SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
อย่างไรบ 
บรรณเท 
อธิบายด 
ซึ่งคำทั้ง 
บ้าง และมี 
ท่านั้น ซึ่ง 
ดังนี้ 
2. คำดังก 
ความแตกต 
ความจริงแล้ 
ล่าวมีกรณีใ 
ต่างกันอย่างไ 
ล้วมีความสำ 
ให้ใช้ไม่เหมื 
ไร ซึ่งหลาย 
าคัญเป็นการ 
อนกัน ปัญ 
ท่านคาดว่า 
แสดงถึงที่ม 
หาจึงเกิดขึ้น 
าเรื่องดังกล่า 
าของการใช้ 
ว่าจะใช้คำ 
าวนี้น่าจะเป็ 
ช้อำนาจแทน 
เหล่านี้กับก 
นเพียงงานส 
กัน ซึ่งจะ 
รณี 
สาร 
ะได้ 
พระราช 
ทางราช 
กฎหมา 
ใช้พระร 
ตั้งแต่มา 
นั้นสามา 
คำ2คำดั 
บัญญัติบริห 
การต่างๆต้อ 
ยเฉพาะหรือ 
ราชบัญญัตินี้ 
าตรา 38 ถึ 
ารถปฏิบัติห 
ังกล่าวข้างต้ 
หารราชการแ 
งถือปฏิบัติ 
หากมีแล้วขั 
บังคับการป 
งมาตรา 4 
น้าที่ได้อยู่แ 
นปรากฏขึ้น 
แผ่นดิน พ.ศ 
เป็นกฎหมา 
ดแย้งกับพร 
ฏิบัติราชกา 
40เกิดขึ้นในก 
แต่เห็นว่าการ 
ครั้งแรกใน 
. 2534 ซึ่งห 
ายแม่บท 
ระราชบัญญั 
ารแทนอยู่ใน 
รณีที่ผู้ใช้อํ 
มอบอำนาจ 
น่วยงาน 
หากไม่มี 
ตินี้ก็ต้อง 
นหมวด 5 
ำนาจเดิม 
ให้ 
บุคคลอื่ 
การมอบ 
นิติศาสต 
อำนาจน 
คณะกร 
นแล้วเป็นก 
อำนาจนี้จะ 
ร์ในขณะนี้ 
นั้นอยู่เพียงแ 
รมการกฤษ 
ารทำให้เกิด 
ะคงมีอยู่ตลอ 
้เป็นสองฝ่าย 
แต่เป็นลักษณ 
ฎีกา ฝ่ายที่ 
ความรวดเร็ 
ดไจนกว่าจ 
ฝ่ายที่ 1 
ณะการกระจ 
2 เห็นว่าเมื่อ 
รวกระจายคว 
จะมีการถอน 
เห็นว่าระ 
จายผู้ใช้อำน 
มอบแล้วเจ 
วามรับผิดชอ 
คืนอำนาจนั้ 
หว่างที่มอบ 
าจความเห็น 
จ้าขอเดิมหม 
บ และสะ 
น 
อำนาจนั้นเจ 
ได้รับการส 
ดอำนาจลง 
ะดวกแก่ประ 
โดยมีความคิ 
จ้าของอำนา 
นับสนุนจาก 
ทันทีเพราะป 
ะชาชน ซึ่งใ 
ดเห็นของนั 
าจเดิมก็ยังคง 
ป้องกันการ 
ใน 
ก 
มี 
ใช้อำนา 
ในขณะน 
ที่ 50 
าจซ้อน อำน 
นี้ยังไม่มีข้อย 
เกิดขึ้นในก 
นาจซ้ำ ฝ่ายนี 
ยุติในเรื่องดัง 
รณีที่ไม่มีผู้ม 
นี้ได้รับการส 
กล่าวการรั 
มาดำรงตำแ 
นับสนุนจาก 
ักษาราชการ 
หน่งและกร 
นักกฎหมาย 
แทน อยู่ใน 
ณีที่มีแต่ไม่อ 
มหาชนในป 
นหมวด 6 ตั้ง 
อาจปฏิบัติรา 
ระเทศไทย 
แต่มาตราที 
าชการได้ ก 
อย่างไรก็ต 
ที่ 41 ถึงมาต 
ฎหมายจึงใ 
ตาม 
รา 
ให้มี 
การรักษา 
‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐ 
าราชการ 
‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐ 
แทน ก 
‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐ 
ารปฏิบัติ 
‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐ 
ราชกา 
‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐ 
ารแทน 
‐‐‐‐‐ 
1.ปฏิบัติราชการแทน 
2. รักษาราชการแทน 
ในหน่วยงา 
และหน้าที 
เหล่านั้นก็ 
การเจ็บป่ว 
ไม่สามารถ 
ความเสียห 
กำหนดให้ 
มักจะมีคำ 
านราชการทุ 
ที่แตกต่างกัน 
เป็นเฉกเช่น 
ยมีกิจส่วนต 
ปฏิบัติงานใ 
หายแก่ 
้มีการมอบอํ 
2 คำ ที่ใช้กั 
กหน่วยงาน 
ในงานหลาย 
มนุษย์ปุถุชน 
ตัว หรือมีคว 
ในหน้าที่ของ 
ำนาจกันได้ 
นคือ 
นั้น ย่อมจะ 
ด้าน แล 
ธรรมดา ที 
วามจำเป็นบ 
ตนได้ ดังนั้ 
ทางราชกา 
ในการมอ 
ะมีผู้ที่มีอำนา 
ละผู้ที่มีอำนา 
ที่ย่อมจะต้อง 
บางอย่างทำใ 
นเพื่อมิให้เกิ 
ารกฎหมายจึ 
บอำนาจนั้น 
าจ 
าจ 
มี 
ให้ 
กิด 
ง 
ก็
ผู้รักษาราชการแทน ซึ่งการรักษาราชการแทนนี้เกิดขึ้นโดยผลของกฎหมายทันที โดยไม่จำเป็นต้องทำ 
เป็นคำสั่งหรือหนังสือแต่งตั้งอีก และเมื่อมีผู้มาดำรงตำแหน่งแล้วหรือมาปฏิบัติหน้าที่ ได้แล้วการรักษา 
ราชการแทนสิ้นสุดลง 
ตัวอย่าง 
การปฏิบัติราชการแทน นายกฯ ใช้ในกรณีที่นายกฯ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อยู่เพียงแต่เพื่อ 
ความเหมาะสมจึงมอบอำนาจให้ผู้อื่นปฏิบัติหน้าที่แทน อยู่ในวรรคห้า ของมาตรา 60 ได้แก่ 
ก. มอบอำนาจให้รองนายกฯ การมอบในกรณีนี้ต้องทำเป็นหนังสือไม่ต้องทำเป็นคำสั่งก็ได้ แต่ 
หากจะทำเป็นคำสั่งก็ใช้ได้เพราะคำสั่งก็เป็นหนังสือเช่นกัน 
ข. มอบอำนาจให้ปลัด อบต. หรือรองปลัด อบต. การมอบในกรณีนี้ต้องทำเป็นคำสั่งอย่าง 
เดียวเท่านั้นและต้องประกาศให้ประชาชนทราบด้วย ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วหากมีรองนายกอยู่ควรมอบให้ 
รองนายกก่อนเว้นแต่ความเหมาะสมเฉพาะกรณีทั้งสองกรณีนี้แม้จะเป็นการมอบอำนาจแต่ผู้รับมอบก็ 
ต้องปฏิบัติตามโดยถือเสมือนเป็นเช่นคำสั่งภายในจะปฏิเสธไม่รับมอบไม่ได้ และใช้คำว่าปฏิบัติราชการ 
แทนการรักษาราชการแทน ใช้ในกรณีที่นายกฯไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ซึ่งหมายความรวมถึงไม่อยู่ 
ด้วย อยู่ในวรรคสองของมาตรา 60 ได้แก่ 
ก. ให้รองนายกฯ รักษาการแทนเป็นลำดับแรก ในกรณีที่มีหลายคนต้องมีคำสั่งแต่งตั้งผู้รักษา 
การตามลำดับ อบต.นั้นซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้อำนวยการกอง หรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่อ 
อย่างอื่นและในกรณีไม่มีตำแหน่งรองปลัดให้นายกฯแต่งตั้งพนักงานส่วนตำบลที่ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่า 
