรพคุณ : บำารุงธาตุ
                       ( ม้า )
                       บำารุงกำาหนัด
กำา แพงเจ็ด
                              ชัก ษณะลุ:่มหน้าตั) เป็น
                              ลั
                                  ้น ( นก ด
                              วง สีแดง
                              รส : เบื่อเมา
                              สรรพคุณ : แก้ปวด
เส้น วงปีส ีแ ดงชัด เจนมาก
                              ตามข้อ
                             ( แก๊ก : เบื่อปีนกำาแพงตอนเมา
                                ทำาให้ปวดข้อ )
                                บำารุงโลหิต ( วงสีแดงๆ )
                             • เป็นไม้เถาขนาดใหญ่
                             • อีกชื่อหนึงเรียกว่า ตะลุ่ม
                                         ่
                               นก
                                  เส้นวงปีสีแดงชัดเจนมาก
หางไหล
                                                       แดง าตัด
                                                 ลัก ษณะ : หน้
                                                  เป็นวงๆ คล้ายกำาแพง
                                  วงมีส ีแ ดง     เจ็ดชัน แต่มีสีแดง
                                                        ้
                                 เหมือ น
                                   หมึก ซึม
                                                  เลอะๆ คล้ายหมึกซึม
                                    เลอะ         รส : เอียนเล็กน้อย
                                                 สรรพคุณ : ขับบำารุง
                                                  โลหิต ถ่ายเส้นเอ็น
เนื้อไม้สีขาว                                     ถ่ายลม ( โล่ติ๊น )
                                                • จุลพิกัดต่างกันทีสี ( ขาว-
                                                                   ่
                วงมีสีแดงเหมือนหมึกซึมเลอะ        แดง )
กะทือ
                       ลัก ษณะ : สีขาวๆ มี
                       ลักษณะ        หยาบๆ มี
                       เสียน
                          ้
                       รส : ขมขื่นน้อยๆ
                       สรรพคุณ : แก้บด  ิ
                       บำารุงนำ้านมสตรีให้
                       บริบรณ์
                            ู
                      (แก๊ก : กระเทย ถูก ข่ม ขืน
                        น้อ ยๆด้ว ยการบิด หัว นม )
                      • พิกัดตรีผลธาตุ ( กะทือ-ไพล-
                        ไคร้หอม )
                      • จุลพิกดต่างกันทีถิ่นเกิด
                              ั         ่
• อยู่ใ นยาไฟประลัย
                        ( บ้าน-ป่า )
ข่า
               ลัก ษณะ : เนื้อ
               หยาบๆ เปลือกสีแดง
               ดมมีกลิ่นเฉพาะ
               รส : เผ็ดร้อนซ่า
เปลือ กสี
ค่อ นข้า ง     ( แก๊ก : ผัวเราซ่าเจอเข่า
แดง             จนจุกเสียด )
   เนื้อ ใน
หยาบ              สรรพคุณ : แก้
                  กามโรค
                         แก้จุกเสียด
              • เป็นนำ้ากระสายยา แก้จุก
                เสียด
              • จุลพิกัดต่างกันทีขนาด
                                 ่
                ( เล็ก-ใหญ่ )
ไพล       ลัก ษณะ : ให้ดมดู
                            จะมีกลิ่นเฉพาะตัวของ
                            ไพล กลิ่นเหมือนลูก
                            ประคบ
                            รส : ฝาดขื่นเอียน
                            สรรพคุณ : ฝนทา
                            แก้เคล็ดบวมยอก ผสม
                            กับนำ้ามันเบนซินทาแก้
                            เหน็บชาชนิดบวม
                            ( แก๊ก : ป้า ไพลมีไ ฝขาว
                              อวบ อายุ 81 ปี
มีว งกลางสีเ หลือ งคลำ้า            แกเคล็ด ขัด ยอก
                              ประจำา )
       สีเ หลือ งอ่อ น     • พิกัดตรีผลธาตุ
                           • ใน สสม. แก้ฟกบวม
                             เคล็ดยอก ขับระดูประจำา
ขมิ้น ชัน
 ลัก ษณะ : เนื้อสีเหลือง
 เข้ม
 รส : ฝาดเอียน
 สรรพคุณ : แก้ทองร่วง
                   ้
  สมานแผล
• อยูในยาเหลืองปิดสมุทร 6
     ่
  ส่วน
• สสม. แก้โรคกระเพาะ โดย
    หั่นตากแห้ง บดให้ละเอียดผสม
    กับนำ้าผึ้ง ปั้นเป็นเม็ดขนาดเท่า
    ปลายนิ้ว กินครังละ 2-3 เม็ด วัน
                       ้
ขมิ้น อ้อ ย
ของแห้ง มัก เป็น ชิ้น ใหญ่
                                                      ลัก ษณะ : หัวโต
                                                      เมื่อหั่นมาจะมี
                              ลัก ษณะหัว ใหญ่
                                มีต าโดยรอบ
                                                      ลักษณะเหมือนยอด
                                                      เจดีย์ มีสีเหลืองอ่อน
                                                      รส : ฝาดเฝือน่
                                                      สรรพคุณ : ขับ
                                                      ปัสสาวะ
                                                      สมานลำาไส้ แก้ระดู
                                                      ขาว
              มีส ีเ หลือ งอมส้ม (น้อ ยกว่า ขมิ้น ชัน )
                                                     • สรรพคุณเสมอ ขมินชัน
                                                                      ้
                                                     • อยูในยาประสะไพล 8
                                                          ่
ขมิ้น เครือ
     ( แห้ม )
  ลัก ษณะ : สีเห
  ลืองๆ
  รส : ฝาดเฝือน ่
  สรรพคุณ :

      บำารุงนำ้า
  เหลือง
   ฝนหยอดตาแก้
  ตาแดง
รากหญ้า คา
 ลัก ษณะ : เป็นรากสี
 ขาว มีข้อ
  มีปล้องชัดเจน
 รส : หวานเย็นเล็กน้อย
( แก๊ก : สั่งหวานเย็นใส่ราก
   หญ้าคาเล็กน้อย กินแก้ร้อน
   ในกระหายนำ้า )
    สรรพคุณ : ขับปัสสาวะ
    แก้ร้อนในกระหายนำ้า
• ในสสม. รสจืด
ชะลูด
 ลัก ษณะ : เป็น
 รางนำ้าสีขาวๆ
 รส : หอมเย็น
 สรรพคุณ : ขับ
 ผายลม( หอม ชะลูด
       ปูด ๆ )
อบเชยเทศ
 ลัก ษณะ : เปลือก
 ไม้ม้วนๆ
 รส : หอมติดร้อน
 สรรพคุณ : แก้ลม
 วิงเวียน
• อยูในพิกัดตรีอากาศผล
       ่
  ( ขิง-พัก-เชย ), จตุผลาธิกะ
  และพิกัดทศกุลาผล
ชะเอมเทศ
      ( ชะเอมจีน )
 ลัก ษณะ : มักจะสไลด์
 มา เปลือกสีคอนข้าง
              ่
 แดง ชิมดูมีรสหวาน
 รส : หวาน
 สรรพคุณ : แก้
 นำ้าลายเหนียว ขับเลือด
 เน่าร้าย
• อยู่ในพิกดทศกุลาผล
           ั
• อยู่ในยาอัมฤควาที 43
  ส่วน
ชะเอมไทย
                    วงปีเ หลือ งเขีย ว
เปลือ กหยาบๆ
เหมือ นหนัง ช้า ง

                                          ลัก ษณะ : เนื้อสี
                                          เหลือง เปลือกหยาบๆ
                                          เหมือนหนังช้าง
                                          รส : หวาน
                                          สรรพคุณ : แก้
                                          นำ้าลายเหนียว
                                         • อยู่ในพิกัดทศกุลาผล
                                         • จุลพิกัดต่างกันทีถิ่นเกิด
                                                            ่
                                           ( เทศ–ไทย )
เพกา
     ลัก ษณะ : เมล็ดแก่
     คล้ายไข่ดาว
    รส : ขม
    สรรพคุณ : เมล็ดแก่
     ระบายท้อง
         ฝักแก่ แก้ร้อนใน
     กระหายนำ้า
   • ใน สสม. เมล็ด เพกาเป็น
       ส่วนประกอบหนึ่งในนำ้า
       จับเลี้ยง
        คนจีนดื่มแก้ร้อนใน
ส้ม เสี้ย ว

          ลัก ษณ ะ : ใบโค้ง
          มน
          เหมือนตูดเด็ก
          รส : เปรี้ยว
          สรรพคุณ : ถ่าย
          เสมหะ
          ฟอกโลหิตประจำา
          เดือน แก้ไอ
ใบกระวาน
                                   ลัก ษณะ : ให้ขยี้ดมดู
                                   มีกลิ่นหอม
                                   รส : เผ็ดเล็กน้อยกลิ่น
                                   หอม
                                   สรรพคุณ : แก้ไข้
                                   เซื่องซึม

เส้น กลางใบ 3 เส้น เหมือ นอบเชย
                                  • อยู่ในพิกด ตรีสุคนธ์
                                             ั
                                    ( วาน-เชย-เสน )
หนุม านประสาน
 กาย ( ไม้เ ถายืน ต้น )
              ลัก ษณะ : ใบออก
              เป็นกลุ่ม 5 ใบ
              รส : ฝาดเย็นเอียน
              สรรพคุณ : แก้หืด
              หอบ แก้ไอ
             • จัดเป็นพืชประเภท เถา -
               เครือ
ใบอิน ทนิล

        ลัก ษณะ : ดูที่โคน
        ใบ มีจุดดำาๆ อยู่ 2
        ข้าง
        รส : ขมเย็นเล็ก
        น้อย
        สรรพคุณ : แก้
        เบาหวาน
       ( แก๊ก : ขุน อิน ชอบ
          กิน ของหวาน
ยาสูบ
 ลัก ษณะ : ใบใหญ่
 หลังใบสีเข้มกว่าหน้า
 ใบ ดมดูมีกลิ่นเฉพาะ
 ตัว
 รส : เมา
 สรรพคุณ : แก้
 ริดสีดวงจมูก
มะกา
                     ลัก ษณะ : ใบไม้บางๆ
                     สีดำาๆคลำ้าๆ ลายใบย่อย
                     ขนานกัน
                     รส : ขมขื่น
                     สรรพคุณ : ถ่ายเสมหะ

ลายใบย่อ ยขนานกัน    และโลหิต
                    • อยูใ นยาถ่า ย
                          ่
                      ( อยู่ใ นยาถ่า ย แต่ไ ม่
                      ถ่า ยอุจ จาระ )
ใบมะดัน
      ลัก ษณะ : ใบไม้สี
      ออกนำ้าตาลอมดำา ชิม
      ดูรสเปรี้ยว
      รส : เปรี้ยว
      สรรพคุณ : แก้ระดู
      เสีย
       กัดเสมหะ ระบา
      ยอ่อนๆ
     ( แก๊ก : ชิมดู ใบดัน เปรี้ยว
        เสียวจู๊ดๆ )
คนทีส อทะเล               ( ไม้
                     เลื้อ ยตามพื้น ทราย )
                           ลัก ษณะ : ด้านหน้า
                           ใบสีดำา
          หน้า
          ใบสีด ำา
                           ด้านหลังใบสีขาว
หลัง ใบ
สีข าว                    ใช้ต ้น ทำา ยา **
                          รส : เผ็ดร้อน
                          สรรพคุณ : แก้ลม
                           แก้เสมหะ
                         ( แก๊ก : ไปทะเลคนเดียว
                            ร้อนลมแรง )
พิม เสนต้น
 ลัก ษณะ : ลำาต้นเป็น
 ร่อง ใบมักมาเป็นขยุ้ม
 ขยี้ดมมีกลิ่นหอม
 รส : เย็นหอม
 ( ใบ )
 สรรพคุณ : แก้ลม
 บำารุงหัวใจ
• ใบอยู่ในยาเขียวหอม
• รากพิมเสนต้น อยู่ใน
ใบสัน พร้า
  หอม
   ลัก ษณะ : ลำาต้น
  แห้งจะแบนเป็นเส้น
  ยาว แต่ใบแหลม
  คล้ายผักชีล้อม
 ใช้ใ บทำา ยา
 รส : จืด
 สรรพคุณ : แก้ไข้
ลำา ต้น แห้ง จะแบน
  หวัด
เป็น เส้น ยาว
•ใบรูป หอก ก้ายวหอม 1
  อยูในยาเขี น
      ่
 แดง น
  ส่ว
ใบมะขาม
  แขก
 ลัก ษณะ : ใบเล็กๆ
 แหลมหัว แหลมท้าย
 รส : เปรี้ยว
 สรรพคุณ : ระบาย
 ท้อง
ฝัก มะขาม
       แขก เล็กๆ
 ลัก ษณะ : ฝัก

