SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 91
ทักษะดิจิทัลสำหรับกำรปฏิบัติงำนในยุคดิจิทัล
Digital Skills for Working in The Digital Age
ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
Facebook.com/TouchPointTH
TouchPoint.in.th
Youtube.com/TouchPointTH
ประกำศนียบัตรที่รับรองควำมรู้และทักษะดิจิทัล
Digital Literacy Certificate (IC3)
ประกาศนียบัตรที่รับรองความรู้และทักษะดิจิทัล ในการใช้โปรแกรมสานักงานและ
อินเทอร์เน็ตพื้นฐาน ฮาร์ดแวร์ซอฟต์แวร์ การจัดการกับระบบเครือข่าย และความ
ปลอดภัยในการใช้อินเทอร์เน็ต เป็นความสามารถพื้นฐานของโลกปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์
Computer
เครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ ใช้วิธีทางคณิตศาสตร์
ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์สามารถทางานคานวณผล
และเปรียบเทียบค่าตามชุดคาสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่อง
และอัตโนมัติ
ชนิดของคอมพิวเตอร์
Type of Computer
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
PersonalComputer:PC
โน้ตบุ๊ค / แล็ปท็อป
Notebook/ Laptop
แท็บเล็ต
Tablet
สมำร์ทโฟน
Smart Phone
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
Personal Computer: PC
ประมวลผลข้อมูลรวดเร็วโดยทั่วไปใช้กับธุรกิจขนาดเล็ก
ใช้ที่โรงเรียนหรือที่บ้านออกแบบมาเพื่อให้รองรับการ
เชื่อมต่อแบบไร้สายสาหรับการสื่อสารข้อมูลและการเข้าถึง
อินเทอร์เน็ต
โน้ตบุ๊ค / แล็ปท็อป
Notebook / Laptop
มีขนาดเล็กสะดวกสาหรับการพกพามากกว่าPC ออกแบบมา
เพื่อให้รองรับการเชื่อมต่อแบบไร้สายสาหรับการสื่อสารข้อมูล
และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
แท็บเล็ต
Personal Computer: PC
มีความสะดวกสาหรับการพกพาและการเชื่อมต่อข้อมูลมี
หน้าจอระบบสัมผัสเพื่อการป้อนข้อมูลโดยใช้นิ้วมือปากกา
หรือแป้นพิมพ์ที่อยู่ภายในเครื่อง(Built-inKeyboard)
สมำร์ทโฟน
Smart Phone
ปัจจุบันถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์อีกชนิดหนึ่งที่มีขนาดเล็ก
พกพาง่ายมีความสามารถหลายอย่างเช่น ฟังเพลง
ถ่ายรูปอัดวิดีโอส่งข้อความอีเมลใช้งานอินเทอร์เน็ตใช้
ระบบนาทาง(GPS)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Components of Computer
คอมพิวเตอร์ทางานอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย
องค์ประกอบย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะ ทางานประสาน
สัมพันธ์กัน เพื่อให้งานบรรลุตามเป้าหมายใน
ระบบงานคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย
ฮำร์ดแวร์
Hardware
ซอฟต์แวร์
Software
ข้อมูล / สำรสนเทศ
Data/ Information
บุคลำกร
Peopleware
ฮำร์ดแวร์
Hardware
ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบของตัวเครื่องที่สามารถจับต้องได้ได้แก่ วงจรไฟฟ้า ตัวเครื่อง จอภาพ เครื่องพิมพ์ คีย์บอร์ด เป็นต้น
สามารถแบ่งส่วนพื้นฐานของฮาร์ดแวร์เป็น 4 หน่วยสาคัญ
หน่วยรับข้อมูล
Input Unit
หน่วยประมวลผล
ProcessingUnit
หน่วยเก็บข้อมูล
StorageUnit
หน่วยแสดงผล
Output Unit
CPU
หน่วยรับข้อมูล
Input Unit
ทาหน้าที่รับข้อมูล หรือ คาสั่งต่างๆจากผู้ใช้ผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะถูกส่งเข้าไปทาการประมวลผลต่อไป
เช่น ผ่านแป้นพิมพ์ เมาส์ ปากกาแสงก้านควบคุม เครื่องอ่านบาร์โค้ด
แป้นพิมพ์
Keyboard
เม้ำส์แบบแสง
Optical Mouse
แผ่นรองสัมผัส
Touch Pad
แท่งชี้ควบคุม
Pointing Stick
จอยสติ๊ก
Joystick
พวงมำลัย
บังคับทิศทำง
Wheel
หน่วยรับข้อมูล
Input Unit
ทาหน้าที่รับข้อมูล หรือ คาสั่งต่างๆจากผู้ใช้ผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะถูกส่งเข้าไปทาการประมวลผลต่อไป
เช่น ผ่านแป้นพิมพ์ เมาส์ ปากกาแสงก้านควบคุม เครื่องอ่านบาร์โค้ด
อุปกรณ์จับควำม
เคลื่อนไหวจำกท่ำทำง
LeapMotion
เครื่องเล่นเกม Wii
WiiGame Console
จอสัมผัส
Touch Screen
เครื่องอ่ำนพิกัด
Digitizer
ไคเนค
Kinect
สไตลัส
Stylus
หน่วยรับข้อมูล
Input Unit
ทาหน้าที่รับข้อมูล หรือ คาสั่งต่างๆจากผู้ใช้ผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะถูกส่งเข้าไปทาการประมวลผลต่อไป
เช่น ผ่านแป้นพิมพ์ เมาส์ ปากกาแสงก้านควบคุม เครื่องอ่านบาร์โค้ด
เครื่องอ่ำนรหัส
บำร์โค้ด
Barcode Reader
เว็บแคม
WebCam
เครื่องสแกนข้อมูล
ทำงกำยภำพ
Physical Data
Scanner
ไมโครโฟน
Microphone
เครื่องตรวจ
กระดำษคำตอบ
Optical Mark
Reader: OMR
เครื่องสแกนภำพ
Scanner
หน่วยประมวลผล
Processing Unit
เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ประมวลผล ทาให้คอมพิวเตอร์ได้ปฏิบัติตามคาสั่งของมนุษย์ได้
หน่วยประมวลผลกลำง
หรือซีพียู
Central Processing Unit:
CPU
หน่วยควำมจำหลัก
Primary Memory
หน่วยประมวลผลกรำฟิก
Graphics Processing
Unit: GPU
เมนบอร์ด
Mainboard
ชิปเซ็ต
Chipset
หน่วยประมวลผลกลำงหรือซีพียู
Central Processing Unit: CPU
เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ประมวลผลในคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่ควบคุมการทางานและประมวลผลข้อมูล ตามคาสั่งของโปรแกรมยิ่งมีความเร็วมาก
ยิ่งประมวลผลเร็ว เพื่อให้ทันกับโปรแกรมสมัยใหม่ที่มีความซับซ้อนและกินกาลังเครื่องมากขึ้น
6 MHz = 6,000,000/ Sec
2 GHz = 2,000,000,000 /Sec
ความเร็วของ CPU จะถูกควบคุมโดยสัญญาณนาฬิกา (System Clock) มีหน่วยเป็นเฮิร์ตซ
(Hertz: Hz) นับเป็นจานวนครั้งใน 1 วินาที เช่น
MHz (Megahertz) = 1,000,000 ครั้ง / วินาที
GHz (Gigahertz)= 1,000,000,000 ครั้ง / วินาที
หน่วยควำมจำหลัก
Primary Memory
อุปกรณ์ประมวลผลจะไม่สามารถทางานได้หากไม่มีหน่วยความจาสาหรับเก็บข้อมูลหรือชุดคาสั่ง หากพื้นที่เก็บมีขนาดไม่เพียงพอ
จะทาให้การประมวลผลช้าลงไปด้วยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
หน่วยควำมจำแบบรอม
Read OnlyMemory:ROM
หน่วยควำมจำแบบแรม
RAM : RandomAccessMemory