ผู้อำนวยการกอง หรือหัวหน้าส่วนราชการ 
ข. ในกรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง(คือมีตำแหน่งแต่ไม่มีคน) ผู้อำนวยการกอง หรือหัวหน้าส่วน 
ราชการ ให้นายกฯ แต่งตั้งพนักงานส่วนตำบลในกองหรือส่วนราชการนั้น เป็นผู้รักษาราชการแทน หรือ 
จะแต่งตั้งพนักงานส่วนตำบลนอกกองหรือสวนนั้นก็ได้ ในกรณีนี้จะแต่งตั้งได้เฉพาะผู้ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำ 
กว่าผู้อำนวยการกองหรือหัวหน้าส่วนเท่านั้น 
*ข้อสังเกต การรักษาราชการแทนในกรณีผู้อำนวยการกอง หรือหัวหน้าส่วนราชการตามข้อ 
ข. นั้นแตกต่างจากข้อ ก.การรักษาราชการแทนปลัดฯ คือตามประกาศระบุเฉพาะกรณีที่มีตำแหน่งแต่ไม่ 
มีผู้ดำรงตำแหน่งเท่านั้น หากมีผู้ดำรงตำแหน่งแต่ไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ เห็นว่านายกฯจะแต่งตั้งให้ 
ผู้ใดรักษาการก็ได้ แต่หากจะใช้การมอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทน ก็ได้เช่นกัน (และการมอบในกรณี 
นี้อาจเป็นใบลาก็ได้) และตามข้อ ก.และ ข.นั้น ก็มีข้อสังเกตเพิ่มเติมคือ
1. ผู้รักษาราชการแทน มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน 
2. ผู้ปฏิบัติราชการแทน มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งมอบอำนาจหรือมอบหมายและหาก 
โดยตำแหน่งแล้วผู้ซึ่งตนแทน หรือผู้ที่มอบออำนาจหรือมอบหมายเป็นกรรมการใด โดยตำแหน่ง ผู้รักษา 
ราชการแทน และผู้ปฏิบัติราชการแทนก็เป็นกรรมการนั้นด้วยและมีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกันทุก 
ประการไม่ต้องเปลี่ยนคำสั่งแต่งตั้งกรรมการในเรื่องนั้น 
*สำหรับ เฉพาะการรักษาราชการแทน นายกฯ อาจแต่งตั้งพนักงานส่วนตำบลอื่นที่เห็นว่า 
เหมาะสมแตกต่างจากที่ระบุไว้ข้างต้นก็ได้ 
การรักษาการ เกิดขึ้นได้ในสองกรณี 
1. กรณีที่ตำแหน่งพนักงานส่วนตำบลในตำแหน่งอื่นนอกจากตำแหน่งปลัด ฯผู้อำนวยการกอง 
หัวหน้าส่วนราชการ ว่างลง 
2. หรือผู้ดำรงตำแหน่งอื่นตามข้อ 1. ไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ 
ทั้งสองกรณีดังกล่าวข้างต้นหากมิได้มีการกำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการแทนและ 
รักษาการแทน นายกฯ มีอำนาจสั่งให้พนักงานส่วนตำบลที่เห็นสมควรเป็นผู้รักษาการ 
*หากมีการกำหนดหลักเกณฑ์หรือมีคำสั่งภายในกันไว้อย่างไรก็ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์นั้น 
ข้อสังเกต ในกรณีมีตำแหน่งแต่ไม่มีผู้มาดำรงตำแหน่งสำหรับพนักงานส่วนตำบลอื่นตามข้อ 1. ก็ใช้การ 
รักษาการ 
กล่าวโดยสรุปในองค์การบริหารส่วนตำบลแยกพิจารณาออกเป็นสองส่วน 
1. ส่วนผู้บริหาร (นายก อบต.ฯ) ใช้อยู่สามกรณีคือ ปฏิบัติราชการแทน รักษาราชการแทน 
และปฏิบัติหน้าที่แทน 
2. ส่วนพนักงานส่วนตำบลใช้สามกรณีเช่นกันคือ ปฏิบัติราชการแทน รักษาราชการแทนและ 
รักษาการ 
และการรักษาราชการในกรณีผู้อำนวยการกองหรือหัวหน้าส่วนราชการนั้น ใช้ในกรณีไม่มีผู้ 
ดำรงตำแหน่งนั้น และใช้ในกรณีไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ด้วยหรืออาจใช้การมอบอำนาจให้ปฏิบัติ 
ราชการแทนไว้ล่วงหน้าก็ได้ คือการมอบอำนาจโดยทำเป็นหนังสือให้พนักงานส่วนตำบลในกองหรือส่วน 
ราชการนั้น(ใบลาก็ใช้ได้)
การรักษาราชการแทน หมายถึง การให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งหนึ่ง มีอำนาจหน้าที่และ 
รับผิดชอบ ในตำแหน่งอื่นอีกเป็นการชั่วคราว กรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งนั้น หรือมี แต่ไม่อาจปฏิบัติ 
ราชการได้ ให้ผู้รักษาราชการแทน มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน 
การปฏิบัติราชการแทน หมายถึง การมอบอำนาจสั่งการ การอนุมัติ การอนุญาตในเรื่องใด 
เรื่องหนึ่ง ให้แก่ผู้อื่น เป็นผู้ปฏิบัติงานแทนตน โดยต้องทำเป็นหนังสือ (ลายลักษณ์อักษร)เมื่อมีการมอบ 
อำนาจ ผู้รับมอบอำนาจ จะมอบต่อให้ผู้อื่นไม่ได้ ยกเว้น มอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าฯ จะ 
มอบอำนาจต่อไปให้กับรองผู้ว่าฯ ก็ได้ แต่ต้องแจ้งให้ผู้มอบอำนาจทราบหากผู้ว่าฯ จะมอบอำนาจให้ผู้อื่น 
ที่ไม่ใช่ตำแหน่งรองผู้ว่าฯ ให้กระทำได้โดยต้องได้รับความเห็นชอบจาก ผู้มอบอำนาจก่อน 
ผู้รักษาราชการแทน หรือผู้ปฏิบัติราชการแทน มีอำนาจหน้าที่ในคณะกรรมการต่างๆ 
เช่นเดียวกับ ผู้ดำรงตำแหน่ง นั้น ๆ ถ้าตำแหน่งใด ๆ ไม่มีบัญญัติไว้ใน พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการ 
แผ่นดิน พ.ศ. 2534 เช่น ผู้ตรวจราชการ เสมียนตราจังหวัด ปลัดอำเภอ เมื่อไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งนั้น ๆ 
จะให้มีผู้ทำการแทนจะต้องออกคำสั่ง ให้ข้าราชการพลเรือน เป็นผู้ รักษาการในตำแหน่ง 
การพิจารณาจัดลำดับอาวุโสในราชการ ตามที่ ก.พ. เคยกำหนดไว้ มีดังนี้ 