         คล้ายฝักถั่ว
 ลันเตา
 รส : เปรี้ยว
 สรรพคุณ : แก้ท้องผูก
 ระบายท้อง
      • สตรีมีครรภ์ห้ามใช้
ฝัก ส้ม ป่อ ย        ( ไม้
      เถายืน ต้น )
   ลัก ษณะ : ฝักแบนๆ
   ดำาๆ เป็นข้อๆ
   รส : เปรี้ยว
   สรรพคุณ : ฟอกล้าง
   โลหิตระดู
  • อยูในยาไฟห้ากอง
         ่
  • จัดเป็นพืชวัตถุประเภท
    เถา-เครือ
  • อยูในยาถ่าย 1 ส่วน
       ่
กรรณิก า                   ลัก ษณะ : ก้าน
                           สี่เหลี่ยม เอามือ
                                      รูปดูจะสาก
                           มือ
                           รส : ขม ( ใบ / ราก )

                                  ขมเย็น ( ต้น )
                                  ขมหวาน ( ดอก )
                           สรรพคุณ : บำารุง
                           นำ้าดี ( ใบ )
ก้า นมีต ุ่ม เอามือ รูป
ดูจ ะสากๆ                   บำารุงเส้นผมให้ดกดำา
ข้อ ป่อ งๆ
                                         ทองพัน ชั่ง
                                        ลัก ษณะ : ก้านสีขาว
                                        ข้อป่องๆ
                                           หักดูมีไส้แน่นสี
                                        ขาว ข้างใน
                                        ราก : รสเบื่อเมา
                  ข้อ ป่อ งๆ                  แก้กลากเกลื้อน
ไส้แ น่น สีข าว                         ใบ : รสเบือเย็น
                                                   ่
                                              แก้พยาธิ
                                        ผิวหนัง
                                       • รากทองพันชั่งอยู่ใน
                                         พิกดเนาวโลหะ
                                            ั
หญ้า ขัด มอน    ( ต้น ไม้
      กวาด )

                ลัก ษณะ : ก้าน
                ขาวๆคล้ายไม้กวาด
                เปลือกร่อนๆตรง
                ราก ใบออกแหลมๆ
                เล็กๆ
                รากเป็นเมือก รส
                เผ็ด
                สรรพคุณ : แก้
                ปวดลูก แก้เยื่อหุ้ม
ผัก คราดหัว    ลัก ษณะ : ดอกคล้าย
   แหวน        หัวแหวน หาดอกให้
               เจอ
               ใช้ท ั้ง ต้น
               รส : เอียนเบื่อเล็กน้อย
               สรรพคุณ : แก้
               ริดสีดวง แก้ต่อม
               ทอนซิลอักเสบ
              • สสม. ดอกบรรเทาอาการ
                ปวดฟัน โดยใช้ดอกสดตำา
                กับเกลือ อมหรือกัดไว้
ผัก เสี้ย นผี
                 ลัก ษณะ : ฝักแหลมๆ
                 มีขน
ฝัก แห้ง ผัก         ( พยายามเขี่ยหาฝัก
เสี้ย นผี        ให้เจอ )
                ต้นสด ดอกสีเหลืองใบ
                 เป็นขน
                ใช้ท ั้ง 5
                สรรพคุณ : แก้ฝีใน
                 ตับ ปอด
               ( เป็น ฝีใ นตับ ปอด ตายเป็น ผี
เหงือ กปลา
   หมอ
 ลัก ษณะ : ใบเป็น
 หนาม
 ราก : รสเฝื่อนเค็ม

     แก้โรคผิวหนังทุก
 ชนิด
 ใช้ท ั้ง 5 : รสร้อน

  แก้พิษฝี แก้พิษกาฬ
 ได้ดีมาก
กระเพรา
  ลัก ษณะ : กิ่งมีขน
  ดอกมีลักษณะเฉพาะ
  ( หาดอกให้เจอ )
 ใช้ท ั้ง 5 : รสเผ็ดร้อน
 สรรพคุณ : แก้ปวด
  ท้อง แก้ท้องอืดเฟ้อ
• จุลพิกัดต่างกันที่สี ( แดง-
  ขาว )
• รากอยูในพิกัดตรีกาฬพิษ
        ่
• สรรพคุณเสมอกับ แมงลัก
• ใช้สะตุมหาหิงคุ์ ( นำ้ากระ
  เพราแดงต้ม )
มะแว้ง เครือ
 ลัก ษณะ : เถามีหนาม
 ลูกผลลาย และมีก้าน
 ยาว
 ผล : รสขม แก้ไอ ขับ
 เสมหะ
 ราก : รสขื่นเปรี้ยวเล็ก
 น้อย แก้ไอ ขับเสมหะ
 แก้นำ้าลายเหนียว
โด่ไ ม่ร ล ้ม
          ู้
( หญ้า ปราบ )
  มีร ากเป้
                ลัก ษณะ : เป็น
  นกระจุก       หญ้า มีรากเป็นกระ
                จุก มีขี้ดินติด
               ใช้ท ั้ง ต้น
               รส : จืดขื่น
               สรรพคุณ : บำารุง
                กำาหนัด
              ( แก๊ก : ต้องบำารุงกำาหนัด
                 เพราะกลัวไม่โด่ ใจจะ
                 ขาด จืดขื่น )
หนอนตาย
  อยาก
  ลัก ษณะ : มักมา
  เป็นกระจุก เป็น
  พวงๆ
 ใช้รากทำายา
 รส : เบื่อเมา
 สรรพคุณ : ฆ่า
  เหา หิด กลาก
ผัก แพวแดง
 ลัก ษณะ : มีสีม่วง
 แดง เป็นแผ่นๆบางๆ
 รส : ร้อน ( ราก )
 สรรพคุณ : เส้น
 ประสาทพิการ
• อยู่ในพิกดตรีปิตตะผล
           ั
     ( เพลิง -เพรา-แพว )
• อยูในยาธรณีสัณฑะฆาต
     ่
  2 ส่วน
ว่า น
      หอมแดงกสี
     ลัก ษณะ : เปลือ
     แดงๆ
     หัว : รสเค็ม ขับลม
     ในกระเพาะอาหาร
     และลำาไส้
     ใบ : รสเค็ม ตำาสุม
     กระหม่อ่ใ นยาประสะ
          • อยู มเด็กแก้
          ไพล , ยาถ่า ย
     หวัดแก้หวัด
      ต้น สด ใบยาวสีเ ขีย ว
      เส้น ใบตรงตามความยาวขอ
กระเปราะสีแ ดง
ว่า นสาก
                      เหล็:กลักษณะ
                  ลัก ษณะ มี
                  คล้ายสาก เป็นท่อนสี
                  ดำาๆ ผิวเป็นร่อง เนือ
                                      ้
                  หน้าตัดเป็นวงๆ
                  รส : ขมเมา
เนื้อ หน้า ตัด    สรรพคุณ : แก้
เป็น วงๆ          มดลูกอักเสบ
                    ปลายข้างหนึ่งใหญ่ อีกข้าง
                 ( แก๊ก เล็ก ่ม ้า เหล็ก เจอสาก
                    หนึ่ง : ขี
                   จนมดลูก อักำา แข็ง หัก
                     ผิว เปลือ กสีด เสบ )
                    ยาก ขมเมา
                    มีลายตามยาว ไม่มีขอ  ้
                    หน้าตัดรอยหักมีสีดำาหรือโอ
                    วัลติน
ว่า นกลีบ แรด
                                      ลัก ษณะ : รูปร่าง
                                      หน้าตัดเหมือนเนือ้
                                      เผือกทอด
                                      รส : เย็นจืด
                                     ( แก๊ก : แรดตอนเย็นจัด
                                        จนอาเจียน )
                                             สรรพคุณ : นำ้าลาย
                                             เหนียว
             เนื้อสีแดงเรื่อๆ มีขดกระจายเต็มหน้าตัด อาเจียน
                                 ี             แก้
                     คล้ายเผือกทอด   • อยูในยาเขียวหอม
                                          ่
เปลือกมีสีเขียวดำา
                                     ( 2 เพื่อนแท้ = ว่านกลีบแรด,
ว่า นชัก
                                                           มดลูก
                                                     ลัก ษณะ : เห็นขอบ
                                                     นูน ชัดเจน
                                                     เนือในสีนำ้าตาลอ่อน
                                                        ้
                                ขอบมีต า
                                โดยรอบ
                                                     มีจุดคลำ้ากระจายทั่ว
                                                     รส : ฝาดเบือ่
                                                     สรรพคุณ : แก้
                                                     มดลูกพิการ
                                                         ( เบื่อชักมดลูกจนมดลูก
                                                         พิการ )
ื้อ ในสีน ำ้า ตาลอ่อ น มีจ ุด สีแ ดงคลำ้า กระจายไปทั่ว
                                                          ขอบมีตาโดยรอบ
ว่า นนางคำา
 ลัก ษณะ : สี
 เหลืองเข้ม
  เหมือนทองคำา
 รส : ร้อนฝาด
 เฝือน
    ่
       ( รักฝากฝัง )
    สรรพคุณ : แก้
    ปวดท้อง
            แก้
ว่า น
                 มหาเมฆ
หน้า ตัด เป็น
วงสีม ่ว ง
เหมือ นเมฆ
บนฟ้า            ลัก ษณะ : มีขอบที่
                 หน้าตัด หน้าตัดเป็น
                 วงๆ สีม่วงๆ เหมือน
                 ท้องฟ้า
                 รส : ฝาดเฝื่อน
                 สรรพคุณ : แก้ปวด
                 มดลูก
ว่า นร่อ นทอง
                          ลัก ษณะ : เป็นราก
                          แข็งๆ
เป็นท่อนแข็ง มีลายตาม
แนวนอน                    มีไส้สีเหลือง เอามือสะกิด
มีลายตัดขวางบ้างและไม่
เป็นระเบียบ               หน้าตัดดู จะมีสีเหลือง
                          เหมือนทอง
                          รส : ปร่า ( หัว )
                             ( แก๊ก : ร่อนทองในป่าถูก
                             ตำารวจจับกุม )
                             สรรพคุณ : ช่วยย่อย
ว่า นนำ้า
               ลัก ษณะ : เป็น
               ปล้องๆคล้ายตะไคร้
               แต่มีขนๆ ตรงข้อ
               รส : ร้อนกลิ่นหอม
               แรง
               สรรพคุณ : แก้
               ปวดท้อง แน่นจุก
               เสียด
               ( แก๊ก : อากาศร้อน ดื่ม
                  นำ้ามาก แล้วปวดท้อง
รากคล้า ยกระโปรงซ้อ นกัน
                  จุกเสียด )
มีร ากฝอยแทงออกโดยรอบ
               • อยูในพิกัดจตุกาลธาตุ
                      ่
เหง้า ตะไคร้
                      ลัก ษณะ : สีนำ้าตาล
                      เทาแห้ง เป็นปล้องๆ
                      มีรากรอบข้อ
                      รส : ปร่าร้อนขม
เป็น ท่อ น มีป ุ่ม
รากรอบข้อ
                      สรรพคุณ : ขับลม
                      ในลำาไส้ ขับปัสสาวะ
                     • พิกัดตรีผลธาตุ