หน่วยควำมจำแบบรอม
ReadOnly Memory:ROM
เป็นหน่วยความจาที่ไม่จาเป็นต้องมีกระแสไฟฟ้าเลี้ยง ส่วนใหญ่
จะอ่านข้อมูลอย่างเดียวและติดตั้งไว้เพื่อเก็บโปรแกรมประจา
เครื่อง เช่น ไบออส (BasicInput Output System: BIOS) หรือ
Firmwareซึ่งถูกติดตั้งถาวรในกระบวนการผลิต
หน่วยควำมจำแบบแรม
Random AccessMemory:RAM
เป็นหน่วยความจาที่อาศัยกระแสไฟฟ้าในการทางานเพื่อไม่ให้ข้อมูล
สูญหาย ถูกใช้เป็นพื้นที่พักข้อมูลและโปรแกรมในระหว่างการทางาน
ของ CPU เมื่อทางานเสร็จแล้วจะนาข้อมูลออกไปไว้ที่ฮาร์ดดิสก์ ปัจจุบัน
ใช้แรมชนิด DDR5 ปัจจุบันมีหน่วยเป็นกิกะไบต์ (Gigabyte : GB) เช่น
4 GB, 8 GB, 16 GB เป็นต้น ควรติดตั้งให้มากที่สุดตามที่งบประมาณ
มี เพราะแนวโน้มซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่ต้องใช้หน่วยความจามากขึ้น
หน่วยประมวลผลกรำฟิก
Graphics Processing Unit: GPU
หน่วยประมวลผลด้านกราฟิกทั้ง 2 และ 3 มิติ เพื่อแบ่งเบาการทางาน
ของ CPU มีแบบการ์ดจอออนบอร์ดและการ์ดจอแยก
เมนบอร์ด
Mainboard
เป็นแผงวงจรที่ต่อเชื่อมอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการทางานของ
คอมพิวเตอร์ทั้งหมด เป็นตัวกาหนดว่าจะใช้ซีพียูอะไรสามารถรองรับ
อุปกรณ์ใหม่ๆ ได้หรือไม่
ชิปเซ็ต
Chipset
เป็นอุปกรณ์ที่ถูกติดตั้งบนเมนบอร์ดถอดเปลี่ยนไม่ได้ ทาหน้าที่
ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ บนเมนบอร์ด เป็นตัวกลางประสานงานและ
ควบคุมการทางานของหน่วยความจา รวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงทั้ง
ภายในหรือภายนอกทุกชนิดตามคาสั่งของซีพียู
หน่วยเก็บข้อมูล
Storage Unit
เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่จัดเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมไว้เพื่อใช้งานในอนาคต เนื่องจากข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทางานจะอยู่ใน RAM
เมื่อปิดเครื่องข้อมูลจะสูญหายไปหมด เมื่อต้องการใช้ข้อมูลหรือโปรแกรมเดิมอีกครั้ง CPU ก็จะอ่านข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูล
เข้าสู่ RAM เพื่อประมวลผลได้อีก
ฮำร์ดดิสก์
Hard Disk
ฮำร์ดดิสก์ภำยนอก
ExternalHard Disk
โซลิดสเตตไดรฟ์
SolidStateDrive: SSD
เอ็มดอททู
M.2
หน่วยเก็บข้อมูล
Storage Unit
เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่จัดเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมไว้เพื่อใช้งานในอนาคต เนื่องจากข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทางานจะอยู่ใน RAM
เมื่อปิดเครื่องข้อมูลจะสูญหายไปหมด เมื่อต้องการใช้ข้อมูลหรือโปรแกรมเดิมอีกครั้ง CPU ก็จะอ่านข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูล
เข้าสู่ RAM เพื่อประมวลผลได้อีก
แผ่นซีดี/ดีวีดี
CD/DVD
บลูเรย์
Blue-rayDisc: BD
แฟลชไดรฟ์
FlashDrive
เอสดีกำร์ด
Secure DigitalCard: SDCard
หน่วยแสดงผล
Output Unit
ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ผ่านการประมวลผล โดยแปลงผลลัพธ์จากสัญญาณไฟฟ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กลายเป็น
รูปแบบที่มนุษย์เข้าใจ เช่น ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ รูปภาพภาพเคลื่อนไหวและเสียง เป็นต้น
ลำโพง
Speaker
จอภำพ
Monitor
หูฟัง
Headphone
โปรเจคเตอร์
Projector
เครื่องพิมพ์ 3 มิติ
3D Printer
อุปกรณ์ปรินท์งำน
Printer
ซอฟต์เเวร์
Software
กลุ่มของชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ตามที่ต้องการ ผู้ที่เขียนชุดคาสั่งนี้ขึ้นมาเราเรียกว่า
นักเขียนโปรแกรม (Programmer) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ซอฟต์เเวร์ระบบ
SystemSoftware
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ApplicationSoftware
ซอฟต์เเวร์ระบบ
System Software
ทาหน้าที่ติดต่อควบคุม และสั่งการให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความสอดคล้อง
กันให้มากที่สุด รวมถึงการบารุงรักษาระบบตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีการใช้งานได้ยาวนานขึ้นซอฟต์แวร์ระบบ
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ระบบปฏิบัติกำร
Operating System
โปรแกรมอรรถประโยชน์
UtilityProgram
วินโดวส์ แอนดรอยด์
Android
ไอโอเอส
iOS
ลินุกซ์
Linux
อูบุนตู
Ubuntu
ระบบปฏิบัติกำร
Operating System
ชุดโปรแกรมที่อยู่ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์มีหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์และสนับสนุนคาสั่งสาหรับ
ควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ให้กับซอฟต์แวร์ประยุกต์ตัวอย่างระบบปฏิบัติการ เช่น
Windows
โปรแกรมอรรถประโยชน์
Utility Program
โปรแกรมที่ช่วยอานวยความสะดวกต่างๆ ในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทาให้คอมพิวเตอร์ทางานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
กำรลบทิ้งโปรแกรม
Uninstaller
กำรสแกนดิสก์
Disk Scanner
กำรจัดเรียงพื้นที่เก็บ
ข้อมูล
Disk Defragmenter
โปรแกรมป้องกันไวรัส
Antivirus Program
กำรจัดกำรไฟล์
FileManager
โปรแกรมบีบอัดไฟล์
FileCompression
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
Application Software
เป็นซอฟต์แวร์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระบบ ผู้ใช้จาเป็นต้องเลือก
ซอฟต์แวร์ให้ตรงตามความต้องการใช้งานเช่น การจัดพิมพ์รายงาน
การนาเสนองาน การจัดทาบัญชี การตกแต่งภาพหรือการออกแบบ
เว็บไซต์ ซึ่งอาจต้องคานึงถึงงบประมาณในการจัดหามาใช้ด้วย มีทั้ง
แบบใช้งานฟรีและมีค่าใช้จ่าย
ไมโครซอฟต์ 365
Microsoft 365
เป็นผลิตภัณฑ์ของ Microsoft ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์เพื่อการทางาน
บนคลาวด์ มีค่าบริการเป็นรายเดือนหรือรายปีและสามารถ
เลือกประเภทตามที่เหมาะสมกับการใช้งานของผู้ใช้งานได้
ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ
Word Processing
เป็นกลุ่มของโปรแกรมที่ช่วยในการประมวลผลคา สามารถ