(1) ตำแหน่งเดียวกัน คนมีซีสูงกว่า เป็นผู้มีอาวุโสกว่า 
(2) หากระดับเดียวกัน ผู้ใดได้รับแต่งตั้งในระดับนั้นก่อน ถือว่าอาวุโสกว่า 
(3) หากได้รับแต่งตั้งในระดับนั้น ๆ พร้อมกัน ให้ผู้มีเงินเดือนมากกว่า เป็นผู้มีอาวุโสสูงกว่า 
(4) หากเงินเดือนเท่ากัน ให้ผู้มีอายุราชการมากกว่า เป็นผู้อาวุโสสูงกว่า 
(5) หากอายุราชการเท่ากัน ให้พิจารณาจากเครื่องราชฯ 
(6) หากเครื่องราชฯ เท่ากัน ให้ดูอายุ ใครแก่กว่า อาวุโสกว่า 
มีปัญหาสงสัยคาใจกันมานานกับคำว่า "ปฏิบัติราชการแทน" และคำว่า "รักษาราชการแทน" 
ตามที่บัญญัติไว้ในหมวด 4 และหมวด 5 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ 
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ว่าในโอกาสใดจะใช้คำว่า "ปฏิบัติราชการแทน" และในโอกาสใดจะใช้ 
คำว่า "รักษาราชการแทน" ซึ่งปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสับสนในการปฏิบัติราชการอยู่มิใช่น้อย 
คำว่า "ปฏิบัติราชการแทน" หมายถึง การที่ผู้บังคับบัญชามอบอำนาจในการบริหารราชการ 
ให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติราชการแทน ไม่ว่าจะเป็นการสั่งการ การอนุญาต การมอบอำนาจให้ปฏิบัติ
ราชการแทน เป็นเรื่องของการกระจายความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อให้งานของราชการมี 
ความคล่องตัวสามารถให้บริการสนองตอบต่อประชาชนผู้ใช้บริการได้อย่างรวดเร็วลดขั้นตอนการ 
ปฏิบัติงาน และทำให้งานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น ผู้อำนวยการสถานศึกษาเห็นว่าตนมีภารกิจที่จะต้อง 
ทำอยู่เป็นอันมาก จึงต้องมอบอำนาจให้รองผู้อำนวยการสถานศึกษาปฏิบัติราชการแทนในเรื่องบางเรื่อง 
เช่น การอนุมัติการลา หรือการเบิกเงินสวัสดิการต่างๆ เป็นต้น 
ในการมอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทนดังกล่าว จะต้องทำเป็นหนังสือแสดงการมอบอำนาจว่า 
ให้ปฏิบัติราชการแทนในเรื่องใด และที่สำคัญแม้ว่าผู้มอบอำนาจจะได้มอบอำนาจของตนให้ผู้อื่นปฏิบัติ 
ราชการแทนแล้วก็ตาม แต่ผู้มอบอำนาจก็ยังคงต้องรับผิดชอบในการติดตามตรวจสอบ ดูแล และแก้ไข 
การปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจให้เป็นไปโดยถูกต้องอยู่เสมอมิเช่นนั้นแล้วผู้มอบอำนาจก็ยังคง 
ต้องรับผิดจากความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการที่ผู้รับมอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทนได้ก่อให้เกิดขึ้น 
สำหรับคำว่า "การรักษาราชการแทน" นั้นหมายถึง กรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง 
หรือมีแต่ไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจ ได้มีการแต่งตั้งให้บุคคลใดบุคคลหนึ่ง 
ตามที่กฎหมายกำหนดเข้าไปรักษาราชการแทนในตำแหน่งนั้น เช่น กรณีในสถานศึกษาที่ไม่มีผู้ดำรง 
ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ กฎหมายกำหนดให้รองผู้อำนวยการ 
สถานศึกษาเป็นผู้รักษาราชการแทน แต่ถ้าไม่มีรองผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ 
ราชการได้ ก็ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งข้าราชการในสถานศึกษาคนใดคนหนึ่ง 
เป็นผู้รักษาราชการแทนได้ จะเห็นได้ว่าการเข้าไปรักษาราชการแทนดังกล่าว เป็นการเข้าไปกระทำการ 
ในตำแหน่งแทนผู้ทรงอำนาจในขณะที่ผู้ทรงอำนาจนั้นไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ซึ่งการ 
เข้าไปกระทำการแทนในลักษณะดังกล่าวนั้น ทำให้ผู้ที่เข้าไปกระทำการแทนมีอำนาจและหน้าที่ใน 
ตำแหน่งนั้นเสมือนกับผู้ทรงอำนาจซึ่งตนแทนทุกประการ 
มีข้อที่น่าสังเกตอีกประการหนึ่งคือว่า ในการรักษาราชการแทนดังกล่าวนั้น จะต้องเป็นไปตามที่ 
กฎหมายกำหนดหรือได้รับการแต่งตั้งจากผู้มีอำนาจให้รักษาราชการแทน จึงจะทำให้ผู้นั้นมีอำนาจ 
เช่นเดียวกันกับผู้ทรงอำนาจที่ตนเข้าไปแทน มิเช่นนั้นแล้วการเข้าไปรักษาราชการแทนดังกล่าว แม้ว่าจะ 
เป็นการรักษาประโยชน์ของทางราชการก็ตาม การกระทำนั้นย่อมไม่มีผลผูกพันตามกฎหมาย อย่างไรก็ 
ตาม ไม่ว่าจะเป็นการ "ปฏิบัติราชการแทน" หรือการ "รักษาราชการแทน"ย่อมล้วนแล้วแต่เป็นการเข้าไป 
ใช้อำนาจของรัฐในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 25511.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551วายุ วรเลิศ
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...chaiwat vichianchai
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)ประพันธ์ เวารัมย์
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
การทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียนการทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียนSuthee Saritsiri
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อแนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อประพันธ์ เวารัมย์
 