                                เป็นท่อน มีปุ่มราก
                                รอบข้อ มีราก
รากไทร
                         ย้อ ย
                           ลัก ษณะ : มีจุด
                           ขาวๆที่เปลือกราก
มีจ ุด ขาวๆที่เ ปลือ กราก
                           รส : จืด
                           สรรพคุณ :
                           บำารุงนำ้านม
                                      ขับ
                           ปัสสาวะ
                   • อยู่ในพิกัดตรีธาร
                     ทิพย์
เปลือ กส้ม โอ    ลัก ษณะ : เปลือก
                 หนา ผิวเปลือก
                 ขรุขระนิดหน่อย สี
                 ออกนำ้าตาล ดมดูมี
                 กลิ่นหอม
                 รส : ร้อนหอม
                 สรรพคุณ : แก้ลม
                 วิงเวียน หน้ามืด
                 ตาลาย
                       ร้อนหอม
                ( นึกถึงเราหา ยาดมส้มโอ
                   มือมาดมแก้ลมวิงเวียน )
สี
เขีย วๆ
                              เปลือ ก
                               เพกา
ปน


                          ลัก ษณะ : เปลือกไม้มี
                          สีเขียวๆปน
                          รส : ฝาดเย็นขมเล็ก
                          น้อย
                          สรรพคุณ : ดับพิษ
                          โลหิต สมานแผล ตำากับ
          สีเ ขีย วๆปน    สุรา ทา พ่นตามตัวสตรี
                          ที่ทนการอยู่ไฟไม่ได้
                         • รากเพกา อยูในพิกัดตรีสุ
                                      ่
                           คติสมุฎฐาน
                                      ( เดื่อ-กา-แค )
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖Utai Sukviwatsirikul
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนduangkaew
 
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )Utai Sukviwatsirikul
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนguest0299389a
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนVorawut Wongumpornpinit
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวThanyalak Chanmai
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมguestefb2bbf
 

La actualidad más candente (20)

Con6
Con6Con6
Con6
 
Con13
Con13Con13
Con13
 
Con16
Con16Con16
Con16
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
 
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
 
Con21
Con21Con21
Con21
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
 
Con2
Con2Con2
Con2
 
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
 
Con11
Con11Con11
Con11
 
Con1
Con1Con1
Con1
 
Con14
Con14Con14
Con14
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
 
Con12
Con12Con12
Con12
 
Con15
Con15Con15
Con15
 

Similar a ติวสมุนไพรแห้ง (16)

ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพร
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
อาหาร
อาหารอาหาร
อาหาร
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
ยา
ยายา
ยา
 