จัดการเอกสารต่างๆ ได้ เช่น ขนาดตัวอักษรใหญ่/เล็ก
รูปแบบตัวอักษร การสร้างตาราง การใส่รูปภาพในเอกสาร
ซึ่งอาจะเป็นไฟล์ภาพทั่วไป หรือภาพที่โปรแกรมมีไว้ให้อยู่แล้ว
อย่างคลิปอาร์ต (Clip Art) เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ตำรำงคำนวณ
Spreadsheet
เป็นกลุ่มของซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับการคานวณต่างๆ ในหน้าต่าง
การทางานจะมีหน่วยเล็กที่สุดเรียกว่า เซลล์ (Cell) มีลักษณะเป็นช่อง
ตาราง โดยสามารถกาหนดค่าต่างๆ ให้กับแต่ละเซลล์ได้ เช่น
กาหนดให้ข้อความในเซลล์นั้นเป็นตัวเลขทั่วไป วันที่ หรือเป็นสูตร
คานวณต่างๆ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์นำเสนองำน
Presentation
เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในเรื่องของการนาเสนองานเป็นหลัก
สามารถใส่ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร รูปภาพตลอดจน
ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ หรือเสียงต่างๆ รวมถึงเทคนิคการ
นาเสนอให้มีความสวยงามและน่าสนใจ ปนาเสนอผ่าน
จอภาพในรูปแบบต่างๆ เช่น จอโน้ตบุ๊ค แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน
หรือบนฉากรับภาพผ่านทางเครื่องโปรเจคเตอร์ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์นำเสนองำน
Presentation
การประมวลผลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลจานวนมากๆ
จาเป็นต้องใช้ซอฟต์แวร์ที่มีความสามารถในการสร้างและ
รวบรวมข้อมูลต่างๆ ให้อยู่เป็นระบบมากยิ่งขึ้นโปรแกรม
ประเภทฐานข้อมูลจะช่วยให้สามารถเรียกใช้ข้อมูลได้โดยง่าย
รวมทั้งการเพิ่ม ลบ แก้ไขปรับปรุงรายการต่างๆ หรือการ
จัดเรียงข้อมูล ก็ทาได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว
ไมโครซอฟต์ฟอร์ม
Microsoft Forms
เป็นซอฟต์แวร์สร้างแบบฟอร์มออนไลน์ สร้างแบบสอบถาม
สร้างข้อสอบ ได้แบบง่ายๆ มีรายงานสรุปให้อีกด้วย อีกทั้งยัง
สามารถนาเอานาข้อมูลไปใช้งานต่อในรูปแบบของ Excel ได้
ไมโครซอฟต์ทีม
Microsoft Teams
เป็นซอฟต์แวร์สาหรับการประชุมออนไลน์ การเรียนการสอน การ
ทางานร่วมกันแบบเรียลไทม์ การแบ่งปันไฟล์ สามารถแชร์หน้าจอ เปิด
ไมค์โครโฟน เปิดกล้อง กาหนดค่า ตั้งสิทธิ์ในการใช้งานกันได้ เหมาะ
สาหรับการทางานในยุค New Normal ที่อาจจะต้องรักษาระยะห่างกัน
และยังสามารถใช้ได้ทั้ง คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน
ไมโครซอฟต์เอำท์ลุค
Microsoft Outlook
เป็นซอฟต์แวร์สาหรับจัดการอีเมล สามารถบันทึกรายชื่อผู้ที่
เราติดต่อเพื่อความสะดวกในการส่งเมล์ถึงกัน บริหาร
จัดการเวลา การจดบันทึกและนัดหมายต่างๆ อย่างมี
ประสิทธิภาพและเชื่อมต่อกับเครือข่ายส่วนบุคคลและธุรกิจได้
ตลอดเวลา
ไมโครซอฟต์ปฏิทิน
Microsoft Calendar
เป็นซอฟต์แวร์สาหรับนัดหมาย จัดการตารางงาน ตาราง
การประชุม ที่สามารถทาได้บนเบราว์เซอร์ และศิงค์เข้ากับ
ปฏิทินในคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตได้
ไมโครซอฟต์พำวเวอร์บีไอ
Microsoft Power BI
เป็นซอฟต์แวร์สาหรับวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจ สร้างรายงาน สร้าง
แดชบอร์ดได้อย่างน่าสนใจ สามารถอัพเดตได้ทันที ผู้ใช้สามารถดู
ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตได้ โดยเลือกคลิก
เพื่อดูข้อมูลในมุมที่ต้องการ สามารถเชื่อมต่อแหล่งข้อมูล (Data
Source) ที่เป็นที่นิยมมากมาย
ไมโครซอฟต์สตรีม
Microsoft Stream
เป็นซอฟต์แวร์บริการวิดีโอสาหรับองค์กร ที่ผู้ใช้ในองค์กรสามารถ
อัปโหลด รับชม และแชร์วิดีโอได้อย่างปลอดภัย ผู้ใช้สามารถแชร์การ
บันทึกการเรียนการสอน การประชุม การฝึกอบรม หรือวิดีโออื่นๆ และ
แสดงความคิดเห็นได้
ไมโครซอฟต์สเวย์
Microsoft Sway
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สร้างเว็บไซต์โดยไม่ต้องเขียนโค้ด ผู้ใช้เพียง
จัดเลย์เอาท์ให้สวยงาม และสามารถแชร์ต่อไปเปิดกับ
อุปกรณ์ต่างๆ ได้แบบ Responsive
ไมโครซอฟต์แชร์พอยต์
Microsoft SharePoint
เป็นซอฟต์แวร์สาหรับการจัดการและแบ่งปันเนื้อหา ความรู้
แอปพลิเคชั่น การค้นหาข้อมูลอย่างรวดเร็ว เพื่อการทางาน
ร่วมกันในองค์กร
ซอฟต์แวร์สำหรับท่องเว็บ
Browser
เป็นซอฟต์แวร์สาหรับเรียกดูข้อมูลบนเว็บไซต์ที่เผยแพร่อยู่ใน
อินเทอร์เน็ต มีคุณสมบัติต่างๆ สาหรับการเรียกดูเว็บเพจได้ดี
ปัจจุบันมีบริษัทผู้ผลิตบราวเซอร์ออกมาหลายตัว เพื่อรองรับ
การใช้งานทั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์พกพา
ซอฟต์แวร์จัดประชุมทำงไกล
Video Conference
เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อช่วยให้การประชุมแบบทางไกล
เป็นไปอย่างสะดวก มีคุณสมบัติที่ช่วยงาน ได้หลายด้านเช่น การ
เชิญสมาชิกเข้าร่วมประชุม การลงคะแนนเสียง บันทึกการประชุม
และนัดหมาย แชร์ไฟล์เอกสารถึงผู้เข้าร่วมประชุมทุกคน รวมถึง
แชร์หน้าจอ
ซอฟต์แวร์ประเภทส่งข้อควำมด่วน
Instant Messaging
ใช้ส่งข้อความออนไลน์โต้ตอบระหว่างกันได้ทันที สามารถส่ง
ข้อความ ภาพ หรือเสียงถึงผู้รับที่ต้องการได้แบบส่วนตัว หรือ ใช้
งานแบบกลุ่มก็ได้ นอกจากนี้ยังโทรคุยผ่านโปรแกรม หรือสนทนา
แบบเห็นหน้ากันด้วยวิดีโอ (Video Calling)สามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ในการประชุมกลุ่มย่อยๆ ได้อีกด้วย
ซอฟต์แวร์สำหรับถ่ำยโอนไฟล์
File Transfer
ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต เช่น โปรแกรม
Cute_FTP และ FileZillaเป็นต้น เหมาะสาหรับงาน
พัฒนาและดูแลเว็บไซต์ที่จาเป็นต้องส่งข้อมูลขึ้นไปเก็บไว้
บนอินเทอร์เน็ตเพื่อให้บริการกับผู้เข้ามาเยี่ยมชมเว็บ
ซอฟต์แวร์สำหรับงำนออกแบบ
Computer Aided Design: CAD
ในวงการออกแบบนั้นจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องหาซอฟต์แวร์มาช่วย
สาหรับการออกแบบแผนผัง การออกแบบและตกแต่งบ้านรวมถึง
การจัดองค์ประกอบอื่นๆ ที่จาเป็น ความสามารถของซอฟต์แวร์
กลุ่มนี้ส่วนใหญ่จึงเป็นเสมือนผู้ช่วยในการออกแบบงานด้าน
วิศวกรรม สถาปัตยกรรม รวมถึงงานทางด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีมีความคล่องตัวมากขึ้น