La actualidad más candente (20)

1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 25511.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบความลับ
แนวข้อสอบความลับแนวข้อสอบความลับ
แนวข้อสอบความลับ
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
 
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
 
งานสารบรรณ
งานสารบรรณงานสารบรรณ
งานสารบรรณ
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษรวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ
 
แนวข้อสอบภาค ก กทม.
แนวข้อสอบภาค ก กทม.แนวข้อสอบภาค ก กทม.
แนวข้อสอบภาค ก กทม.
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
 
การทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียนการทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียน
 
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อแนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อ
 

Más de Wiroj Suknongbueng

ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับโควต้าและวงเงินเลื่อนขั้นเงินเดือน อปท
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับโควต้าและวงเงินเลื่อนขั้นเงินเดือน อปทประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับโควต้าและวงเงินเลื่อนขั้นเงินเดือน อปท
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับโควต้าและวงเงินเลื่อนขั้นเงินเดือน อปทWiroj Suknongbueng
 
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการอุทธรณ์ อปท
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการอุทธรณ์ อปทประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการอุทธรณ์ อปท
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการอุทธรณ์ อปทWiroj Suknongbueng
 
มาตรฐานเกี่ยวกับวินัยของ อปท.
มาตรฐานเกี่ยวกับวินัยของ อปท.มาตรฐานเกี่ยวกับวินัยของ อปท.
มาตรฐานเกี่ยวกับวินัยของ อปท.Wiroj Suknongbueng
 
1 คำภีร์การบริหารงานบุคคลในระบบแท่ง-1-ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการย้ายของ อปท-1
1 คำภีร์การบริหารงานบุคคลในระบบแท่ง-1-ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการย้ายของ อปท-11 คำภีร์การบริหารงานบุคคลในระบบแท่ง-1-ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการย้ายของ อปท-1
1 คำภีร์การบริหารงานบุคคลในระบบแท่ง-1-ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการย้ายของ อปท-1Wiroj Suknongbueng
 
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการให้ออกจากราชการ อปท-
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการให้ออกจากราชการ อปท-ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการให้ออกจากราชการ อปท-
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการให้ออกจากราชการ อปท-Wiroj Suknongbueng
 
การให้ข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้าง และพนักงานจ้าง อปท.ได้รับเงินเพิ่...
การให้ข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้าง และพนักงานจ้าง อปท.ได้รับเงินเพิ่...การให้ข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้าง และพนักงานจ้าง อปท.ได้รับเงินเพิ่...
การให้ข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้าง และพนักงานจ้าง อปท.ได้รับเงินเพิ่...Wiroj Suknongbueng
 