ติวสมุนไพรแห้ง

  • 1. ติว สอบภาคปฏิบ ัต ิ ณ.สวนสิร ีร ุก ชาติ มหาวิท ยาลัย มหิด ล ศาลายา
  • 2. โกฐก้า น พร้:า วข้อๆ  ลัก ษณะ เป็น คล้ายหางหนู  รส : เย็น  สรรพคุณ : แก้หอบ สะอึก • อยูในพิกดโกฐทัง 7 และ 9 ่ ั ้ • สรรพคุณเสมอ ชิงช้าชาลี สรรพคุณ • ( แก๊ก : หอบทางมะพร้าวไป ทิงตอนเย็นแล้วผูกชิงช้า ้ นอน) รส เสมอ
  • 3. โกฐจุฬ าลัม พา  ลัก ษณ ะ : ใบป่นๆ สี นำ้าตาลปนเทา ต้นสี นำ้าตาล มักมาทั้งต้น  ใช้ท ั้ง ต้น  รส : ขมกลิ่นหอม ( สาวจุฬาฯ ผิวขาวกลิ่น กายหอม )  สรรพคุณ : แก้ไข้ เจรียง • สรรพคุณเสมอ หญ้า
  • 4. ลัก ษณ ะ : เป็น โกฐหัว บัว  ก้อนๆ เหมือนก้อนขี้ หมู  รส : มันสุขุมหอม ( กินเม็ดบัว มัน...หอม )  สรรพคุณ : แก้ลมในกอง ริดสีดวง • อยูในพิกัดโกฐทัง 5, 7 ่ ้ และ 9 • สรรพคุณเสมอ หัว
  • 5. โกฐสอ  ลัก ษณะ : รูปร่างคล้าย สากกระเบือ  รส : สุขุมกลิ่นหอม  สรรพคุณ : แก้หืด แก้ ไอ บำารุงหัวใจให้ ชุมชื่น ่ สุข ุม โกฐสอ 3 ส/ศ สากกระ เบือ ศอ = คอ แก้ หือ แก้ไ อ
  • 6. โกฐเชีย ง  ลัก ษณะ : เป็นเส้น นิ่มๆ และมีความ เหนียว  รส : หวานสุขุม ( กุน เชีย ง ทอด หวาน กิน มากแล้ว ไอ )  สรรพคุณ : แก้ สะอึก แก้ไอ แก้ลมเสียดแทง 2 ราวข้าง
  • 7. โกฐเขมา  ลัก ษณะ : ก้อน เล็กๆ คล้าย ก้อนขี้หมา สีออก เหลืองๆ  รส : สุขุมหอม  สรรพคุณ : แก้ โรคในปาก ( เขมา = เม๊าท์ / mouth )
  • 8. โกฐกระดูก  ลัก ษณะ : ผิวแข็ง มีรู พรุนคล้ายกระดูก ผิว นอกเป็นร่องให้ดมดู กลิ่นฉุนมาก  รส : ร้อนกลิ่นหอม  สรรพคุณ : แก้ลมวิง เวียน หน้ามืด ตาลาย ( แก๊ก : เผากระดูก จะเป็น ลม หน้า มืด ต้อ งใช้ไ ฟร้อ น เผาแล้ว มีก ลิ่น หอม )
  • 9. โกฐชฎามัง สี  ลัก ษณะ : เม็ดเล็กๆ งอๆ เหมือนตัวหนอน ผิวเป็นกำามะหยี่  รส : สุขุมหอม  สรรพคุณ : ขับเลือด เน่าร้าย ( ดูล ะครนางร้า ย ใส่ช ฎา ขับ รสคัน เดีย วกับ เขมา ) ( ชฎา – นึก ถึง ผู้ห ญิง – ขับ เลือ ดเน่า ร้า ย ) • อยู่ในพิกดเนาวโกฐ ั
  • 10. โกฐพุง ปลา  ลัก ษณะ : เป็นกระ เปาะเหมือนพุงปลา  รส : ฝาด ( ลูก ) ( แก๊ก : ฝาก ลูกไว้ใน พุงปลา )  สรรพคุณ : แก้ ท้องร่วง แก้ อาเจียน • จัดเป็นพืชประเภท เถา-เครือ
  • 11. เป็น ท่อ นแข็ง มีเ ส้น เป็น ร่อ ง ตามแนวยาว เป็น ระเบีย บ โกฐกัก กรา  ลัก ษณะ : ผิวเป็น ร่องๆตามยาว มีเส้น กั้น ( กัก )เป็นระยะ  รส : ฝาดน้อยเผ็ด มีเ ส้น กัก ร้อนซ่า เป็น ระยะ  สรรพคุณ : แก้ ริดสีดวงทวาร แก้ คลื่นเหียนอาเจียน ( กักกรา = กรักขฬะ-จนน่า อาเจียอนแข็ง หักยาก เป็นท่ น )
  • 12. โกฐนำ้า เต้า แบบหั่น มาเป็น ชิ้น ๆแล้ว  ลัก ษณะ : เปลือกสี เข้มขรุขระหน้าตัดวง เนือข้างในเป็นสีเหลือง ้ เนือแน่นๆ ไม่พรุน ้  รส : ฝาดหอม  ใช้ร าก ( ปอกเปลือก ออกนำาไปนึงแล้วตากแห้ง ่ )  สรรพคุณ : แก้ ริดสีดวงทวาร
  • 13. โกฐกะกลิ้ง ( แสลงใจ, ลูก กระจี้,)  ลัก ษณะ : เหมือน กระดุม  รส : ขมเมา ( ขี้เมา เมาจนกลิ้ง )  สรรพคุณ : แก้ลม อัมพาต บำารุงประสาท บำารุง หัวใจ ( แสลงใจ แต่บำารุง หัวใจ ) • อยูในพิกัดโกศพิเศษ ่
  • 14. เทีย นเยาวพานี ( ผัก ชีก ะเหรี่ย ง )  ลัก ษณะ : เม็ดเล็กๆ คล้าย ลูกผักชีล้อม แต่เล็กกว่า ไม่มีแตกครึ่งซีก  รส : หวานกลิ่นหอม  สรรพคุณ : แก้ คลื่นเหียน อาเจียน ( แก๊ก : น้องนีเป็นน้องเล็ก เป็นคนกะเหรี่ยง หน้าหวาน แต่พอหอม แล้วจะอวก )
  • 15. เทีย นตา ตั๊ก แตน ( ผัก ชีล าว  ) ลัก ษณะ : รีๆเหมือน ดวงตา มีหาง เล็กกว่าเทียน ตากบ  รส : ขมเผ็ดร้อนเล็ก น้อย ผัก ชีล าว ( แก๊ก : คนลาวชอบกินตั๊กแตน ทอด ทอดนานไปหน่อยเลย ขม ก่อนกินโรยพริกไทย เผ็ด จะ กินให้อร่อยต้องกินตอนยัง ร้อ น
  • 16. เทีย นตากบ  ลัก ษณะ : คล้าย เทียนตาตั๊กแตน แต่มี ขนาดใหญ่กว่า มี ลักษณะเหมือนรูป ดวงตา  รส : เผ็ดร้อนขม หอม  สรรพคุณ : แก้ กระเพาะอาหารพิการ
  • 17. เทีย นข้า ว เปลือ ก  ลัก ษณะ : รูปร่างคล้าย ข้าวเปลือก อ้วนกว่าเทียน ขาว เปลือกมีเส้นลาย มี หางสั้นกว่าเทียนแกลบ  รส : หวานเผ็ดหอม ( แก๊ก: กินข้าวหอมมะลิตอน เย็น )  สรรพคุณ : ขับผายลม แกท้องอืดท้องเฟ้อ ( แก๊ก : กินข้าวบำารุงกำาลัง
  • 18. เทีย นขาว ( ยีห ร่า ) ่  ลัก ษณะ : คล้าย เทียนข้าวเปลือก แต่ ขนาดเล็กและผอมกว่า  รส : เผ็ดร้อนขม ( เราขาว ผัวเราก็ขาว )  สรรพคุณ : บำารุง กำาลัง ( เหมือนเทียนข้าว เปลือก ) ขับผายลม แก้เส้น ศูนย์กลางท้องพิการ ( เทีย นขาว – ให้น ึก ถึง เส้น ขาวกลางถนนเวลาขับ รถ )
  • 19. เทีย นแดง  ลัก ษณะ : เม็ดเล็กๆ สีแดง  รส : เผ็ดร้อนขมเล็ก น้อย ( เราแดง ผัว เราขาวเล็ก น้อ ย แต่เ ป็น คน (นำ้า )ดี )  สรรพคุณ : ขับ เสมหะ แก้ลม แก้นำ้าดี
  • 20. เทีย นดำา  ลัก ษณะ : เม็ดเล็กๆ สีดำาด้านๆ  รส : เผ็ดขม (แก๊ก : เราดำา ผัวขาวซีด ต้องบำารุงโลหิต )  สรรพคุณ : บำารุง โลหิต ( เทีย นดำา , หยัก ใย่ไ ฟ ของ แก้อาเจียน ดำา บำา รุง โลหิต ) • อยูในพิกัดเทียนทัง5, 7 ่ ้ และ 9
  • 21. เทีย นเกล็ด หอย  ลัก ษณะ : เม็ดบางๆ ขาวๆ มีรอยบุ๋มตรงกลาง เม็ด  รส : เผ็ดร้อนขม หอม  สรรพคุณ : แก้ลม วิงเวียน แก้หน้ามืด ตามัว
  • 22. เทีย นแกลบ  ลัก ษณ ะ : เม็ดใหญ่ กว่าเทียวขาว เปลือก บางกว่าไม่มีลายเส้น มีหางยาว  รส : เผ็ดร้อนเล็ก น้อย ( แก๊ก :ผัว เราตัว เล็ก นะจะ กิน แกลบอยู่แ ล้ว ยัง ชอบ ขึ้น เบื้อ งสูง )  สรรพคุณ : แก้
  • 23. เทีย นลวด  ลัก ษณะ : คล้ายลวด ตากผ้า ตัดมาเป็น ท่อนๆ สีดำา  รส : ร้อนขมหอม ( ใช้ราก )  สรรพคุณ : แก้ กำาเดา แก้เพ้อคลั่ง • อยูในพิกัด ่ นอนสะดุ้งสะทก เทียนพิเศษ สะท้าน
  • 24. กระดัง งา ไทย  ลัก ษณะ : ดอกไม้ แห้ง กลีบเป็น เกลียว ริ้วๆ  รส : สุขุมกลิ่นหอม  สรรพคุณ : 3 บำา / บำารุงหัวใจ บำารุงโลหิต บำารุงธาตุ
  • 25. พิก ุล  ลัก ษณะ : ดอกไม้ เล็กๆ ปลายเหมือน แปรง  รส : ฝาดกลิ่นหอม  สรรพคุณ : บำารุง โลหิต • อยูในพิกัดเกสรทั้ง5, 7 ่ และ 9 • อยูในยาหอม ่
  • 26. สารภี  ลัก ษณะ : ดอกไม้ เล็กๆ คล้าย ค๊อปเตอร์ โดเรมอน  รส : หอมเย็น  สรรพคุณ : บำารุง หัวใจ • อยูในพิกดเกสรทัง5, ่ ั ้
  • 27. มะลิ ( เป็น ไม้เ ถา ยืน ต้น )  ลัก ษณะ : ยังคงรูป ของดอก มะลิอยู่ ชัดเจน  รส : หอมเย็น  สรรพคุณ : แก้ร้อน ในกระหายนำ้า ทำาให้ จิตใจแช่มชื่น ( แก๊ก : ดื่มนำ้าเย็นลอยดอก มะลิแก้ร้อนในกระหาย นำ้า ทำาให้ชื่นใจ ) • จัดอยู่ในประเภท เถา –
  • 28. บุน นาค  ลัก ษณะ : ดอกไม้ แห้งที่ใหญ่ที่สด กลีบ ุ ดอกหนาแข็ง มีเจดีย์ แหลมตรงกลาง  รส : หอมเย็น  สรรพคุณ : บำารุง โลหิต ( ตระกุล บุน นาค ชอบกิน ยาบำา รุง โลหิต ) มีเ จดีย แ หลม ์ พิก ุล ตรงกลาง • อยูในพิกัดเกสรทัง 5, 7 ่ ้
  • 29. ดอก ลำา เจีย ก  ลัก ษณะ : เกสรเล็กๆ จำานวนมาก สีเหลือง เป็นฝอยๆ ฟูๆ เหมือน ปลาดุกฟู  ดอก : รสหอมเย็น บำารุงหัวใจ  รากอากาศ : รสจืด หวานเล็กน้อย ขับปัสสาวะ
  • 30. ลำา ดวน  ลัก ษณะ : ก้านดอก ยาว มีกลีบดอก 3 กลีบ เหมือนขนมกลีบ ลำาดวน  รส : หอมเย็น  สรรพคุณ : บำารุง หัวใจ • อยูในพิกัดเกสรทั้ง 9 ่
  • 31. คำา ไทย ( คำา แสด, คำา เงาะ )  ลัก ษณะ : เป็นดอกไม้ที่ ไม่บาน ก้านดอกเป็นช่อ  รส : หวาน ( นึกถึงนำ้าคำา- หวาน )  สรรพคุณ : บำารุงโลหิต แก้โลหิตจาง • เรียกอีกชื่อหนึงว่า ดอกชาติ ่ • อยู่ในยาบำารุงโลหิต 10 ส่วน ดอกไม่ ผลมีข น • ทำาสีผสมอาหารได้ สีแสด บาน คล้า ยเงาะ