อะโดบีโฟโต้ช็อป
Adobe Photoshop
เป็นโปรแกรมสาหรับปรับแต่งแก้ไขรูปภาพอย่างมืออาชีพ
สามารถรีทัช ตกแต่ง ใส่เอฟเฟ็กต์ต่างๆ ให้กับรูปภาพและ
ตัวหนังสือการทาภาพวาดให้เป็นภาพเขียน รวมถึงใช้ในการ
วาดภาพได้อีกด้วย
อะโดบีอิลลัสเตรเตอร์
Adobe Illustrator
เป็นโปรแกรมสร้างงานกราฟิกแนวเวกเตอร์ นิยมนามาใช้ออกบบโลโก้
สร้างภาพประกอบเนื้อหา และใช้สร้างสื่ออินโฟกราฟิก แบบมืออาชีพ
อะโดบีอินดีไซน์
Adobe Indesign
เป็นโปรแกรมสาหรับงานสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น หนังสือ
นิตยสาร วารสาร โบร์ชัวร์ หรือแผ่นพับ แบบมืออาชีพ และยังรองรับ
การทางานกับกราฟิกแนวเวกเตอร์ได้เป็นอย่างดี
อะโดบีอะโครแบท
Adobe Acrobat
เป็นโปรแกรมสาหรับการจัดการเอกสารในรูปแบบ PDF ที่
ครบครันมากที่สุด สามารถรวมไฟล์ PDF หลายๆ ไฟล์ไว้
เป็นชุดเดียวกันได้ ทาเอกสารดิจิทัล รวมถึงการแปลงไฟล์
PDF เป็นเอกสารที่ทางานร่วมกับ Microsoft 365 ได้
อะโดบีอะโครแบท
Adobe Acrobat
เป็นโปรแกรมสาหรับการจัดการเอกสารในรูปแบบ PDF ที่
ครบครันมากที่สุด สามารถรวมไฟล์ PDF หลายๆ ไฟล์ไว้
เป็นชุดเดียวกันได้ ทาเอกสารดิจิทัล รวมถึงการแปลงไฟล์
PDF เป็นเอกสารที่ทางานร่วมกับ Microsoft 365 ได้
อะโดบีพรีเมียร์โปร
Adobe Premiere Pro
เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อวิดีโอ สามารถตัดต่อวิดีโอ ใส่เอฟเฟกต์
เพิ่มลูกเล่นให้วิดีโอน่าสนใจ และสามารถส่งออกไปยังสื่อออนไลน์
ช่องทางต่างๆ ได้ เช่น YouTube และ TikTok เป็นต้น
อะโดบีอำฟเตอร์เอฟเฟกต์
Adobe After Effects
เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างภาพเคลื่อนไหว นิยมใช้สร้างสื่อ
ภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic) ทาแอนิเมชั่น 2 มิติ
รวมถึงทาเอฟเฟกต์ประกอบวิดีโอได้อีกด้วย
อะโดบีออดิชั่น
Adobe Audition
เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างสื่อเสียง สามารถบันทึกเสียง
ปรับแต่งเสียง ลดเสียงรบกวน เหมาะสาหรับการสร้างเสียง
พอดแคสต์
บุคลำกร
Peopleware
บุคลากรเป็นส่วนสาคัญ หากบุคลากรไม่มีความรู้ความเข้าใจในระบบคอมพิวเตอร์ดีพอ อาจจะทาให้การใช้งานไม่มีประสิทธิภาพ
หรือไม่ได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมายแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มด้วยกัน
ผู้ใช้งำนทั่วไป
User/ EndUser
ผู้เชี่ยวชำญ
Expert
ผู้บริหำร
Administrator
ไม่จาเป็นต้องมีความชานาญมากนักก็สามารถใช้งานได้ โดย
ศึกษาจากคู่มือการใช้งานโปรแกรม หรือศึกษาจาก YouTube
เป็นต้นมีจานวนมากในสานักงาน เช่น งานธุรการสานักงาน งาน
ป้อนข้อมูลงานบริการลูกค้าสัมพันธ์ (CallCenter)เป็นต้น
เป็นบุคลากรที่มีความชานาญทางเทคนิคเฉพาะด้าน
เช่น ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์นักวิเคราะห์ระบบนักเขียน
โปรแกรม วิศวกรซอฟต์แวร์ ผู้ดูแลระบบเครือข่าย
เป็นผู้กาหนดทิศทางนโยบาย และแผนงานทาง
คอมพิวเตอร์ในองค์กรทั้งหมดดูแลและกากับงาน
ทางด้านคอมพิวเตอร์
ข้อมูลและสำรสนเทศ
Data and Information
ข้อมูล (Data) เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอย่างหนึ่ง อาจอยู่ใน
ลักษณะของตัวอักษร รูปภาพตัวเลข และเสียง ก็ได้ การทางาน
ของคอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องกับข้อมูล ตั้งแต่การนาข้อมูลเข้า
และประมวลผลจนกลายเป็นข้อมูลที่สามารถใช้ประโยชน์ต่อได้
หรือที่เรียกว่า สารสนเทศ (Information)
Bit : บิต Single Binary Digit (0 หรือ 1)
Byte : ไบต์ 8 Bits
Kilobyte (KB) : กิโลไบต์ 1,024 Byte
Megabyte (MB) : เมกะไบต์ 1,024 Kilobyte
Gigabyte (GB) : กิกะไบต์ 1,024 Megabyte
Terabyte (TB) : เทระไบต์ 1,024 Gigabyte
Petabyte (PB) : เพตะไบต์ 1,024 Terabyte
Exabyte (EB) : เอกซะไบต์ 1,024 Petabyte
Zettabyte (ZB) : เซตตะไบต์ 1,024 Exabyte
Yottabyte (YB) : ยอตตะไบต์ 1,024 Zettabyte
ข้อมูลและสำรสนเทศ
Data and Information
คอมพิวเตอร์จะสามารถเข้าใจข้อมูลได้เมื่อมีการแปลงให้อยู่ใน
ระบบเลขฐานสองเท่านั้น ดังนั้นเมื่อมีความจุข้อมูล จึงถูกอ้างอิง
โดยใช้ระบบเลขฐานสองเป็นหลักและมีหน่วยเป็นไบต์ (Byte) ซึ่ง
อาจเทียบเท่าตัวอักษร 1 ตัว แต่ในการทางานจริงนั้น
คอมพิวเตอร์จะคิดคานวณหน่วยความจุออกมาเป็นจานวนมาก
ดังนั้นจึงมีการกาหนดหน่วยวัดความจุข้อมูลที่ใหญ่ขึ้นมาอีก
อินเทอร์เน็ต
Internet
เสมือนที่รวมข้อมูลมหาศาล ทั้งข้อความ ภาพเสียง วีดีโอโปรแกรม และอื่นๆ
นอกจากนี้ยังเป็นช่องทางติดต่อสื่อสารกันด้วยข้อมูลต่างๆ ได้สะดวกรวดเร็ว
ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทั้งโลกเข้าด้วยกันให้สามารถรับส่งข้อมูลกันได้
ผู้ให้บริกำรอินเทอร์เน็ต
Internet Service Provider (ISP)
เป็นหน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ให้เราสามารถ
ใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ มีหน่วยงานที่ให้บริการ 2 ประเภทด้วยกัน ได้แก่
ให้บริกำรอินเทอร์เน็ตเชิง
พำณิชย์
CommercialISP
ผู้ให้บริกำรอินเทอร์เน็ตสำหรับ
สถำบันกำรศึกษำ กำรวิจัยและ
หน่วยงำนของรัฐ
CommercialISP
โปรโตคอล
Protocol
การทางานต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตจะสอดคล้องกันได้ก็ต้องมีกติกาที่ทุกเครื่อง ทุกโปรแกรมรับรู้และทาตามเป็นมาตรฐาน
เดียวกันทั่วโลก ซึ่งบนอินเทอร์เน็ตมีกติกาเหล่านี้มากมายสาหรับแต่ละเรื่อง เรียกว่า โปรโตคอล(Protocol) ที่สาคัญ ได้แก่
ทีซีพี/ไอพี กับ ไอพีแอดเดรส
TCP/IPand IP Address
โปรโตคอลของเว็บ
HTTP
ทีซีพี/ไอพี กับ ไอพีแอดเดรส
TCP/IP and IP Address
TCP/IP (TransmissionControl Protocol/Internet Protocol)
เป็นกติกาหลักในการรับส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ข้อมูลทุกรูปแบบ
ไม่ว่าจากโปรแกรมใดก็ต้องแปลงให้อยู่ในมาตรฐานของTCP/IP
ก่อนจึงจะรับส่งได้
ทีซีพี/ไอพี กับ ไอพีแอดเดรส
TCP/IP and IP Address
IP Address เป็นการเรียกชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อกับ