อุปสมบทหมู่
อุปสมบทหมู่อุปสมบทหมู่
อุปสมบทหมู่Wiroj Suknongbueng
 
เบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่น
เบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่นเบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่น
เบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่นWiroj Suknongbueng
 
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...Wiroj Suknongbueng
 
งานวันเข้าพรรษา
งานวันเข้าพรรษางานวันเข้าพรรษา
งานวันเข้าพรรษาWiroj Suknongbueng
 
งานประเพณีทางศาสนา
งานประเพณีทางศาสนางานประเพณีทางศาสนา
งานประเพณีทางศาสนาWiroj Suknongbueng
 
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการWiroj Suknongbueng
 
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการWiroj Suknongbueng
 
ค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬา
ค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬาค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬา
ค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬาWiroj Suknongbueng
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานWiroj Suknongbueng
 
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคลการประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคลWiroj Suknongbueng
 
การช่วยเหลือประชาชน
การช่วยเหลือประชาชนการช่วยเหลือประชาชน
การช่วยเหลือประชาชนWiroj Suknongbueng
 
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุการจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุWiroj Suknongbueng
 
การจัดงานต่างๆ
การจัดงานต่างๆการจัดงานต่างๆ
การจัดงานต่างๆWiroj Suknongbueng
 

Más de Wiroj Suknongbueng (20)

ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับโควต้าและวงเงินเลื่อนขั้นเงินเดือน อปท
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับโควต้าและวงเงินเลื่อนขั้นเงินเดือน อปทประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับโควต้าและวงเงินเลื่อนขั้นเงินเดือน อปท
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับโควต้าและวงเงินเลื่อนขั้นเงินเดือน อปท
 
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการอุทธรณ์ อปท
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการอุทธรณ์ อปทประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการอุทธรณ์ อปท
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการอุทธรณ์ อปท
 
มาตรฐานเกี่ยวกับวินัยของ อปท.
มาตรฐานเกี่ยวกับวินัยของ อปท.มาตรฐานเกี่ยวกับวินัยของ อปท.
มาตรฐานเกี่ยวกับวินัยของ อปท.
 
1 คำภีร์การบริหารงานบุคคลในระบบแท่ง-1-ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการย้ายของ อปท-1
1 คำภีร์การบริหารงานบุคคลในระบบแท่ง-1-ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการย้ายของ อปท-11 คำภีร์การบริหารงานบุคคลในระบบแท่ง-1-ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการย้ายของ อปท-1
1 คำภีร์การบริหารงานบุคคลในระบบแท่ง-1-ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการย้ายของ อปท-1
 
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการให้ออกจากราชการ อปท-
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการให้ออกจากราชการ อปท-ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการให้ออกจากราชการ อปท-
ประกาศ-มาตรฐานเกี่ยวกับการให้ออกจากราชการ อปท-
 
Untitled
UntitledUntitled
Untitled
 
การให้ข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้าง และพนักงานจ้าง อปท.ได้รับเงินเพิ่...
การให้ข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้าง และพนักงานจ้าง อปท.ได้รับเงินเพิ่...การให้ข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้าง และพนักงานจ้าง อปท.ได้รับเงินเพิ่...
การให้ข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้าง และพนักงานจ้าง อปท.ได้รับเงินเพิ่...
 
อุปสมบทหมู่
อุปสมบทหมู่อุปสมบทหมู่
อุปสมบทหมู่
 
เบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่น
เบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่นเบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่น
เบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่น
 
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มท 080...
 
งานวันเข้าพรรษา
งานวันเข้าพรรษางานวันเข้าพรรษา
งานวันเข้าพรรษา
 
งานประเพณีทางศาสนา
งานประเพณีทางศาสนางานประเพณีทางศาสนา
งานประเพณีทางศาสนา
 
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
 
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
 
ค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬา
ค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬาค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬา
ค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬา
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
 
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคลการประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
 
การช่วยเหลือประชาชน
การช่วยเหลือประชาชนการช่วยเหลือประชาชน
การช่วยเหลือประชาชน
 
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุการจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
 