  • 32. เกสรบัว  ลัก ษณะ : เกสรเส้น หลวง เล็กๆ ยาวๆ สีเหลือง ยิ่ง ใหม่สียิ่งเหลือง  รส : ฝาดหอม ( เกสร )  สรรพคุณ : บำารุง ครรภ์รักษา แก้ไข้ รากสาดหรือไข้ท้อง เสีย • อยู่ในพิกัดตรีเกสรเพศ, เกสรมาศ  เหง้า : รสหวานมันเล็ก • อยูในยา ่ น้อย แก้ร้อนในกระหาย
  • 33. เกสรดอก คำา ฝอย ( ดอกคำา )  ลัก ษณะ : เกสรสี แดงๆ ส้มๆ  รส : หวาน ( เกสร )  สรรพคุณ : บำารุง โลหิต • ดอก รสหอมร้อน บำารุง หัวใจ • ใช้ทำาสีผสมอาหารได้สี
  • 34. กานพลู  ลัก ษณะ : เหมือน ไมโครโฟน  รส : ร้อน ( ดอก )  สรรพคุณ : แก้ปวด ท้อง จุกเสียด แก้ปวด ฟัน แก้รำามะนาด • พิกดตรีพษจักร, พิกัดตรี ั ิ คันธวาต • สรรพคุณเสมอ ลูกจันทน์ • สสม. ช่วยป้องกันไม่ให้
  • 35. ดอกงิ้ว  ลัก ษณะ : ดอกไม้แห้ง เหมือนที่ใส่ใน ขนมจีนนำ้าเงี้ยว  สรรพคุณ : ตำาผสมนำ้าทา ระงับปวด
  • 36. กระเจี๊ย บ  ลัก ษณะ : เหมือนใน ภาพ  ใบ : รสเปรี้ยว กัดเสลด  เมล็ด ใน : รสจืด บำารุง ธาตุ  ผล : รสจืดเมาเล็กน้อย ขับเหงื่อ  ใช้ท ั้ง 5 : แก้พยาธิตัวจี๊ด • ในสสม. ใช้กลีบเลี้ยงและ กลีบรองดอก ใช้รักษาอาการ ขัดเบา โดยนำาไปตากแห้ง และ
  • 37. สมอทะเล แฉกคล้า ย  ลัก ษณะ : หัวเป็น ตรารถเบนซ์ แฉกเหมือนตรารถ เบนซ์  รส : ร้อน ( แก๊ก : ขับรถเบนซ์ไปทะเล มันร้อน ลมก็แรง กินอาหารทะเลแล้ว ท้องเสีย อีก )  สรรพคุณ : ถ่าย อุจจาระ ถ่ายลม
  • 38. สมอพิเ ภก  ลัก ษณะ : ส่วนหัวมี จุก ผิวเป็นกำามะหยี่  รส : เปรี้ยวฝาดหวาน ( ผลแก่ ) ( แก๊ก : พิเภกยักษ์แก่ ตา ไม่ดีเลยใช้ให้ ไปเฝ้าวัด )  สรรพคุณ : แก้โรค หัว มี ตา จุก แก้เสมหะจุกคอ แก้ริดสีดวง • พิกดตรีผลา ,ตรีสมอ ั
  • 39. สมอไทย  ลัก ษณะ : ลูกสีดำา เหี่ยวๆ ( สมอไทย ไข่ เหี่ยว ) ผิว ลูก จะ  รส : ฝาดติดเปรี้ยว เหี่ย วมาก ( พี่ไทย ไฝติดปาก )  สรรพคุณ : ระบา ยอ่อนๆ คุมธาตุ • อยูในพิกัดตรีผลา , ่
  • 40. สมอเทศ  ลัก ษณะ : ลูกสี นำ้าตาล ผิวลูกตึงกว่า สมอไทย ( แก๊ก : สมอไทยไข่เ หี่ย ว สมอเทศไข่ต ึง )  รส : เปรี้ยวและฝาด จัด ( ปากเลียไฝจัด )  สรรพคุณ : ระบา ยอ่อนๆ
  • 41. สมอดีง ู  ลัก ษณะ : ลูกยาวรี หัวแหลมท้ายแหลม สีดำา ผิวเป็นร่อง  รส : ขมฝาด ( งูขดข้างฝาหมดแรง เพราะถ่ายมาก )  สรรพคุณ : ถ่าย ระบายอุจจาระแรง กว่าสมอชนิดอื่น
  • 42. ลูก กระดอม  ลัก ษณะ : ลูกสีนำ้า ตาลรีๆ ยาวๆ ผิวเปลือก เหี่ยวๆ  รส : ขม  สรรพคุณ : บำารุง นำ้าดี • อยูในยาจันทลีลา ่ ( 3 ทหารขม = บอระเพ็ด
  • 43. ลูก จัน ทน์เ ทศ กะเทาะ เปลือ กแล้ว  ลัก ษณะ : ถ้ายังไม่ กะเทาะเปลือก ลูกกลมรีสดำา ถ้ากะเทาะ ี เปลือกแล้ว เนื้อในลูกจะมีลาย ยัง ไม่ก ะเทาะเปลือ กออก  รส : หอมฝาดหวาน สุขุม  สรรพคุณ : บำารุง โลหิต
  • 44. รกจัน ทน์ ( ดอกจัน ทน์ )  ลัก ษณะ : รกหุ้มเมล็ด สีแดง  รส : เผ็ดร้อน ( ในยา 9 รส ) หอมฝาดร้อน ( พืชวัตถุ )  สรรพคุณ : บำารุง โลหิต ( สีแดง ) บำารุงเนื้อหนังให้
  • 45. มะขามป้อ ม  ลัก ษณะ : ลูกกลมๆ เหี่ยวๆ ผิวมีลายจุด ลูก ที่แตกจะมีเขี้ยว งอๆ มีเ ขี้ย วงอๆ  รส : เปรี้ยวฝาดขม ( ผลแก่ ) (ป้อม ไปเฝ้าขวด ) ฝาดขม ( ผล อ่อน )  สรรพคุณ : แก้เสมหะ ( ผลแก่ ) บำารุงเนื้อหนังให้สมบูรณ์
  • 46. ลูก เบญกานี  ลัก ษณะ : ลูกสี มี หนา นำ้าตาลอ่อน ม มีหนามเหมือนลูก ระเบิด  รส : ฝาด  สรรพคุณ : แก้ท้อง ร่วง สมานแผล • อยูในยามันทธาตุ 3 ่
  • 47. ลูก สำา รอง  ลัก ษณะ : ลูกสี นำ้าตาลเข้ม ผิวเหี่ยวๆ  ใช้เ นือ ในลูก ้  รส : เปรี้ยว  สรรพคุณ : แก้ กระหายนำ้า
  • 48. เมล็ด สลอด  ลัก ษณะ : เหมือน ในภาพ  รส : เมาเบื่อ  สรรพคุณ : ถ่าย อย่างแรง • สรรพคุณเสมอ พาดไฉน • ก่อนใช้ต้องนำาไป ฆ่า ฤทธิ์ ก่อน โดยนำาไป ห่อรวมกับข้าวเปลือก
  • 49. ลูก  ลักระวาน ว ก ษณะ : คล้ายหั กระเทียม แต่เล็กกว่า สี ครีม  รส : เผ็ดร้อนเล็กน้อย ( ลูก )  สรรพคุณ : ขับเสมหะ โลหิต และลม ( แก๊ก : ผัวเราวานลูกให้ ขับ 3 อย่าง ) เผ็ด ร้อ น ลูก
  • 50. ลูก เล็บ มือ นาง ( ไม้เ ถายืน ต้น )  ลัก ษณะ : เหมือนลูก มะเฟือง แต่ขนาดเล็ก กว่า  รส : เบื่อเอียน  สรรพคุณ : ขับพยาธิ ไส้เดือน • เป็นพืชประเภท เถา – เครือ
  • 51. กระเบา  ลัก ษณะ : ลูกกลมๆ คล้ายหินตามนำ้าตก เขย่าจะได้ยินเสียง เมล็ดข้างใน  รส : เมาเบื่อ  สรรพคุณ : นำ้ามัน จากเมล็ด แก้โรค ผิวหนัง
  • 52. มะคำา ดีค วาย  ลัก ษณะ : ลูกสีดำา ผิว เป็นมัน  รส : ขม  สรรพคุณ : บำารุง นำ้าดี แก้กาฬ ภายใน • สุมเป็นถ่าน อยูในยามหา ่ นิลแท่งทอง • ต้มเอาฟองสุมศีรษะเด็กแก้
  • 53. ลูก ผัก ชีล า  ลัก ษณะ : เม็ด กลมๆ ( ล้อมรี-ลากลม )  รส : ฝาดร้อนหอม ( ฝากรักหา ก่อนลา ลม )  สรรพคุณ : ขับลม ในลำาไส้ บำารุงธาตุ ( ลา ) • พิกดตรีสัตกุลา, ทศ ั
  • 54. ลูก ผัก ชีล ้อ ม  ลัก ษณะ : เม็ดรีๆ คล้ายเทียนเยาวพานี แต่ใหญ่กว่าเล็กน้อย บางเม็ด แตก ครึ่ง ซีก บางเม็ดมีแตกครึ่งซีก ( ล้อมรี-ลากลม )  รส : หอมร้อนเล็ก น้อย ( ล้อม-จักร หากรักเล็ก น้อย ) ( ตรีพ ิษ จัก ร )
  • 55. ราชดัด  ลัก ษณะ : เมล็ดรี เปลือกย่นคล้ายเม็ด มะละกอ แต่เล็กกว่า  รส : ขม  สรรพคุณ : บำารุง นำ้าดี • อยูในพิกัดตรีทราวสา ่ ุ • อยูในยาหอมเนาวโกฐ ่ 4 ส่วน
  • 56. เมล็ด ชุม เห็ด ไทย  ลัก ษณะ : เม็ดเล็ก สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน  รส : ขมหอมเล็กน้อย  สรรพคุณ : ทำาให้ นอนหลับ ( ก่อนใช้ต้องนำาเมล็ดไปคั่ว ให้เกรียม ) • ราก ชุมเห็ดไทย เป็นนำ้า กระสายยาแก้นอนไม่ หลับ
  • 57. ลูก ซัด  ลัก ษณะ : เป็นเม็ด สีเหลี่ยมสีเหลือง ่ เหมือนยาอมโบตัน มีขีดตรงกลาง  รส : ฝาด  สรรพคุณ : แก้ ท้องร่วง ( แก๊ก : ซัดโบตันให้ ร่วง )
  • 58. แมงลัก  ลัก ษณะ : เม็ดเล็ก เหมือนหยดนำ้า  รส : หอมร้อน  สรรพคุณ : ระบาย อุจจาระ • สสม. ใช้เมล็ดแมงลัก 1.2 ชช. ล้างนำ้าให้สะอาด แช่ นำ้าอุ่น 250 ซีซี จนพองตัว เต็มที่ รับประทานก่อนนอน • ข้อควรระวัง ถ้าเมล็ด
  • 59. งา  ลัก ษณะ : เม็ด ใหญ่กว่าเทียนดำา แต่สีอ่อนกว่านิด หน่อย มักมีเม็ดสี นำ้าตาลปน  รส : มัน  สรรพคุณ : บำารุง ไขมัน บำารุง
  • 60. ลูก สะค้า น  ลัก ษณะ : คล้ายเม็ด พริกไทย แต่ใหญ่ กว่า มีก้านยาวที่หัว  รส : เผ็ดร้อน ( แน่น ในทรวงอกเพราะผัว รัก เตะลูก ค้า น )  สรรพคุณ : แก้ลมแน่น ในทรวงอก มีก ้า น ยาวที่ห ัว • อยูในพิกัดวาตะผล ่ ( ลูกสะค้าน-รากพริก
  • 61. พริก ไทย  ลัก ษณะ : เมล็ดค่อน ข้างกลมเปลือกขรุขระ นิดหน่อย สีออกนำ้าตาล ดำา ดมดูมีกลิ่นฉุน  รส : ร้อนเผ็ด ( กิน พริก กลับ เผ็ด ร้อ น ) ( พริก - พฤกษ์ )  สรรพคุณ : แก้ลม อัมพฤกษ์แก้ท้องอืด เฟ้อ บำารุงธาตุ
  • 62. เมล็ด ข่อ ย  ลัก ษณะ : เม็ดกลม ขาวๆ คล้ายพริกไทย แต่บบแล้วแตก ( ถ้า ี พริกไทยบีบไม่แตก ) บีบ เม็ด แตกง่า ย  รส : มันร้อนน้อย  สรรพคุณ : บำารุง ธาตุ เจริญอาหาร เป็นยา อายุวัฒนะ
  • 63. พริก หอม  ลัก ษณะ : คล้าย ไดโว่  รส : เผ็ดร้อน  สรรพคุณ : ขับ ลมในลำาไส้
  • 64. ลูก ช้า พลู  ลัก ษณะ : ลูกดำาๆ เป็นช่อๆ คล้ายองุ่น เล็ก  รส : เผ็ดร้อนเล็ก น้อย  สรรพคุณ : แก้ เสมหะในลำาคอ • อยูในพิกัดตรีเสมหะผล ่