อินเทอร์เน็ต ซึ่งเวอร์ชั่นที่ใช้กันมายาวนานคือ IPv4 แต่
ปัจจุบันอุปกรณ์ดิจิทัลมีเพิ่มมากขึ้น หมายเลขไอพีจึงไม่
เพียงพอต่อการใช้งานจึงได้มีการพัฒนา IPv6 ขึ้นมาใช้
ต่อจากหมายเลข IPv4 ที่หมดไป
IPv6
1990
1980
1970 2000 2010 2012
IPv4 IPv6
IPv4 appears in :
1980– Internet’s dawn
Developed : 1995
Standardized : 1998
Launched : 2012
ไอพีเวอร์ชั่น 4
IPv4
เป็นตัวเลขฐาน2 จานวน 32 บิต แต่เพื่อให้ใช้งานง่ายจึง
จดจากันในรูปแบบเลขฐาน 10 โดยแบ่งเป็น 4 ชุดแต่ละชุด
คั่นด้วยเครื่องหมาย “.” มีค่าระหว่าง0-255 เช่น
202.56.159.90 ซึ่งสามารถตั้งชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
ราว 4 พันล้านหมายเลขโดยไม่ซ้ากัน
เป็นตัวเลขฐาน2 จานวน 128 บิต โดยแปลงเป็นตัวเลขฐาน
16 แบ่งเป็น 8 ชุด แต่ละชุดคั่นด้วยเครื่องหมาย “:” เช่น
2001:0db8:0100:f101:0210:a4ff:fee3:9566 IPv6 ทา
ให้รองรับหมายเลข IP Address ได้มากกว่าราว 340 ล้าน
ล้านล้านล้านล้านล้านหมายเลข
ไอพีเวอร์ชั่น 6
IPv6
ชื่อโดเมน
Domain Name
เนื่องจากผู้ใช้ทั่วไปจะรู้สึกกว่า IP Address นั้นจายาก จึงมีการคิดระบบ “ชื่อโดเมน” หรือ Domainname ขึ้นมาโดยใช้ภาษาอังกฤษ
เป็นคาๆ ซึ่งสื่อความหมายได้ นามาเรียงต่อโดยคั่นแต่ละคาด้วยจุด (.) เช่น TouchPoint.in.thหรือ facebook.com เป็นต้น
TouchPoint.in.th
27.254.33.64
facebook.com
157.240.22.35
2a03:2880:f12a:0083:face:b00c:0000:25de
ดีเอ็นเอส และดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์
DNS and DNS Server
IP Address มีระบบแปลงชื่อที่เรียกว่า DomainName System (DNS) เข้ามาช่วย
โดยแต่ละISP จะมี DNS Server ทาหน้าที่เก็บข้อมูลว่าเครื่องชื่อนั้นๆ มี IP Address
อะไร เมื่อจะเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเข้ากับ ISP แต่ละราย อาจจะต้องระบุหมายเลข IP
Address ของเครื่องที่เป็น DNS Server ตามที่ ISP นั้นกาหนดมาให้ถูกต้องด้วย
(ในทางปฏิบัติโปรแกรมจะช่วยกาหนดให้โดยอัตโนมัติ)
TouchPoint.in.th
27.254.33.64
โปรโตคอลของเว็บ
Web Protocols
เป็นโปรโตคอลหรือชุดของกฎการสื่อสารสาหรับการสื่อสารClientServer
เมื่อเราเข้าสู่เว็บไซต์ เบราว์เซอร์จะส่งคาขอ HTTP ไปยังเว็บเซิร์ฟเวอร์ แล้วเว็บเซิร์ฟเวอร์และเบราว์เซอร์จะแลกเปลี่ยนข้อมูล
เป็นข้อความธรรมดา
HTTP
Hyper TextTransfer Protocol
HTTPS
HypertextTransfer Protocolover Secure
SocketLayer หรือ Httpover SSL
HTTP
Hyper Text Transfer Protocol
โปรโตคอลที่ใช้เรียกดูข้อมูลจากเว็บจะเรียกว่า HTTP (Hyper Text Transfer
Protocol) โดยระบุในช่อง Address สาหรับกรอกที่อยู่หรือชื่อเว็บของ
โปรแกรมเบราวเซอร์เป็น http:// นาหน้าชื่อเครื่องที่จะเรียกดูข้อมูล เช่น
http://TouchPoint.in.th แต่ปกติหากไม่ใส่หรือไม่ระบุเป็นอย่างอื่น
บราวเซอร์ก็จะคิดแทนให้ว่าเป็น http:// อยู่แล้ว
http://TouchPoint.in.th
HTTPS
Hypertext Transfer Protocol over Secure Socket Layer
HTTPS (Hypertext Transfer Protocol over Secure Socket Layer หรือ HTTP over SSL) คือการเพิ่ม S หรือ Secure เข้ามาเพิ่ม
ความปลอดภัยให้มากขึ้นโดย HTTPS จะเป็น โปรโตคอลที่เข้ารหัสในการสื่อสารโดยใช้ AsymmetricAlgorithmเช่น
https://TouchPoint.in.th/
https://TouchPoint.in.th
นำมสกุลโดเมนเนม
Domain Name Extension
ชื่อโดเมนจะมีอักษรย่อที่บ่งบอกถึงประเภทของเว็บไซต์นั้นได้ เรียกว่า โดเมนระดับบนสุด (TLD : Top Level Domain)
แบ่งกลุ่มของโดเมนเป็น 2 หมวด ได้แก่
ชื่อโดเมนระดับบนสุดแบบทั่วไป
Generic Top-Level Domain:gTLD
ชื่อโดเมนระดับบนสุดแบบบ่งบอกประเทศ
CountryCodeTop-Level Domain:ccTLD
ชื่อโดเมนระดับบนสุดแบบทั่วไป
Generic Top-Level Domain: gTLD
.com บริษัท องค์กร ธุรกิจพณิชยกรรม (Commercial)
.net บริษัทที่ให้บริการด้านเครือข่าย (Network)
.edu หน่วยงานทางการศึกษา (Education)
.job เว็บไซต์เกี่ยวกับการจ้างและจัดหางาน (Job)
.info สาหรับเว็บไซต์ที่ให้ข้อมูลต่างๆ (Information)
.org องค์กรที่ไม่หวังผลกาไร (Organization)
ชื่อโดเมนระดับบนสุดแบบบ่งบอกประเทศ
Country Code Top-Level Domain: ccTLD
.th
ประเทศไทย
.us
ประเทศสหรัฐอเมริกำ
.jp
ประเทศญี่ปุ่น
.uk
ประเทศอังกฤษ
โดเมนลำดับที่สอง
Second Level Domain
หมวดหมู่ย่อยของโดเมนระดับบนสุดสาหรับประเทศไทย
ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
.in.th บุคคลทั่วไป (Individual)
.co.th นิติบุคคล ห้างหุ้นส่วน บริษัท ห้างร้าน (Company)
.ac.th สถาบันการศึกษา โรงเรียน มหาวิทยาลัย (Academic)
.go.th หน่วยงานราชการ (Government)
.mi.th สาหรับหน่วยงานทางทหาร (Military Thailand)
.or.th มูลนิธิที่ไม่หวังผลกาไร (Non-profit Organization)
เว็บไซต์
TCP/IP and IP Address
ข้อมูลทั้งหมดที่จัดให้เรียกดูเป็นเว็บได้จะเรียกว่า เว็บไซต์ (Website)
แต่ละหน้าที่เปิดเข้าไปดูได้จะเรียกว่าเว็บเพจ (Web Page)
หน้าแรกของเว็บไซต์เรียกว่า โฮมเพจ (Home Page) ซึ่งจะมีลิงก์ไปยังหน้าอื่นๆ ในไซต์นั้นอีกทีหนึ่ง
HomePage
Web Page
Website
ยูอำร์แอล
Uniform Resource Locator: URL
การจะให้บราวเซอร์ไปเรียกดูเว็บเพจจากที่ใด้ก็ต้องระบุ 3 ส่วนหลักๆ ได้แก่
โปรโตคอล
HTTP
HTTPS
ชื่อโดเมน
ส่วนนี้อาจใส่
IP Address แทนได้
ชื่อไฟล์เว็บเพจ
เช่น .htm,.html,.php,.jpg
รวมถึงชื่อไดเร็คทอรีที่เก็บไฟล์
เอกสารเว็บ
ยูอำร์แอล
Uniform Resource Locator: URL
ทั้งหมดนี้เมื่อรวมกันจะถูกกาหนดให้มีรูปแบบเดียวจึงเรียกว่า Uniform ResourceLocator หรือ URL ดังนั้นแต่ละเว็บเพจ
ในโลกนี้ก็จะต้องมี URL ของตัวเองที่ไม่ซ้ากัน สาหรับให้ผู้ใช้ระบุเพื่อเรียกดูเว็บเพจนั้นๆ ได้
https://www.touchpoint.in.th/training/online-marketing/schedule.html
โปรโตคอลHTTP ชื่อโดเมน
ประเภท in คือ ส่วนบุคคล (Individual) ประเทศไทย (th)
ชื่อไดเร็คทอรี่ ชื่อไดเร็คทอรี่ย่อย
ชื่อไฟล์และนามสกุล
ภำษำของเว็บ
Web Language