การจัดงานต่างๆ
การจัดงานต่างๆการจัดงานต่างๆ
การจัดงานต่างๆ
 

การรักษาราชการแทน และการปฏิบัติราชการแทน

  • 1. อย่างไรบ บรรณเท อธิบายด ซึ่งคำทั้ง บ้าง และมี ท่านั้น ซึ่ง ดังนี้ 2. คำดังก ความแตกต ความจริงแล้ ล่าวมีกรณีใ ต่างกันอย่างไ ล้วมีความสำ ให้ใช้ไม่เหมื ไร ซึ่งหลาย าคัญเป็นการ อนกัน ปัญ ท่านคาดว่า แสดงถึงที่ม หาจึงเกิดขึ้น าเรื่องดังกล่า าของการใช้ ว่าจะใช้คำ าวนี้น่าจะเป็ ช้อำนาจแทน เหล่านี้กับก นเพียงงานส กัน ซึ่งจะ รณี สาร ะได้ พระราช ทางราช กฎหมา ใช้พระร ตั้งแต่มา นั้นสามา คำ2คำดั บัญญัติบริห การต่างๆต้อ ยเฉพาะหรือ ราชบัญญัตินี้ าตรา 38 ถึ ารถปฏิบัติห ังกล่าวข้างต้ หารราชการแ งถือปฏิบัติ หากมีแล้วขั บังคับการป งมาตรา 4 น้าที่ได้อยู่แ นปรากฏขึ้น แผ่นดิน พ.ศ เป็นกฎหมา ดแย้งกับพร ฏิบัติราชกา 40เกิดขึ้นในก แต่เห็นว่าการ ครั้งแรกใน . 2534 ซึ่งห ายแม่บท ระราชบัญญั ารแทนอยู่ใน รณีที่ผู้ใช้อํ มอบอำนาจ น่วยงาน หากไม่มี ตินี้ก็ต้อง นหมวด 5 ำนาจเดิม ให้ บุคคลอื่ การมอบ นิติศาสต อำนาจน คณะกร นแล้วเป็นก อำนาจนี้จะ ร์ในขณะนี้ นั้นอยู่เพียงแ รมการกฤษ ารทำให้เกิด ะคงมีอยู่ตลอ ้เป็นสองฝ่าย แต่เป็นลักษณ ฎีกา ฝ่ายที่ ความรวดเร็ ดไจนกว่าจ ฝ่ายที่ 1 ณะการกระจ 2 เห็นว่าเมื่อ รวกระจายคว จะมีการถอน เห็นว่าระ จายผู้ใช้อำน มอบแล้วเจ วามรับผิดชอ คืนอำนาจนั้ หว่างที่มอบ าจความเห็น จ้าขอเดิมหม บ และสะ น อำนาจนั้นเจ ได้รับการส ดอำนาจลง ะดวกแก่ประ โดยมีความคิ จ้าของอำนา นับสนุนจาก ทันทีเพราะป ะชาชน ซึ่งใ ดเห็นของนั าจเดิมก็ยังคง ป้องกันการ ใน ก มี ใช้อำนา ในขณะน ที่ 50 าจซ้อน อำน นี้ยังไม่มีข้อย เกิดขึ้นในก นาจซ้ำ ฝ่ายนี ยุติในเรื่องดัง รณีที่ไม่มีผู้ม นี้ได้รับการส กล่าวการรั มาดำรงตำแ นับสนุนจาก ักษาราชการ หน่งและกร นักกฎหมาย แทน อยู่ใน ณีที่มีแต่ไม่อ มหาชนในป นหมวด 6 ตั้ง อาจปฏิบัติรา ระเทศไทย แต่มาตราที าชการได้ ก อย่างไรก็ต ที่ 41 ถึงมาต ฎหมายจึงใ ตาม รา ให้มี การรักษา ‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐ าราชการ ‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐ แทน ก ‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐ ารปฏิบัติ ‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐ ราชกา ‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐ ารแทน ‐‐‐‐‐ 1.ปฏิบัติราชการแทน 2. รักษาราชการแทน ในหน่วยงา และหน้าที เหล่านั้นก็ การเจ็บป่ว ไม่สามารถ ความเสียห กำหนดให้ มักจะมีคำ านราชการทุ ที่แตกต่างกัน เป็นเฉกเช่น ยมีกิจส่วนต ปฏิบัติงานใ หายแก่ ้มีการมอบอํ 2 คำ ที่ใช้กั กหน่วยงาน ในงานหลาย มนุษย์ปุถุชน ตัว หรือมีคว ในหน้าที่ของ ำนาจกันได้ นคือ นั้น ย่อมจะ ด้าน แล ธรรมดา ที วามจำเป็นบ ตนได้ ดังนั้ ทางราชกา ในการมอ ะมีผู้ที่มีอำนา ละผู้ที่มีอำนา ที่ย่อมจะต้อง บางอย่างทำใ นเพื่อมิให้เกิ ารกฎหมายจึ บอำนาจนั้น าจ าจ มี ให้ กิด ง ก็
  • 2. ผู้รักษาราชการแทน ซึ่งการรักษาราชการแทนนี้เกิดขึ้นโดยผลของกฎหมายทันที โดยไม่จำเป็นต้องทำ เป็นคำสั่งหรือหนังสือแต่งตั้งอีก และเมื่อมีผู้มาดำรงตำแหน่งแล้วหรือมาปฏิบัติหน้าที่ ได้แล้วการรักษา ราชการแทนสิ้นสุดลง ตัวอย่าง การปฏิบัติราชการแทน นายกฯ ใช้ในกรณีที่นายกฯ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อยู่เพียงแต่เพื่อ ความเหมาะสมจึงมอบอำนาจให้ผู้อื่นปฏิบัติหน้าที่แทน อยู่ในวรรคห้า ของมาตรา 60 ได้แก่ ก. มอบอำนาจให้รองนายกฯ การมอบในกรณีนี้ต้องทำเป็นหนังสือไม่ต้องทำเป็นคำสั่งก็ได้ แต่ หากจะทำเป็นคำสั่งก็ใช้ได้เพราะคำสั่งก็เป็นหนังสือเช่นกัน ข. มอบอำนาจให้ปลัด อบต. หรือรองปลัด อบต. การมอบในกรณีนี้ต้องทำเป็นคำสั่งอย่าง เดียวเท่านั้นและต้องประกาศให้ประชาชนทราบด้วย ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วหากมีรองนายกอยู่ควรมอบให้ รองนายกก่อนเว้นแต่ความเหมาะสมเฉพาะกรณีทั้งสองกรณีนี้แม้จะเป็นการมอบอำนาจแต่ผู้รับมอบก็ ต้องปฏิบัติตามโดยถือเสมือนเป็นเช่นคำสั่งภายในจะปฏิเสธไม่รับมอบไม่ได้ และใช้คำว่าปฏิบัติราชการ แทนการรักษาราชการแทน ใช้ในกรณีที่นายกฯไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ซึ่งหมายความรวมถึงไม่อยู่ ด้วย อยู่ในวรรคสองของมาตรา 60 ได้แก่ ก. ให้รองนายกฯ รักษาการแทนเป็นลำดับแรก ในกรณีที่มีหลายคนต้องมีคำสั่งแต่งตั้งผู้รักษา การตามลำดับ อบต.