  • 65. ลูก พิล ัง กาสา  ลัก ษณะ : คล้าย มังคุดลูกเล็กๆ ก้นลูกมีตุ่มแหลมๆ  รส : ฝาดสุขุม  สรรพคุณ : แก้ท้อง เสีย ( แก๊ก : พิลังกาเสีย ) ที่ก ้น ลูก มีต ุ่ม แหลม
  • 66. คัด เค้า  ลัก ษณะ : ลูกสีดำา เล็กๆ ที่ก้นลูกเป็นวง กลมๆ ที่ก ้น ลูก เป็น วงกลมๆ  รส : ฝาดอมเปรี้ยว  สรรพคุณ : ขับฟอก โลหิตระดูสตรีที่เน่าร้าย • เป็นพืชจำาพวก เถา-เครือ
  • 67. เร่ว ใหญ่  ลัก ษณะ : คล้ายลูก น้อยหน่า หรือมันสมอง ขนาดใหญ่กว่าเร่วน้อย  รส : ขมเผ็ด ( ผล )  สรรพคุณ : แก้ ริดสีดวงทั้ง 9 • อยูในพิกดตรีคันธวาต ่ ั และพิกัดทศกุลาผล • จุลพิกัดต่างกันทีขนาด ่
  • 68. เร่ว น้อ ย  ลัก ษณะ : คล้ายลูก น้อยหน่า หรือมัน สมอง ขนาดเล็กกว่า  รส : ขมเผ็ด ( ผล )  สรรพคุณ : แก้หืด ไอ แก้ริดสีดวง • อยูในพิกัดทศกุลาผล ่ • จุลพิกัดต่างกันทีขนาด ่
  • 69. เมล็ด  ลัก ษณะ : คล้ายเมล็ด ลำา โพง พริกแต่ใหญ่กว่า เปลือก ลูกมีหนามเหมือนทุเรียน  ใบ : รสเมา พอกฝี ทำาให้ยุบ  ดอกแห้ง : รสเมาเบื่อ แก้ริดสีดวงจมูก  นำ้า มัน จากเมล็ด รส เมาเบือ บำารุงประสาท ่  เมล็ด : รสเมาเบือ รับ ่ ประทานแต่น้อยเพียง 2-3
  • 70. เมล็ด สะแก  ลัก ษณะ : เมล็ดในมี ปีกยื่นออกมา 4 พู คล้ายถั่วพู  รส : เมาเบื่อ  สรรพคุณ : ขับ พยาธิเส้นด้าย ขับพยาธิ ไส้เดือน
  • 71. ลูก ยอ  ลัก ษณะ : เปลือกสี ดำา เนือในเต็มไป ้ ด้วยเม็ด  รส : ร้อนปร่า  สรรพคุณ : แก้ อาเจียน • อยูในพิกดตรีผลสมุฎ ่ ั ฐาน • ลูกยอหมกไฟต้มเอานำ้า เป็นนำ้ากระสายยา แก้ อาเจียน
  • 72. เนื้อ ในฝัก คูณ  ลัก ษณะ : หั่นมาเป็น แว่นหนาๆ  รส : หวานเอียน  สรรพคุณ : ระบาย ท้อง • สสม. ใช้เนือในฝักแก่ ้ ก้อนเท่าหัวแม่มอื ( ประมาณ 4 กรัม ) ต้มกับ นำ้าเกลือเล็กน้อย ดื่มก่อน นอนหรือตอนเช้าก่อน
  • 73. มะแว้ง เครือ  ลัก ษณะ : ลูกก้าน ยาวและมีลาย เถามีหนาม  รส : ขม ( ผล ) ขื่นเปรี้ยวเล็ก น้อย ( ราก ) ลูก ก้า น  สรรพคุณ : แก้ไอ ขับ ยาว เสมหะ (ผล ) แก้ไอ แก้นำ้าลายเหนียว ( ราก )
  • 74. ลูก สะบ้า  ลัก ษณะ : กลมๆ แบนๆ สีดำา  รส : เมาเบือ ( เมล็ด ่ ใน )  สรรพคุณ : แก้โรคผิวหนัง ผืนคัน ่ • อยูในยามหานิล ( สุม ่
  • 75. สีเ สีย ดเทศ (สีเ สีย ดแขก )  ลัก ษณะ : เป็นท่อนสี อิฐ ท่อนลักษณะคล้าย ข้าวหลาม  รส : ฝาดจัด  สรรพคุณ : แก้ท้อง ร่วง แก้บิดมูก เลือด
  • 76. สีเ สีย ดไทย  ลัก ษณะ : เป็นก้อนดำา ด้านๆเหมือนนำ้าตาลปึก บางชินด้านหน้ามีเศษ ้ ใบไม้ติด  รส : ฝาดจัด  สรรพคุณ : แก้ท้อง ร่วง แก้บดมูกเลือด ิ • จุลพิกัดต่างกันที่ถนเกิด ิ่ ( ไทย-แขก )
  • 77. ข้า วเย็น ใต้  ลัก ษณะ : ก้อนสี ขาว คล้ายฝรั่งเฉาะ ด้วยปลายมีด  รส : กร่อยหวานมัน เล็กน้อย ( แก๊ก : เที่ยวสาวเหนือสาวใต้ แล้วเป็นกามโรค เลยกร่อ ย ตอนเที่ยวก็ห วานมัน ดี หรอก สาวใต้ชื่อเล็ก สาว เหนือชื่อน้อ ย )  สรรพคุณ : แก้
  • 78. ข้า วเย็น เหนือ  ลัก ษณะ : ลักษณะ เป็นก้อนเฉาะจากหัว เหง้า มีสีเหลือง  รส : กร่อยหวานมัน เล็กน้อย ( แก๊ก : เที่ยวสาวเหนือสาวใต้ แล้วเป็นกามโรค เลย กร่อ ย ตอนเที่ยวก็ห วาน มัน ดีหรอก สาวใต้ชื่อเล็ก สาวเหนือชื่อน้อ ย )  สรรพคุณ : แก้
  • 79. หัว แห้ว หมู ( พืช ประเภทหญ้า )  ลัก ษณะ : คล้ายหัว เผือก แต่เล็กกว่า มาก  รส : ซ่าติดจะร้อน เผ็ด ( ไอ้แห้วชอบทำาซ่าติดจะ ใจร้อนด้วย )  สรรพคุณ : บำารุง ธาตุ ( หมู ) บำารุงครรภ์
  • 80. กกลัง กา ( กกขนาก )  ลัก ษณะ : หัวเหง้าสี ดำาๆ มีขนเล็กน้อย บางชิ้นจะเห็นเป็นข้อๆ เนื้อข้างในสีนำ้าตาล  รส : ขมเอียน  สรรพคุณ : บำารุง ธาตุ ( กา ) เจริญอาหาร • พิกดเบญจผลธาตุ ั
  • 81. หัว เต่า เกีย ด  ลัก ษณะ : เอามือรูปดู หน้าตัดจะเป็นเสี้ยน เล็กๆ สีนำ้าตาลอมส้ม  รส : เย็นหอมฉุน ( ใน พืชวัตถุ ) เผ็ดร้อน ( ในยา 9 รส )  สรรพคุณ : แก้ตเสี้ย นเล็ก เนื้อ สี นำ้า ตาล มีเ ส้น ับ ตลอดหน้า ตัด ปอด พิการ เปลือ กนอก สีน ำ้า ตาลแดงไหม • พิกัดเบญจผลธาตุ
  • 82. รากกล้ว ย  ลัก ษณะบหน้าตัดมี ตี : เสี้ยนแต่น้อยหว่าหัวเต่า เกียด บีบแล้วนุมมือ ฉีก ่ จะเห็นเส้นใย  ราก : รสฝาดเย็น แก้ ไข้ท้องเสีย  ใบ : ฝาดเมา แก้ ริดสีดวงจมูก • อยู่ในพิกด ตรีอมฤต ( กอก- ั กล้ว ย-ดอม ) • อยู่ในยาเหลืองปิดสมุทร 1 ฉีก จะเห็น ส่วน เส้น ใย
  • 83. เหง้า ขิง แห้เป็นชิ้นแห้งๆ  ลัก ษณะ : ง เหี่ยวๆ  รส : หวานเผ็ดร้อน ( นึก ถึง เวลากิน นำ้า ขิง )  สรรพคุณ : เจริญอากาศ ธาตุ ขับลม แก้จุกเสียด • อยู่ในพิกัดตรีกฏุก, เบญจกุล, พิกดตรีสตกุลา ( ขิงสด ) ั ั • ในมหาพิกัดทัวไป ระคนใน ่ กอง วาโย • ฤาษีที่บริโภคชื่อ มหิทธิธรรม • ใน สสม.- แก้ล มจุก เสีย ด แก้ คลื่น เหีย นอาเจีย น ใช้เ หง้า แก่ สดเท่า หัว แม่ม ือ ทุบ ให้แ ตก ต้ม
  • 84. รากเจตมูล เพลิง ( ไฟใต้เ ดิน )  ลัก ษณะ : รากไม้สี แดงคลำ้า  รส : ร้อน  สรรพคุณ : บำารุง ธาตุ บำารุงโลหิต • พิกดตรีสาร เบญจกูล ั ตรีปิตตะผล • ข้อควรระวัง ถ้ารับ ประทานมาก ทำาให้แท้งได้
  • 85. รากช้า พลู รากชี้ล ง ( ผัก อีไ ร )  ลัก ษณะ : เขี่ยให้เจอ ราก จะมีรากตรงข้อ ดู ลักษณะของราก รากชี้ล ง เป็นไม้ต้นเดียว ที่ราก จะลง  รส : เผ็ดร้อนเล็กน้อย  สรรพคุณ : แก้คถ ู เสมหะ • อยู่ในพิกัดตรีสาร, เบญจ
  • 86. เถาสะค้า น  ลัก ษณะ : เถาหน้า ตัดลักษณะเหมือน พัดลม  รส : เผ็ดร้อน หน้า ตัด เป็น ลายพัด ลม  สรรพคุณ : ขับลม ในลำาไส้ • พิกดตรีสาร ,เบญจกูล ั มีปุ่มเล็กๆ เปลือกกับเนื้อไม้มช่อง/ร่อง ี • ฤาษีทบริโภคชื่อ บุพเท ี่ วา
  • 87. บอระเพ็ด ( เจตมูล หนาม )  ลัก ษณะ : เถามีตุ่ม หนาม เถาเล็กๆ ( บอระเพ็ดตัว เมีย ) บอระเพ็ดตัวผู้ ( ชิงช้า ชาลี ) เถาจะใหญ่กว่า ตุ่มเรียบกว่า  รส : ขม  สรรพคุณ : แก้ไข้ ตุ่ม นูน สูง เหนือ บำารุงนำ้าดี มือ รูป แล้ว สะดุด มาก • ใน สสม. แก้ไข้ทกชนิด ุ
  • 88. ท้า วยายม่อ ม ( เป็น ไม้ต ้น ขนาดย่อ ม )  ลัก ษณะ : รากมี ลักษณะเป็นเถามีรู มีร ูต รงกลาง ตรงกลาง ( แก๊ก : ย่ามีลาย ยายมีรู )  รส : จืดขื่น มีวงลางๆ รอบข้อมี 4 ตา ( ราก ) (รอยใบทีหลุดรอบข้อ) ่ ( แก๊ก : ยายกลัวงู ใจจะ มีรูตรงกลาง ขาด ) เนื้อไม้สีขาว  สรรพคุณ : แก้พิษงู
  • 89. เถาวัล ย์ เปรีย ง  ลัก ษณะ : หน้าตัด เป็นวงซ้อนกัน เอามือ รูปดูจะเป็นคลื่นนูนๆ  รส : เบื่อเอียน  สรรพคุณ : แก้ปวด เมื่อย ทำาให้เส้นเอ็น หย่อน หน้า ตัด เป็น คลื่น นูน ( แก๊ก : เบื่อระอาโหน
  • 90. หญ้า นาง ( หญ้า ภคิน ี )  ลัก ษณะ : หน้าตัด กิง ไม้ ่ กลม มีลายเหมือนแยม หน้า ตัด มี โรล ลาย ( แก๊ก : ย่ามีลาย ยาย มีรู )  รส : เย็นขม ( ราก )  สรรพคุณ : แก้ไข้ ทุกชนิด
  • 91. ตองแตก ( ทนดี )  ลัก ษณะ : ราก มีไส้สี ขาวๆตรงกลาง ( คล้าย สำาลีอุด ) มีไ ส้ส ีข าวอุด ตรง ( ย่ามีลาย ยายมีรู สำาลีอุดหู กลาง คือตองแตก )  รส : จืดเฝือนขมน้อย ่  สรรพคุณ : ระบา ยอ่อนๆ ( แก๊ก : ตองแตก ขี้แตก ) • อยูในยาถ่าย ่
  • 92. เถาเอ็น อ่อ น เปลือ กมีป ุ่ม คล้า ยฝีแ ตก  ลัก ษณะ : เปลือกสีนำ้า ตาลร่อนๆ หน้าตัดเป็น ขุยๆ มีรูตรงกลาง  รส : ขมเมา ( เถา ) มีร ูบ ุ๋ม ตรงกลาง  สรรพคุณ : แก้เส้น ตึง แก้ปวดเมื่อยตาม ร่างกาย ( เอ็น อ่อ น ) มีรูบุ๋มตรงกลาง • อีกชื่อเรียกต้นตีนเป็ด เครือ ไม่มีวงปีเด่นชัด มีจดเล็กๆ ุ มีป ุ่ม คล้า ยฝีแ ตก เปลือกปุ่มคล้ายฝีแตก