ภาษาที่ใช้ในการจัดหน้าเว็บเพจเรียกว่า HTML (Hyper Text MarkupLanguage) มีนามสกุล .htm หรือ .htmlปัจจุบันผู้ใช้ไม่จาเป็นต้อง
เขียนคาสั่งภาษา HTML เอง สามารถใช้โปรแกรมช่วยออกแบบเว็บแทน เช่น Dreamweaver และ Google Web Designer เป็นต้น
เอชทีเอ็มแอลห้ำ
HTML5
ปัจจุบันภาษาของเว็บใช้ HTML5 ทาให้เกิดเว็บไซต์รูปแบบใหม่ที่มี
ลูกเล่นมากมาย โดยโปรแกรมเว็บบราวเซอร์เวอร์ชั่นที่ใช้นั้นจะต้อง
รองรับ HTML5 ด้วย
โปรโตคอลสำหรับถ่ำยโอนไฟล์
File Transfer Protocol (FTP)
เป็นบริการโอนย้ายข้อมูล เราสามารถสั่งให้อีกเครื่องหนึ่งส่งไฟล์
มายังเครื่องเราโดยตรง การอัปโหลดไฟล์ไปยังเซิร์ฟเวอร์จะต้องมี
Username และ Password ซึ่งการอัพโหลดไฟล์จะใช้โปรแกรมถ่าย
โอนไฟล์ เช่น WS_FTP, CuteFTP และ FileZillaเป็นต้น
บริกำรออนไลน์
Online Services
เป็นการให้บริการที่ส่งมอบผ่านทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งในปัจจุบันมีการให้บริการหลากหลายรูปแบบ ผู้ใช้สามารถนาบริการออนไลน์
มาเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานได้
บริกำรอีเมล
E-mail
สังคมออนไลน์
SocialMedia
เทคโนโลยีคลำวด์
CloudTechnology
กำรประชุมออนไลน์
Video Conference
ปัญญำประดิษฐ์
Artificial Intelligence
บริกำรอีเมล
E-mail
ในการส่งอีเมลนี้ เราจะต้องรู้ที่อยู่ของผู้รับว่าจะส่งไปที่ชื่อไหน ซึ่ง
เรียกว่าตู้จดหมาย หรือ Mailbox และต่างกันไปตามแต่ละคนแต่จะ
อยู่ในรูปแบบใกล้เคียงกันคือ
ชื่อผู้ใช้@ชื่อโดเมน
kridsanapong_l@rmutt.ac.th
อีเมลทำงกำร
Official E-mail
การส่งอีเมลทางการ ควรใช้ชื่ออีเมลที่ทาให้เราดูมีความน่าเชื่อถือและเป็นมืออาชีพ ควรมีชื่อนามสกุล ไม่ควรมีคากุ๊กกิ๊ก
Kridsanapong.ler@hotmail.com
Kridsanapong.ler@kmutt.ac.th
TouchPoint.in.th@gmail.com
GuZaa@hotmail.com
Bozzaa_HoHoHo@gmail.com
Numphung_Narakjung@Hotmail.com
สื่อสังคมออนไลน์
Social Media
การสื่อสารบนอินเทอร์เน็ตมีหลายช่องทางและรวดเร็วมากขึ้น มีการนาเสนอเรื่องราว
หรือแสดงความคิดเห็นและแบ่งปัน (Share) ออกไปยังกลุ่มอื่นๆ จนกลายเป็น
เครือข่ายสังคมออนไลน์ (SocialNetwork) ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น โดยใช้สื่อออนไลน์ต่างๆ
(SocialMedia) ในการติดต่อสื่อสารกันบนสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Twitter,
Instagram,Line, และ YouTube เป็นต้น
กำรส่งไฟล์ภำพผ่ำนบริกำรออนไลน์
Sending Image Files via Online Services
ในการทางานเกี่ยวกับรูปภาพ ผู้ใช้มักมีการส่งไฟล์ภาพผ่านช่องทางออนไลน์ต่างๆ ผู้ใช้ต้องทาความเข้าใจด้วย
ว่าแพล็ตฟอร์มใดเหมาะสมกับการใช้งานแบบใดหากเลือกใช้งานไม่ถูกต้องอาจสูญเสียคุณภาพไฟล์ได้
Social Mediaไม่เหมาะกับการส่งไฟล์ภาพ
ไปทางานต่อเนื่องจากถูกย่อขนาดระหว่างส่ง
สามารถแนบไฟล์ภาพ
ขนาดต้นฉบับได้
เหมาะกับการส่งภาพมากที่สุดได้ไฟล์ต้นฉบับไม่มีการบีบอัดหรือย่อขนาด
สามารถนาไฟล์ภาพไปทางานต่อได้ดีที่สุด
Email
Facebook OneDrive GoogleDrive iCloud
Line
เทคโนโลยีคลำวด์
Cloud Technology
เป็นกลุ่มของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการข้อมูล ซอฟต์แวร์หรือพื้นที่
จัดเก็บข้อมูลต่างๆ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยไม่มีข้อจากัดเรื่อง
สถานที่และฮาร์ดแวร์ที่ใช้งานสามารถเรียกใช้ข้อมูลได้ตลอดเวลา
ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ต แบ่งออกเป็น
3 ประเภท ได้แก่
Cloud Service
IaaS SaaS PaaS
Infrastructure
As a Service
Software
As a Service
Platform
As a Service
Move Use Build
IaaS
Infrastructure as a Service
บริการโครงสร้างพื้นฐานด้านทรัพยากรฮาร์ดแวร์เพื่อประมวลผลหรือ
จัดเก็บข้อมูล มีให้เลือกหลายราย ทั้งแบบจ่ายค่าบริการและแบบฟรี ซึ่ง
โดยทั่วไปจะมีพื้นที่ฟรีให้ได้ใช้กันราว2-15 GB หากต้องการพื้นที่
เพิ่มเติมก็มีแพ็คเกจให้เช่าอยู่หลายราคา บริการเหล่านี้ เช่น
OneDrive,GoogleDrive, Dropbox หรือ iCloud เป็นต้น
SaaS
Software as a Service
เป็นการให้บริการซอฟต์แวร์หรือแอพพลิเคชั่นนั่นเองซึ่งผู้ใช้
สามารถเรียกใช้งานผ่านบริการทางเว็บ (Web Service) ในรูปแบบ
ต่างๆ โดยที่ไม่จาเป็นต้องติดตั้งโปรแกรมบนเครื่องของผู้ใช้เพราะ
โปรแกรมเหล่านั้นจะถูกติดตั้งและทางานบนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ของผู้
ให้บริการ
PaaS
Platform as a Service
เป็นการให้บริการเครื่องมือสาหรับสร้างแอปพลิเคชั่นบน
แพลตฟอร์มต่างๆ เหมาะสาหรับผู้ใช้ที่เป็นนักพัฒนา
ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมเมอร์ซึ่งเพียงแค่เลือกใช้บริการ PaaS
ที่มีเครื่องมือตามที่เราต้องการ ก็สามารถทางานพัฒนา
โปรแกรมได้ทุกที่ทุกเวลา
กำรประชุมออนไลน์
Video Conference
ปัจจุบันมีโปรแกรม Video Conference เพื่อสร้างความสะดวกสบาย
สาหรับการเรียน การทางาน การแชร์ไฟล์และการประชุมผ่านทาง
ออนไลน์ ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมาก
ปัญญำประดิษฐ์
Artificial Intelligence
ปัจจุบันปัญญาประดิษฐ์เข้ามามีบทบาทในการเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ทางานเป็นอย่างมาก มุ่งเน้นการแก้ปัญหาความรู้ความเข้าใจที่เชื่อมโยง
กับความฉลาดของมนุษย์ เช่น การเรียนรู้ การสร้าง และการจดจาภาพ
สามารถประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว
แกมมำ
Gamma
เป็นโปรแกรม AIที่ใช้สร้างสื่อนาเสนอได้อย่างง่ายดายและน่าสนใจ
เพียงผู้ใช้ป้อนเรื่องที่ต้องการ โปรแกรมก็จะสร้างหัวข้อ ใส่เนื้อหา
พร้อมจัดวางมาให้เสร็จ
แชทจีพีที
ChatGPT
เป็นแชทบอท AIอัจฉริยะที่สามารถตอบคาถามอะไรก็ได้ โดยผู้ใช้ป้อน
คาสั่งเป็นข้อความลงไป เปิดให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้ฟรี สามารถนามา
ประยุกต์ใช้กับการทางานได้หลากหลายรูปแบบ
ไมโครซอฟต์โคไพลอต
Microsoft Copilot
เป็นโปรแกรม AIที่เรียกว่า GenerativeAI แบบใหม่ สามารถ
โต้ตอบคาถามเราได้ เข้าใจภาษาอย่างดี สามารถช่วยสร้าง
โค้ด สร้างรูปภาพ และสร้างวิดีโอได้ และทางานร่วมกับ