นั้นซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้อำนวยการกอง หรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่อ อย่างอื่นและในกรณีไม่มีตำแหน่งรองปลัดให้นายกฯแต่งตั้งพนักงานส่วนตำบลที่ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่า ผู้อำนวยการกอง หรือหัวหน้าส่วนราชการ ข. ในกรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง(คือมีตำแหน่งแต่ไม่มีคน) ผู้อำนวยการกอง หรือหัวหน้าส่วน ราชการ ให้นายกฯ แต่งตั้งพนักงานส่วนตำบลในกองหรือส่วนราชการนั้น เป็นผู้รักษาราชการแทน หรือ จะแต่งตั้งพนักงานส่วนตำบลนอกกองหรือสวนนั้นก็ได้ ในกรณีนี้จะแต่งตั้งได้เฉพาะผู้ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำ กว่าผู้อำนวยการกองหรือหัวหน้าส่วนเท่านั้น *ข้อสังเกต การรักษาราชการแทนในกรณีผู้อำนวยการกอง หรือหัวหน้าส่วนราชการตามข้อ ข. นั้นแตกต่างจากข้อ ก.การรักษาราชการแทนปลัดฯ คือตามประกาศระบุเฉพาะกรณีที่มีตำแหน่งแต่ไม่ มีผู้ดำรงตำแหน่งเท่านั้น หากมีผู้ดำรงตำแหน่งแต่ไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ เห็นว่านายกฯจะแต่งตั้งให้ ผู้ใดรักษาการก็ได้ แต่หากจะใช้การมอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทน ก็ได้เช่นกัน (และการมอบในกรณี นี้อาจเป็นใบลาก็ได้) และตามข้อ ก.และ ข.นั้น ก็มีข้อสังเกตเพิ่มเติมคือ
  • 3. 1. ผู้รักษาราชการแทน มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน 2. ผู้ปฏิบัติราชการแทน มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งมอบอำนาจหรือมอบหมายและหาก โดยตำแหน่งแล้วผู้ซึ่งตนแทน หรือผู้ที่มอบออำนาจหรือมอบหมายเป็นกรรมการใด โดยตำแหน่ง ผู้รักษา ราชการแทน และผู้ปฏิบัติราชการแทนก็เป็นกรรมการนั้นด้วยและมีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกันทุก ประการไม่ต้องเปลี่ยนคำสั่งแต่งตั้งกรรมการในเรื่องนั้น *สำหรับ เฉพาะการรักษาราชการแทน นายกฯ อาจแต่งตั้งพนักงานส่วนตำบลอื่นที่เห็นว่า เหมาะสมแตกต่างจากที่ระบุไว้ข้างต้นก็ได้ การรักษาการ เกิดขึ้นได้ในสองกรณี 1. กรณีที่ตำแหน่งพนักงานส่วนตำบลในตำแหน่งอื่นนอกจากตำแหน่งปลัด ฯผู้อำนวยการกอง หัวหน้าส่วนราชการ ว่างลง 2. หรือผู้ดำรงตำแหน่งอื่นตามข้อ 1. ไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ ทั้งสองกรณีดังกล่าวข้างต้นหากมิได้มีการกำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการแทนและ รักษาการแทน นายกฯ มีอำนาจสั่งให้พนักงานส่วนตำบลที่เห็นสมควรเป็นผู้รักษาการ *หากมีการกำหนดหลักเกณฑ์หรือมีคำสั่งภายในกันไว้อย่างไรก็ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์นั้น ข้อสังเกต ในกรณีมีตำแหน่งแต่ไม่มีผู้มาดำรงตำแหน่งสำหรับพนักงานส่วนตำบลอื่นตามข้อ 1. ก็ใช้การ รักษาการ กล่าวโดยสรุปในองค์การบริหารส่วนตำบลแยกพิจารณาออกเป็นสองส่วน 1. ส่วนผู้บริหาร (นายก อบต.ฯ) ใช้อยู่สามกรณีคือ ปฏิบัติราชการแทน รักษาราชการแทน และปฏิบัติหน้าที่แทน 2. ส่วนพนักงานส่วนตำบลใช้สามกรณีเช่นกันคือ ปฏิบัติราชการแทน รักษาราชการแทนและ รักษาการ และการรักษาราชการในกรณีผู้อำนวยการกองหรือหัวหน้าส่วนราชการนั้น ใช้ในกรณีไม่มีผู้ ดำรงตำแหน่งนั้น และใช้ในกรณีไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ด้วยหรืออาจใช้การมอบอำนาจให้ปฏิบัติ ราชการแทนไว้ล่วงหน้าก็ได้ คือการมอบอำนาจโดยทำเป็นหนังสือให้พนักงานส่วนตำบลในกองหรือส่วน ราชการนั้น(ใบลาก็ใช้ได้)
  • 4. การรักษาราชการแทน หมายถึง การให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งหนึ่ง มีอำนาจหน้าที่และ รับผิดชอบ ในตำแหน่งอื่นอีกเป็นการชั่วคราว กรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งนั้น หรือมี แต่ไม่อาจปฏิบัติ ราชการได้ ให้ผู้รักษาราชการแทน มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน การปฏิบัติราชการแทน หมายถึง การมอบอำนาจสั่งการ การอนุมัติ การอนุญาตในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง ให้แก่ผู้อื่น เป็นผู้ปฏิบัติงานแทนตน โดยต้องทำเป็นหนังสือ (ลายลักษณ์อักษร)เมื่อมีการมอบ อำนาจ ผู้รับมอบอำนาจ จะมอบต่อให้ผู้อื่นไม่ได้ ยกเว้น มอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าฯ จะ มอบอำนาจต่อไปให้กับรองผู้ว่าฯ ก็ได้ แต่ต้องแจ้งให้ผู้มอบอำนาจทราบหากผู้ว่าฯ จะมอบอำนาจให้ผู้อื่น ที่ไม่ใช่ตำแหน่งรองผู้ว่าฯ ให้กระทำได้โดยต้องได้รับความเห็นชอบจาก ผู้มอบอำนาจก่อน ผู้รักษาราชการแทน หรือผู้ปฏิบัติราชการแทน มีอำนาจหน้าที่ในคณะกรรมการต่างๆ เช่นเดียวกับ ผู้ดำรงตำแหน่ง นั้น ๆ ถ้าตำแหน่งใด ๆ ไม่มีบัญญัติไว้ใน พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการ แผ่นดิน พ.