  • 93. เถามวกแดง ( เครือ เขามวก )  ลัก ษณะ : หน้าตัดมีรูอา กาศเล็กๆ คล้ายฟองนำ้า ดึงดูที่เปลือกจะมีเส้นใย  รส : เย็นเบือ ่  สรรพคุณ : บำารุงโลหิต แก้โลหิตจาง • จุลพิกัดต่างกันทีสี ( ขาว - ่ แดง ) เนื้อ ไม้ส ีข าว • อยู่ในยาหอมอินทจักร จุดสีนำ้าตาลแดง
  • 94. เถาลิ้น เสือ  ลัก ษณะ : เปลือก เป็นร่องๆสีแดง มีจุด ทั่วหน้าตัด มีรูตรง กลาง มีวงขาวล้อม เปลือ กเป็น ร่อ งสีแ ดง รอบอีกวง มีว งขาวล้อ ม  รส : ขื่น รอบอีก วง  สรรพคุณ : แก้ตับ มีจุดทัวหน้าตัด ่ มีรูตรงกลาง ทรุด ตับพิอการม้าแ ดงเข้ม มีวงขาวล้อมรอบอีกวง เปลื กเหี่ย วสี มโต บำารุงตับ น ร่อ งเบีย ดกัน เป็ สับ สนเล็ก น้อ ย ไม่ต รง แต่ย าวต่อ เนื่อ ง
  • 95. จิง จ้อ หลวง ( จิง จ้อ ขาว )  ลัก ษณะ : หน้าตัด เถาเป็นดอกๆ คล้ายม้า กระทืบโรง ( แต่มา ้ กระทืบโรงมีสีแดง )  รส : ร้อน ( ใช้เถา )  สรรพคุณ : แก้สมหะ โลหิตและกำาเดา (แก๊ก : คุยจ้อหน้าร้อนจน เสมหะแห้ง) น้า ตัด เป็น ห รูป ดอกไม้
  • 96. เถาคัน แดง  ลัก ษณะ : หน้าตัดมี ลักษณะเหมือนฟองนำ้า คล้ายดอกไม้เล็กๆ ชัน ้ เดียว ไม่กระจาย เหมือนม้ากระทืบโรง เปลือกสีแดงๆ  ใช้เ ถาทำา ยา  รส : ขื่นขม  สรรพคุณ : ขับ หน้า ตัด เหมือ น เสมหะ ขับเลือดเน่า ฟองนำ้า และขับนำ้าคาวปลา เป็น รูป ดอกไม้ หลังการคลอด
  • 97. รางจืด  ลัก ษณะ : ราก มีไส้ สีขาวๆตรงกลาง หน้า ตัดเหมือนฟองนำ้า ( ย่ามีลาย ยายมีรู สำาลีอุด หูคือตองแตก )  รส :เย็น  สรรพคุณ :ถอนพิษ เบือเมา ่ )
  • 98. แซ่ม ้า ทลาย ( ปรู )  ลัก ษณะ : หน้าตัด เป็นเส้นๆ คล้ายแส้ ลายเส้นรัศมีเหมือน แสงพระอาทิตย์ ชัดเจน  รส :( เถา ) รสฝาด เย็น  สรรพคุณ : แก้โรค ผิวหนัง นำ้าเหลือง เสีย
  • 99. ม้า กระทืบ โรง ้อสี  ลัก ษณะ : เนื นำ้าตาลแดงมีช่องเชื่อม แต่ละวง ลายคล้าย กระทืบนำ้ากระจาย หน้า ตัด ลายคล้า ย  ใช้ท ั้ง ต้น กระทืบ นำ้า กระจาย  รส : ขมน้อย ( ม้าตัวนี้ ไข่นอย(เล็ก)ต้อง ้ บำารุงกำาหนัด )  สรรพคุณ : บำารุงธาตุ ( ม้า ) บำารุงกำาหนัด
  • 100. กำา แพงเจ็ด ชัก ษณะลุ:่มหน้าตั) เป็น  ลั ้น ( นก ด วง สีแดง  รส : เบื่อเมา  สรรพคุณ : แก้ปวด เส้น วงปีส ีแ ดงชัด เจนมาก ตามข้อ ( แก๊ก : เบื่อปีนกำาแพงตอนเมา ทำาให้ปวดข้อ ) บำารุงโลหิต ( วงสีแดงๆ ) • เป็นไม้เถาขนาดใหญ่ • อีกชื่อหนึงเรียกว่า ตะลุ่ม ่ นก เส้นวงปีสีแดงชัดเจนมาก
  • 101. หางไหล แดง าตัด  ลัก ษณะ : หน้ เป็นวงๆ คล้ายกำาแพง วงมีส ีแ ดง เจ็ดชัน แต่มีสีแดง ้ เหมือ น หมึก ซึม เลอะๆ คล้ายหมึกซึม เลอะ  รส : เอียนเล็กน้อย  สรรพคุณ : ขับบำารุง โลหิต ถ่ายเส้นเอ็น เนื้อไม้สีขาว ถ่ายลม ( โล่ติ๊น ) • จุลพิกัดต่างกันทีสี ( ขาว- ่ วงมีสีแดงเหมือนหมึกซึมเลอะ แดง )
  • 102. กะทือ  ลัก ษณะ : สีขาวๆ มี ลักษณะ หยาบๆ มี เสียน ้  รส : ขมขื่นน้อยๆ  สรรพคุณ : แก้บด ิ บำารุงนำ้านมสตรีให้ บริบรณ์ ู (แก๊ก : กระเทย ถูก ข่ม ขืน น้อ ยๆด้ว ยการบิด หัว นม ) • พิกัดตรีผลธาตุ ( กะทือ-ไพล- ไคร้หอม ) • จุลพิกดต่างกันทีถิ่นเกิด ั ่ • อยู่ใ นยาไฟประลัย ( บ้าน-ป่า )
  • 103. ข่า  ลัก ษณะ : เนื้อ หยาบๆ เปลือกสีแดง ดมมีกลิ่นเฉพาะ  รส : เผ็ดร้อนซ่า เปลือ กสี ค่อ นข้า ง ( แก๊ก : ผัวเราซ่าเจอเข่า แดง จนจุกเสียด ) เนื้อ ใน หยาบ  สรรพคุณ : แก้ กามโรค แก้จุกเสียด • เป็นนำ้ากระสายยา แก้จุก เสียด • จุลพิกัดต่างกันทีขนาด ่ ( เล็ก-ใหญ่ )
  • 104. ไพล  ลัก ษณะ : ให้ดมดู จะมีกลิ่นเฉพาะตัวของ ไพล กลิ่นเหมือนลูก ประคบ  รส : ฝาดขื่นเอียน  สรรพคุณ : ฝนทา แก้เคล็ดบวมยอก ผสม กับนำ้ามันเบนซินทาแก้ เหน็บชาชนิดบวม ( แก๊ก : ป้า ไพลมีไ ฝขาว อวบ อายุ 81 ปี มีว งกลางสีเ หลือ งคลำ้า แกเคล็ด ขัด ยอก ประจำา ) สีเ หลือ งอ่อ น • พิกัดตรีผลธาตุ • ใน สสม. แก้ฟกบวม เคล็ดยอก ขับระดูประจำา
  • 105. ขมิ้น ชัน  ลัก ษณะ : เนื้อสีเหลือง เข้ม  รส : ฝาดเอียน  สรรพคุณ : แก้ทองร่วง ้ สมานแผล • อยูในยาเหลืองปิดสมุทร 6 ่ ส่วน • สสม. แก้โรคกระเพาะ โดย หั่นตากแห้ง บดให้ละเอียดผสม กับนำ้าผึ้ง ปั้นเป็นเม็ดขนาดเท่า ปลายนิ้ว กินครังละ 2-3 เม็ด วัน ้
  • 106. ขมิ้น อ้อ ย ของแห้ง มัก เป็น ชิ้น ใหญ่  ลัก ษณะ : หัวโต เมื่อหั่นมาจะมี ลัก ษณะหัว ใหญ่ มีต าโดยรอบ ลักษณะเหมือนยอด เจดีย์ มีสีเหลืองอ่อน  รส : ฝาดเฝือน่  สรรพคุณ : ขับ ปัสสาวะ สมานลำาไส้ แก้ระดู ขาว มีส ีเ หลือ งอมส้ม (น้อ ยกว่า ขมิ้น ชัน ) • สรรพคุณเสมอ ขมินชัน ้ • อยูในยาประสะไพล 8 ่
  • 107. ขมิ้น เครือ ( แห้ม )  ลัก ษณะ : สีเห ลืองๆ  รส : ฝาดเฝือน ่  สรรพคุณ : บำารุงนำ้า เหลือง ฝนหยอดตาแก้ ตาแดง
  • 108. รากหญ้า คา  ลัก ษณะ : เป็นรากสี ขาว มีข้อ มีปล้องชัดเจน  รส : หวานเย็นเล็กน้อย ( แก๊ก : สั่งหวานเย็นใส่ราก หญ้าคาเล็กน้อย กินแก้ร้อน ในกระหายนำ้า )  สรรพคุณ : ขับปัสสาวะ แก้ร้อนในกระหายนำ้า • ในสสม. รสจืด
  • 109. ชะลูด  ลัก ษณะ : เป็น รางนำ้าสีขาวๆ  รส : หอมเย็น  สรรพคุณ : ขับ ผายลม( หอม ชะลูด ปูด ๆ )
  • 110. อบเชยเทศ  ลัก ษณะ : เปลือก ไม้ม้วนๆ  รส : หอมติดร้อน  สรรพคุณ : แก้ลม วิงเวียน • อยูในพิกัดตรีอากาศผล ่ ( ขิง-พัก-เชย ), จตุผลาธิกะ และพิกัดทศกุลาผล
  • 111. ชะเอมเทศ ( ชะเอมจีน )  ลัก ษณะ : มักจะสไลด์ มา เปลือกสีคอนข้าง ่ แดง ชิมดูมีรสหวาน  รส : หวาน  สรรพคุณ : แก้ นำ้าลายเหนียว ขับเลือด เน่าร้าย • อยู่ในพิกดทศกุลาผล ั • อยู่ในยาอัมฤควาที 43 ส่วน
  • 112. ชะเอมไทย วงปีเ หลือ งเขีย ว เปลือ กหยาบๆ เหมือ นหนัง ช้า ง  ลัก ษณะ : เนื้อสี เหลือง เปลือกหยาบๆ เหมือนหนังช้าง  รส : หวาน  สรรพคุณ : แก้ นำ้าลายเหนียว • อยู่ในพิกัดทศกุลาผล • จุลพิกัดต่างกันทีถิ่นเกิด ่ ( เทศ–ไทย )
  • 113. เพกา  ลัก ษณะ : เมล็ดแก่ คล้ายไข่ดาว  รส : ขม  สรรพคุณ : เมล็ดแก่ ระบายท้อง ฝักแก่ แก้ร้อนใน กระหายนำ้า • ใน สสม. เมล็ด เพกาเป็น ส่วนประกอบหนึ่งในนำ้า จับเลี้ยง คนจีนดื่มแก้ร้อนใน
  • 114. ส้ม เสี้ย ว  ลัก ษณ ะ : ใบโค้ง มน เหมือนตูดเด็ก  รส : เปรี้ยว  สรรพคุณ : ถ่าย เสมหะ ฟอกโลหิตประจำา เดือน แก้ไอ
  • 115. ใบกระวาน  ลัก ษณะ : ให้ขยี้ดมดู มีกลิ่นหอม  รส : เผ็ดเล็กน้อยกลิ่น หอม  สรรพคุณ : แก้ไข้ เซื่องซึม เส้น กลางใบ 3 เส้น เหมือ นอบเชย • อยู่ในพิกด ตรีสุคนธ์ ั ( วาน-เชย-เสน )
  • 116. หนุม านประสาน กาย ( ไม้เ ถายืน ต้น )  ลัก ษณะ : ใบออก เป็นกลุ่ม 5 ใบ  รส : ฝาดเย็นเอียน  สรรพคุณ : แก้หืด หอบ แก้ไอ • จัดเป็นพืชประเภท เถา - เครือ
  • 117. ใบอิน ทนิล  ลัก ษณะ : ดูที่โคน ใบ มีจุดดำาๆ อยู่ 2 ข้าง  รส : ขมเย็นเล็ก น้อย  สรรพคุณ : แก้ เบาหวาน ( แก๊ก : ขุน อิน ชอบ กิน ของหวาน
  • 118. ยาสูบ  ลัก ษณะ : ใบใหญ่ หลังใบสีเข้มกว่าหน้า ใบ ดมดูมีกลิ่นเฉพาะ ตัว  รส : เมา  สรรพคุณ : แก้ ริดสีดวงจมูก
  • 119. มะกา  ลัก ษณะ : ใบไม้บางๆ สีดำาๆคลำ้าๆ ลายใบย่อย ขนานกัน  รส : ขมขื่น  สรรพคุณ : ถ่ายเสมหะ ลายใบย่อ ยขนานกัน และโลหิต • อยูใ นยาถ่า ย ่ ( อยู่ใ นยาถ่า ย แต่ไ ม่ ถ่า ยอุจ จาระ )