Microsoft 365 ได้เป็นอย่างดี
เจมินำย
Gemini
เป็นโปรแกรม AIแบบ Multimodal ของ Google รองรับข้อมูลทั้ง
ข้อความปกติ โค้ด เสียง ภาพ และวิดีโอ สามารถตอบคาถาม
สร้างเนื้อหา รูปภาพ รวมถึงช่วยเขียนโค้ดได้ด้วย
gamma.app chat.openai.com
copilot.microsoft.com gemini.google.com
แชทพีดีเอฟ
Chat PDF
เป็นโปรแกรม AIจาก Monica ช่วยสรุปข้อมูลจากไฟล์ PDF
ให้ผู้ใช้อ่านและเข้าใจได้ง่ายภายในไม่กี่นาที
โมนิกำ
Monica
เป็นโปรแกรมผู้ช่วยอัจฉริยะ (All-in-One AI Assistant) สามารถตอบ
คาถาม ค้นหาสร้างเนื้อหา แปลภาษา รวมถึงมีเครื่องมือมากมาย
สาหรับจัดการรูปภาพ วิดีโอ และไฟล์ PDF
ดี-ไอดี
D-ID
เป็นโปรแกรมสร้างตัวตนเสมือนจริง (Avatar)พูดได้ด้วย
AIโดยใช้รูปภาพใบหน้าซ้อนกับเสียงได้หลายภาษา และ
ส่งออกเป็นไฟล์วิดีโอได้อย่างง่ายดาย
พิกซ์แอลอำร์
PixLR
เป็นโปรแกรม AIสาหรับสร้างสรรค์ แก้ไข ตกแต่ง และจัดการ
รูปภาพโดยเฉพาะ รวมถึงมีเครื่องมือช่วยในการออกแบบ
รูปภาพได้อย่างง่ายดาย
chatpdf.com monica.im
pixlr.com
d-id.com
สื่อสมัยใหม่
New Media
สื่อสมัยใหม่ เป็นสื่อที่ผู้ใช้ได้รับประสบการณ์การรับชมรูปแบบใหม่ ทาให้เกิดประสบการณ์การรับรู้และจดจาเนื้อหาได้ดีกว่า
สื่อรูปแบบเดิม มีการผสมผสานการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้สื่อได้ด้วย
เทคโนโลยีควำมจริงเสริม
AugmentedReality(AR)
เทคโนโลยีควำมจริงเสมือน
VirtualReality(VR)
จักรวำลนฤมิต
Metaverse
เทคโนโลยีควำมจริงเสริม
Augmented Reality (AR)
เทคโนโลยีที่ผสมผสานระหว่างโลกของความจริง (Real World) เข้ากับ
โลกเสมือน (Virtual World) โดยใช้วิธีซ้อนภาพในโลกเสมือนไว้บนภาพ
ในโลกความเป็นจริง ผ่านอุปกรณ์ดิจิทัล ได้แก่แว่นตาดิจิทัล แท็บเล็ต
สมาร์ทโฟน หรืออุปกรณ์แสดงผลภาพอื่นๆ เพื่อให้เห็นภาพเสมือนอยู่
ในสภาพแวดล้อมจริง
เทคโนโลยีควำมจริงเสมือน
Virtual Reality (VR)
เป็นเทคโนโลยีที่ใช้จาลองสถานที่และสภาพแวดล้อมด้วย
คอมพิวเตอร์ ผู้ใช้งานจะได้รับประสบการณ์เสมือนผ่านแว่นตา
ดิจิทัลโดยตัดขาดจากโลกจริง อีกทั้งยังสามารถตอบสนองสิ่ง
ต่างๆ รอบตัวได้ด้วย Controller เพื่อเพิ่มประสบการณ์การ
เดินทางที่สมจริงมากยิ่งขึ้น
จักรวำลนฤมิต
Metaverse
จักรวาลนฤมิตหรือเมตาเวิร์ส (Metaverse) เป็นเทคโนโลยีสุดล้าที่จาลองโลกเสมือนจริงเพื่อให้ผู้คนสามารถสื่อสาร
ทากิจกรรม และมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันอย่างไร้ขอบเขตในโลกดิจิทัล เป็นชุมชนโลกเสมือนจริงบนเทคโนโลยีคลาวด์ ผู้ใช้สามารถ
เชื่อมต่อกันผ่านคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน และแว่นตาดิจิทัลได้
ข้อมูลส่วนบุคคลออนไลน์
Online Personal Data
ข้อมูลส่วนบุคคลที่พบว่ามีการเผยแพร่ในเว็บไซต์หรือสื่อออนไลน์ต่าง ๆ ได้แก่
ชื่อ-นำมสกุล
NameSurname
เลขประจำตัวประชำชน
IdentificationNumber
ที่อยู่
Address
ภำพถ่ำยประจำตัว
Photo
อีเมล
E-Mail
หมำยเลขโทรศัพท์
PhoneNumber
สถำนที่ทำงำน
Placeof Work
เลขบัญชีธนำคำร
Bank AccountNumber
รอยเท้ำดิจิทัล
Digital Footprint
ข้อมูลส่วนตัวที่ถูกเผยแพร่บนโลกออนไลน์ จะมีสิ่งที่เรียกว่ารอยเท้าดิจิทัล (DigitalFootprint) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
แบบตั้งใจบันทึก
ActiveDigitalFootprint
แบบไม่ตั้งใจบันทึก
PassiveDigitalFootprint
ประวัติดิจิทัลที่เกิดจากความตั้งใจเป็นข้อมูลที่
เปิดเผยโดยที่เรารู้ตัวเช่น การส่งอีเมลการ
เขียนบล็อกการโพสต์ข้อความในโซเชียลมีเดีย
ประวัติดิจิทัลที่ไม่ได้เกิดจากความตั้งใจเป็น
ข้อมูลที่ไม่มีเจตนาบันทึกเช่น IPAddress และ
ประวัติการค้นหา
ภัยคุกคำม / ภัยอันตรำย
Threat / Malicious
ภัยคุกคามที่เกิดขึ้นกับระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายนั้นมีหลายรูปแบบ ซึ่งรูปแบบที่พบหลักๆ มีดังนี้
ไวรัส
Virus
หนอน
Worms
สปำยแวร์
Spyware
แอดแวร์
Adware
ฟิชชิ่ง
Phishing
สแปมเมล์
SpamMail
แฮกเกอร์
Hacker
แครกเกอร์
Cracker
ไวรัส
Virus
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกออกแบบมาให้แพร่กระจายตัวเองจากไฟล์หนึ่งไป
ยังไฟล์อื่นๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ทาให้ไฟล์เอกสารถูกทาลาย
สามารถกระจายไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้โดยการใช้สื่อจัดเก็บข้อมูล
เช่น ใช้แฟลชไดร์ฟคัดลอกไฟล์ข้อมูลและติดไวรัสเมื่อนาไปใช้กับเครื่องอื่น
หนอน
Worms
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกออกแบบมาให้สามารถแพร่กระจายตัวเองจาก
เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งโดยอาศัยระบบเน็ตเวิร์ค
(E-mail)ซึ่งการแพร่กระจายสามารถทาได้ด้วยตัวของมันเองอย่างรวดเร็วและ
ทาความเสียหายรุนแรงกว่าไวรัสมาก
สปำยแวร์
Spyware
เป็นโปรแกรมเช่น ม้าโทรจัน (Trojan Horse) ที่อาศัยหลอกให้ผู้ใช้ดาวน์
โหลดไปติดตั้งและเปิดโอกาสให้ผู้ไม่ประสงค์ดีเข้ามาเพื่อสังเกตการณ์หรือ
ดักจับข้อมูลหรือควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์บางโปรแกรมอาจบันทึกว่า
ผู้ใช้พิมพ์อะไรบ้างเพื่อพยายามค้นหารหัสผ่านหรือเลขหมายบัตรเครดิต
แอดแวร์
Adware
โปรแกรมที่ดาวน์โหลดสื่อโฆษณาโดยอัตโนมัติขณะที่โปรแกรมกาลังทางาน
สามารถดูได้ผ่านหน้าต่างป๊อปอัปหรือผ่านแถบที่ปรากฏบนหน้า
จอคอมพิวเตอร์หรือแสดงผลบนหน้าจอระหว่างกระบวนการติดตั้งโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
ฟิชชิ่ง
Phishing
การหลอกลวงทางอินเทอร์เน็ตเพื่อขอข้อมูลที่สาคัญเช่นรหัสผ่าน หรือ
หมายเลขบัตรเครดิตโดยส่งข้อมูลมาทางออนไลน์และจาลองตัวเอง
เหมือนกับหน้าเว็บไซต์ต่างๆทาให้ผู้ใช้เข้าใจผิดและกรอกข้อมูลต่างๆลงใน
ช่องกรอกข้อมูล
สแปมเมล์
Spam Mail
การส่งข้อความที่ไม่เป็นที่ต้องการให้กับคนจานวนมากๆจากแหล่งที่ผู้รับไม่
เคยรู้จัก มักอยู่ในรูปของE-mailทาให้ผู้รับราคาญใจและเสียเวลาในการลบ
ข้อความทาให้ประสิทธิภาพการรับส่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตลดลง
แฮกเกอร์
Hacker