ศ. 2534 เช่น ผู้ตรวจราชการ เสมียนตราจังหวัด ปลัดอำเภอ เมื่อไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งนั้น ๆ จะให้มีผู้ทำการแทนจะต้องออกคำสั่ง ให้ข้าราชการพลเรือน เป็นผู้ รักษาการในตำแหน่ง การพิจารณาจัดลำดับอาวุโสในราชการ ตามที่ ก.พ. เคยกำหนดไว้ มีดังนี้ (1) ตำแหน่งเดียวกัน คนมีซีสูงกว่า เป็นผู้มีอาวุโสกว่า (2) หากระดับเดียวกัน ผู้ใดได้รับแต่งตั้งในระดับนั้นก่อน ถือว่าอาวุโสกว่า (3) หากได้รับแต่งตั้งในระดับนั้น ๆ พร้อมกัน ให้ผู้มีเงินเดือนมากกว่า เป็นผู้มีอาวุโสสูงกว่า (4) หากเงินเดือนเท่ากัน ให้ผู้มีอายุราชการมากกว่า เป็นผู้อาวุโสสูงกว่า (5) หากอายุราชการเท่ากัน ให้พิจารณาจากเครื่องราชฯ (6) หากเครื่องราชฯ เท่ากัน ให้ดูอายุ ใครแก่กว่า อาวุโสกว่า มีปัญหาสงสัยคาใจกันมานานกับคำว่า "ปฏิบัติราชการแทน" และคำว่า "รักษาราชการแทน" ตามที่บัญญัติไว้ในหมวด 4 และหมวด 5 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ว่าในโอกาสใดจะใช้คำว่า "ปฏิบัติราชการแทน" และในโอกาสใดจะใช้ คำว่า "รักษาราชการแทน" ซึ่งปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสับสนในการปฏิบัติราชการอยู่มิใช่น้อย คำว่า "ปฏิบัติราชการแทน" หมายถึง การที่ผู้บังคับบัญชามอบอำนาจในการบริหารราชการ ให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติราชการแทน ไม่ว่าจะเป็นการสั่งการ การอนุญาต การมอบอำนาจให้ปฏิบัติ
  • 5. ราชการแทน เป็นเรื่องของการกระจายความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อให้งานของราชการมี ความคล่องตัวสามารถให้บริการสนองตอบต่อประชาชนผู้ใช้บริการได้อย่างรวดเร็วลดขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน และทำให้งานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น ผู้อำนวยการสถานศึกษาเห็นว่าตนมีภารกิจที่จะต้อง ทำอยู่เป็นอันมาก จึงต้องมอบอำนาจให้รองผู้อำนวยการสถานศึกษาปฏิบัติราชการแทนในเรื่องบางเรื่อง เช่น การอนุมัติการลา หรือการเบิกเงินสวัสดิการต่างๆ เป็นต้น ในการมอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทนดังกล่าว จะต้องทำเป็นหนังสือแสดงการมอบอำนาจว่า ให้ปฏิบัติราชการแทนในเรื่องใด และที่สำคัญแม้ว่าผู้มอบอำนาจจะได้มอบอำนาจของตนให้ผู้อื่นปฏิบัติ ราชการแทนแล้วก็ตาม แต่ผู้มอบอำนาจก็ยังคงต้องรับผิดชอบในการติดตามตรวจสอบ ดูแล และแก้ไข การปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจให้เป็นไปโดยถูกต้องอยู่เสมอมิเช่นนั้นแล้วผู้มอบอำนาจก็ยังคง ต้องรับผิดจากความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการที่ผู้รับมอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทนได้ก่อให้เกิดขึ้น สำหรับคำว่า "การรักษาราชการแทน" นั้นหมายถึง กรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง หรือมีแต่ไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจ ได้มีการแต่งตั้งให้บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ตามที่กฎหมายกำหนดเข้าไปรักษาราชการแทนในตำแหน่งนั้น เช่น กรณีในสถานศึกษาที่ไม่มีผู้ดำรง ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ กฎหมายกำหนดให้รองผู้อำนวยการ สถานศึกษาเป็นผู้รักษาราชการแทน แต่ถ้าไม่มีรองผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ ราชการได้ ก็ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งข้าราชการในสถานศึกษาคนใดคนหนึ่ง เป็นผู้รักษาราชการแทนได้ จะเห็นได้ว่าการเข้าไปรักษาราชการแทนดังกล่าว เป็นการเข้าไปกระทำการ ในตำแหน่งแทนผู้ทรงอำนาจในขณะที่ผู้ทรงอำนาจนั้นไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ซึ่งการ เข้าไปกระทำการแทนในลักษณะดังกล่าวนั้น ทำให้ผู้ที่เข้าไปกระทำการแทนมีอำนาจและหน้าที่ใน ตำแหน่งนั้นเสมือนกับผู้ทรงอำนาจซึ่งตนแทนทุกประการ มีข้อที่น่าสังเกตอีกประการหนึ่งคือว่า ในการรักษาราชการแทนดังกล่าวนั้น จะต้องเป็นไปตามที่ กฎหมายกำหนดหรือได้รับการแต่งตั้งจากผู้มีอำนาจให้รักษาราชการแทน จึงจะทำให้ผู้นั้นมีอำนาจ เช่นเดียวกันกับผู้ทรงอำนาจที่ตนเข้าไปแทน มิเช่นนั้นแล้วการเข้าไปรักษาราชการแทนดังกล่าว แม้ว่าจะ เป็นการรักษาประโยชน์ของทางราชการก็ตาม การกระทำนั้นย่อมไม่มีผลผูกพันตามกฎหมาย อย่างไรก็ ตาม ไม่ว่าจะเป็นการ "ปฏิบัติราชการแทน" หรือการ "รักษาราชการแทน"ย่อมล้วนแล้วแต่เป็นการเข้าไป ใช้อำนาจของรัฐในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