  • 120. ใบมะดัน  ลัก ษณะ : ใบไม้สี ออกนำ้าตาลอมดำา ชิม ดูรสเปรี้ยว  รส : เปรี้ยว  สรรพคุณ : แก้ระดู เสีย กัดเสมหะ ระบา ยอ่อนๆ ( แก๊ก : ชิมดู ใบดัน เปรี้ยว เสียวจู๊ดๆ )
  • 121. คนทีส อทะเล ( ไม้ เลื้อ ยตามพื้น ทราย )  ลัก ษณะ : ด้านหน้า ใบสีดำา หน้า ใบสีด ำา ด้านหลังใบสีขาว หลัง ใบ สีข าว  ใช้ต ้น ทำา ยา **  รส : เผ็ดร้อน  สรรพคุณ : แก้ลม แก้เสมหะ ( แก๊ก : ไปทะเลคนเดียว ร้อนลมแรง )
  • 122. พิม เสนต้น  ลัก ษณะ : ลำาต้นเป็น ร่อง ใบมักมาเป็นขยุ้ม ขยี้ดมมีกลิ่นหอม  รส : เย็นหอม ( ใบ )  สรรพคุณ : แก้ลม บำารุงหัวใจ • ใบอยู่ในยาเขียวหอม • รากพิมเสนต้น อยู่ใน
  • 123. ใบสัน พร้า หอม  ลัก ษณะ : ลำาต้น แห้งจะแบนเป็นเส้น ยาว แต่ใบแหลม คล้ายผักชีล้อม  ใช้ใ บทำา ยา  รส : จืด  สรรพคุณ : แก้ไข้ ลำา ต้น แห้ง จะแบน หวัด เป็น เส้น ยาว •ใบรูป หอก ก้ายวหอม 1 อยูในยาเขี น ่ แดง น ส่ว
  • 124. ใบมะขาม แขก  ลัก ษณะ : ใบเล็กๆ แหลมหัว แหลมท้าย  รส : เปรี้ยว  สรรพคุณ : ระบาย ท้อง
  • 125. ฝัก มะขาม แขก เล็กๆ  ลัก ษณะ : ฝัก คล้ายฝักถั่ว ลันเตา  รส : เปรี้ยว  สรรพคุณ : แก้ท้องผูก ระบายท้อง • สตรีมีครรภ์ห้ามใช้
  • 126. ฝัก ส้ม ป่อ ย ( ไม้ เถายืน ต้น )  ลัก ษณะ : ฝักแบนๆ ดำาๆ เป็นข้อๆ  รส : เปรี้ยว  สรรพคุณ : ฟอกล้าง โลหิตระดู • อยูในยาไฟห้ากอง ่ • จัดเป็นพืชวัตถุประเภท เถา-เครือ • อยูในยาถ่าย 1 ส่วน ่
  • 127. กรรณิก า  ลัก ษณะ : ก้าน สี่เหลี่ยม เอามือ รูปดูจะสาก มือ  รส : ขม ( ใบ / ราก ) ขมเย็น ( ต้น ) ขมหวาน ( ดอก )  สรรพคุณ : บำารุง นำ้าดี ( ใบ ) ก้า นมีต ุ่ม เอามือ รูป ดูจ ะสากๆ บำารุงเส้นผมให้ดกดำา
  • 128. ข้อ ป่อ งๆ ทองพัน ชั่ง  ลัก ษณะ : ก้านสีขาว ข้อป่องๆ หักดูมีไส้แน่นสี ขาว ข้างใน  ราก : รสเบื่อเมา ข้อ ป่อ งๆ แก้กลากเกลื้อน ไส้แ น่น สีข าว  ใบ : รสเบือเย็น ่ แก้พยาธิ ผิวหนัง • รากทองพันชั่งอยู่ใน พิกดเนาวโลหะ ั
  • 129. หญ้า ขัด มอน ( ต้น ไม้ กวาด )  ลัก ษณะ : ก้าน ขาวๆคล้ายไม้กวาด เปลือกร่อนๆตรง ราก ใบออกแหลมๆ เล็กๆ  รากเป็นเมือก รส เผ็ด  สรรพคุณ : แก้ ปวดลูก แก้เยื่อหุ้ม
  • 130. ผัก คราดหัว  ลัก ษณะ : ดอกคล้าย แหวน หัวแหวน หาดอกให้ เจอ  ใช้ท ั้ง ต้น  รส : เอียนเบื่อเล็กน้อย  สรรพคุณ : แก้ ริดสีดวง แก้ต่อม ทอนซิลอักเสบ • สสม. ดอกบรรเทาอาการ ปวดฟัน โดยใช้ดอกสดตำา กับเกลือ อมหรือกัดไว้
  • 131. ผัก เสี้ย นผี  ลัก ษณะ : ฝักแหลมๆ มีขน ฝัก แห้ง ผัก ( พยายามเขี่ยหาฝัก เสี้ย นผี ให้เจอ )  ต้นสด ดอกสีเหลืองใบ เป็นขน  ใช้ท ั้ง 5  สรรพคุณ : แก้ฝีใน ตับ ปอด ( เป็น ฝีใ นตับ ปอด ตายเป็น ผี
  • 132. เหงือ กปลา หมอ  ลัก ษณะ : ใบเป็น หนาม  ราก : รสเฝื่อนเค็ม แก้โรคผิวหนังทุก ชนิด  ใช้ท ั้ง 5 : รสร้อน แก้พิษฝี แก้พิษกาฬ ได้ดีมาก
  • 133. กระเพรา  ลัก ษณะ : กิ่งมีขน ดอกมีลักษณะเฉพาะ ( หาดอกให้เจอ )  ใช้ท ั้ง 5 : รสเผ็ดร้อน  สรรพคุณ : แก้ปวด ท้อง แก้ท้องอืดเฟ้อ • จุลพิกัดต่างกันที่สี ( แดง- ขาว ) • รากอยูในพิกัดตรีกาฬพิษ ่ • สรรพคุณเสมอกับ แมงลัก • ใช้สะตุมหาหิงคุ์ ( นำ้ากระ เพราแดงต้ม )
  • 134. มะแว้ง เครือ  ลัก ษณะ : เถามีหนาม ลูกผลลาย และมีก้าน ยาว  ผล : รสขม แก้ไอ ขับ เสมหะ  ราก : รสขื่นเปรี้ยวเล็ก น้อย แก้ไอ ขับเสมหะ แก้นำ้าลายเหนียว
  • 135. โด่ไ ม่ร ล ้ม ู้ ( หญ้า ปราบ ) มีร ากเป้  ลัก ษณะ : เป็น นกระจุก หญ้า มีรากเป็นกระ จุก มีขี้ดินติด  ใช้ท ั้ง ต้น  รส : จืดขื่น  สรรพคุณ : บำารุง กำาหนัด ( แก๊ก : ต้องบำารุงกำาหนัด เพราะกลัวไม่โด่ ใจจะ ขาด จืดขื่น )
  • 136. หนอนตาย อยาก  ลัก ษณะ : มักมา เป็นกระจุก เป็น พวงๆ  ใช้รากทำายา  รส : เบื่อเมา  สรรพคุณ : ฆ่า เหา หิด กลาก
  • 137. ผัก แพวแดง  ลัก ษณะ : มีสีม่วง แดง เป็นแผ่นๆบางๆ  รส : ร้อน ( ราก )  สรรพคุณ : เส้น ประสาทพิการ • อยู่ในพิกดตรีปิตตะผล ั ( เพลิง -เพรา-แพว ) • อยูในยาธรณีสัณฑะฆาต ่ 2 ส่วน
  • 138. ว่า น หอมแดงกสี  ลัก ษณะ : เปลือ แดงๆ  หัว : รสเค็ม ขับลม ในกระเพาะอาหาร และลำาไส้  ใบ : รสเค็ม ตำาสุม กระหม่อ่ใ นยาประสะ • อยู มเด็กแก้ ไพล , ยาถ่า ย หวัดแก้หวัด ต้น สด ใบยาวสีเ ขีย ว เส้น ใบตรงตามความยาวขอ กระเปราะสีแ ดง
  • 139. ว่า นสาก เหล็:กลักษณะ  ลัก ษณะ มี คล้ายสาก เป็นท่อนสี ดำาๆ ผิวเป็นร่อง เนือ ้ หน้าตัดเป็นวงๆ  รส : ขมเมา เนื้อ หน้า ตัด  สรรพคุณ : แก้ เป็น วงๆ มดลูกอักเสบ ปลายข้างหนึ่งใหญ่ อีกข้าง ( แก๊ก เล็ก ่ม ้า เหล็ก เจอสาก หนึ่ง : ขี จนมดลูก อักำา แข็ง หัก ผิว เปลือ กสีด เสบ ) ยาก ขมเมา มีลายตามยาว ไม่มีขอ ้ หน้าตัดรอยหักมีสีดำาหรือโอ วัลติน
  • 140. ว่า นกลีบ แรด  ลัก ษณะ : รูปร่าง หน้าตัดเหมือนเนือ้ เผือกทอด  รส : เย็นจืด ( แก๊ก : แรดตอนเย็นจัด จนอาเจียน )  สรรพคุณ : นำ้าลาย เหนียว เนื้อสีแดงเรื่อๆ มีขดกระจายเต็มหน้าตัด อาเจียน ี แก้ คล้ายเผือกทอด • อยูในยาเขียวหอม ่ เปลือกมีสีเขียวดำา ( 2 เพื่อนแท้ = ว่านกลีบแรด,
  • 141. ว่า นชัก มดลูก  ลัก ษณะ : เห็นขอบ นูน ชัดเจน เนือในสีนำ้าตาลอ่อน ้ ขอบมีต า โดยรอบ มีจุดคลำ้ากระจายทั่ว  รส : ฝาดเบือ่  สรรพคุณ : แก้ มดลูกพิการ ( เบื่อชักมดลูกจนมดลูก พิการ ) ื้อ ในสีน ำ้า ตาลอ่อ น มีจ ุด สีแ ดงคลำ้า กระจายไปทั่ว ขอบมีตาโดยรอบ
  • 142. ว่า นนางคำา  ลัก ษณะ : สี เหลืองเข้ม เหมือนทองคำา  รส : ร้อนฝาด เฝือน ่ ( รักฝากฝัง )  สรรพคุณ : แก้ ปวดท้อง แก้
  • 143. ว่า น มหาเมฆ หน้า ตัด เป็น วงสีม ่ว ง เหมือ นเมฆ บนฟ้า  ลัก ษณะ : มีขอบที่ หน้าตัด หน้าตัดเป็น วงๆ สีม่วงๆ เหมือน ท้องฟ้า  รส : ฝาดเฝื่อน  สรรพคุณ : แก้ปวด มดลูก
  • 144. ว่า นร่อ นทอง  ลัก ษณะ : เป็นราก แข็งๆ เป็นท่อนแข็ง มีลายตาม แนวนอน มีไส้สีเหลือง เอามือสะกิด มีลายตัดขวางบ้างและไม่ เป็นระเบียบ หน้าตัดดู จะมีสีเหลือง เหมือนทอง  รส : ปร่า ( หัว ) ( แก๊ก : ร่อนทองในป่าถูก ตำารวจจับกุม )  สรรพคุณ : ช่วยย่อย
  • 145. ว่า นนำ้า  ลัก ษณะ : เป็น ปล้องๆคล้ายตะไคร้ แต่มีขนๆ ตรงข้อ  รส : ร้อนกลิ่นหอม แรง  สรรพคุณ : แก้ ปวดท้อง แน่นจุก เสียด ( แก๊ก : อากาศร้อน ดื่ม นำ้ามาก แล้วปวดท้อง รากคล้า ยกระโปรงซ้อ นกัน จุกเสียด ) มีร ากฝอยแทงออกโดยรอบ • อยูในพิกัดจตุกาลธาตุ ่
  • 146. เหง้า ตะไคร้  ลัก ษณะ : สีนำ้าตาล เทาแห้ง เป็นปล้องๆ มีรากรอบข้อ  รส : ปร่าร้อนขม เป็น ท่อ น มีป ุ่ม รากรอบข้อ  สรรพคุณ : ขับลม ในลำาไส้ ขับปัสสาวะ • พิกัดตรีผลธาตุ เป็นท่อน มีปุ่มราก รอบข้อ มีราก
  • 147. รากไทร ย้อ ย  ลัก ษณะ : มีจุด ขาวๆที่เปลือกราก มีจ ุด ขาวๆที่เ ปลือ กราก  รส : จืด  สรรพคุณ : บำารุงนำ้านม ขับ ปัสสาวะ • อยู่ในพิกัดตรีธาร ทิพย์
  • 148. เปลือ กส้ม โอ  ลัก ษณะ : เปลือก หนา ผิวเปลือก ขรุขระนิดหน่อย สี ออกนำ้าตาล ดมดูมี กลิ่นหอม  รส : ร้อนหอม  สรรพคุณ : แก้ลม วิงเวียน หน้ามืด ตาลาย ร้อนหอม ( นึกถึงเราหา ยาดมส้มโอ มือมาดมแก้ลมวิงเวียน )
  • 149. สี เขีย วๆ เปลือ ก เพกา ปน  ลัก ษณะ : เปลือกไม้มี สีเขียวๆปน  รส : ฝาดเย็นขมเล็ก น้อย  สรรพคุณ : ดับพิษ โลหิต สมานแผล ตำากับ สีเ ขีย วๆปน สุรา ทา พ่นตามตัวสตรี ที่ทนการอยู่ไฟไม่ได้ • รากเพกา อยูในพิกัดตรีสุ ่ คติสมุฎฐาน ( เดื่อ-กา-แค )