ผู้ที่แอบเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานหรือองค์กรอื่นโดยมิได้รับ
อนุญาตไม่มีเจตนาที่จะสร้างความเสียหายหรือสร้างความเดือดร้อนแต่ทา
เพราะต้องการทดสอบความรู้ความสามารถของตนเอง
แครกเกอร์
Cracker
ผู้ที่แอบเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานหรือองค์กรอื่นโดยมี
เจตนาร้ายอาจจะเข้าไปทาลายระบบหรือสร้างความเสียหายให้กับระบบ
เครือข่ายขององค์กรอื่นหรือขโมยข้อมูลที่เป็นความลับทางธุรกิจ
กำรป้องกันภัยคุกคำม
Threat Protection
การใช้งานคอมพิวเตอร์และการเข้าถึงข้อมูลบนเครือข่าย มีความเสี่ยงต่อการบุกรุก โจมตี รวมถึงการล้วงเอาข้อมูลโดยไม่ได้
รับอนุญาตด้วยรูปแบบและวิธีการแตกต่างกันไปการรักษาความปลอดภัยเบื้องต้นที่นิยมใช้กันในปัจจุบันมีดังนี้
กำรกำหนดรหัสผ่ำน
Password/ PIN
กำรติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส
Antivirus Program
กำรใช้ระบบไฟร์วอลล์
FirewallSystem
กำรเข้ำรหัสข้อมูล
Encryption
กำรสำรองข้อมูล
Back Up
กำรยืนยันตัวตนแบบ 2 ขั้นตอน
2 FactorsAuthentication
กำรกำหนดรหัสผ่ำน
Password / PIN
เป็นการรักษาความปลอดภัยขั้นพื้นฐานในการLogin เข้าสู่ระบบ
โดยการตั้งรหัสผ่านนั้นไม่ควรง่ายต่อการคาดเดาควรทาดังนี้
มีความยาวอย่างน้อย 8 ตัวอักษร
มีตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็กตัวใหญ่
มีอักขระพิเศษ
ควรเปลี่ยนรหัสผ่านอยู่บ่อยๆ ครั้ง
PIN ควรกาหนด 4 ตัวหรือ6 ตัว ที่ไม่ง่ายต่อการคาดเดา
กำรติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส
Antivirus Program
โปรแกรมป้องกันไวรัสจะทาหน้าที่คอยตรวจสอบและติดตามการบุกรุก
ของโปรแกรมอันตรายประเภทไวรัสหนอนอินเตอร์เน็ต และม้าโทรจัน
ตลอดจนโปรแกรมประสงค์ร้ายในรูปแบบอื่นๆโดยที่จะแจ้งเตือนให้
เจ้าของเครื่องทราบได้ว่า ขณะนี้มีโปรแกรมประสงค์ร้ายใดแปลกปลอม
เข้ามาและจะทาให้กาจัดหรือลบทิ้งออกไปเลยหรือไม่
กำรใช้ระบบไฟร์วอลล์
Firewall System
เป็นระบบรักษาความปลอดภัยที่เพื่อทาหน้าที่คอยดักจับ ป้องกันและ
ตรวจสอบการบุกรุก รวมถึงการเข้าถึงที่ไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ไม่
ประสงค์ดีภายนอก การทางานของระบบจะยอมให้ข้อมูลเฉพาะที่ได้รับ
อนุญาตผ่านเข้าออกได้เท่านั้น
กำรเข้ำรหัสข้อมูล
Encryption
การเข้ารหัสข้อมูล เป็นการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลโดยอาศัย
สมการทางคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อน เพื่อทาการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลที่อ่าน
ได้ปกติ (Plaintext)ให้ไปอยู่ในรูปแบบของข้อมูลที่ไม่สามารถอ่านได้
(Ciphertext) ในการอ่านข้อมูลจาเป็นต้องถอดรหัส (Decryption) ก่อน
จึงจะนาข้อมูลนั้นไปใช้ประโยชน์ได้
กำรสำรองข้อมูล
Back Up
การสารองข้อมูล คือ การทาซ้าข้อมูล ไฟล์ หรือโปรแกรมไว้ใน
ที่เก็บข้อมูลเพื่อให้สามารถนาเอากลับมาใช้ได้อีก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
ความสาคัญของข้อมูล อาจสารองข้อมูลเป็นรายวัน ราย
สัปดาห์หรือรายเดือน
กำรยันตัวตนแบบ 2 ขั้นตอน
Two Factors Authentication
เป็นการเพิ่มความปลอดภัยสาหรับการเข้าถึงข้อมูลให้กับบัญชี
ผู้ใช้เมื่อมีการ Login เปลี่ยนรหัสผ่าน ซื้อขาย ถอนเงิน ระบบนี้จะ
ช่วยป้องกันบัญชีผู้ใช้จากคนอื่นๆ ที่มี อีเมล/รหัสผ่านของเรา โดย
ระบบจะส่ง Time-based One-Time Password (TOTP) ไปที่
เบอร์โทรศัพท์มือถือ หรือยืนยันการลงชื่อเข้าใช้จากอุปกรณ์ที่
กาลังใช้งานอยู่

Más contenido relacionado

Similar a ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in The Digital Age)

Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์runjaun
 
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นอบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นbigman27skydrive
 
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลบทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลparinee
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบthanathip
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์Tay Chaloeykrai
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศโครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศPichamon Wongsurapinant
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technologyNittaya Intarat
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์Pokypoky Leonardo
 
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นit4learner
 
Information Technology for Business
Information Technology for BusinessInformation Technology for Business
Information Technology for BusinessChairat Jussapalo
 
Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]twatfangmin
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์prakaipet
 

Similar a ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in The Digital Age) (20)

Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
งานโฟม
งานโฟมงานโฟม
งานโฟม
 
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นอบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลบทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
 
คูมื่อ E book
คูมื่อ E bookคูมื่อ E book
คูมื่อ E book
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศโครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Information Technology for Business
Information Technology for BusinessInformation Technology for Business
Information Technology for Business
 
Learnning02
Learnning02Learnning02
Learnning02
 
Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 

Más de Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Más de Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in The Digital Age)