SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 69
Descargar para leer sin conexión
DevelopmentMilestones& Exit Plan 
บกจ (703)745 
การประกอบการและการสร้างธุรกิจใหม่ 
(Entrepreneurship : New Venture Creation) 
เอกสารประกอบการบรรยายสาหรับนักศึกษา MBA Agro 
สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมเกษตร 
ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2557
DevelopmentMilestones& Exit Plan 
บกจ (703)745 
การประกอบการและการสร้างธุรกิจใหม่ 
(Entrepreneurship : New Venture Creation) 
เอกสารประกอบการบรรยายสาหรับนักศึกษา MBA Agro 
สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมเกษตร 
ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2557 
เดชนะ สิโรรส 
ที่ปรึกษา 
•สานักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ITSC) 
•ที่ปรึกษาธุรกิจ 
อาจารย์พิเศษ 
•มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โปรแกรม MBA, Ex-MBA, M-Agro, M-ITM 
E-mail: dejana.s@cmu.ac.th
บริษัทสตาร์ตอัพที่ประสบความสาเร็จ คุณต้องมีเงื่อนไข 3อย่าง ได้แก่ 
1.ร่วมงานกับคนที่เหมาะสม 
2.สร้างสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการจริงๆ และ 
3.ใช้เงินให้น้อยที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ 
Paul Graham: วิธีการเริ่มต้นเปิดบริษัทของตัวเอง http://www.blognone.com/node/31630 
Paul Graham
คาอธิบายลักษณะกระบวนวิชา 
1.ศึกษาคุณลักษณะของผู้ประกอบการ 
2.การวางแผน 
3.การประเมินโอกาสการลงทุน 
4.การตัดสินใจลงทุนในธุรกิจที่จัดตั้งขึ้นใหม่ 
5.เข้าไปซื้อธุรกิจที่ได้ดาเนินการอยู่แล้ว 
6.การประกอบการ การพัฒนาธุรกิจใหม่ 
7.และปัญหาที่เกี่ยวข้อง 
ทบทวน 
ผู้ประกอบการ 
DevelopmentMilestones& Exit Plan 
•การพัฒนาธุรกิจ 
•การถอนตัวจากความช่วย เหลือทางการเงิน 
•การออกจากธุรกิจ
เข้าให้เป็น 
อยู่ให้ได้ 
Byeให้ถูกเวลา 
เมื่อทาธุรกิจ 
ต้องเป็นเรื่องอะไรบ้าง 
จังหวะ โอกาส เครือข่าย 
ตลาด ผลิต บริการ เงิน 
คน บริหาร เฉพาะทาง 
วิธีเข้าสู่ธุรกิจ 
เดิน วิ่ง กลิ้ง คลาน 
หรือ บังเอิญ 
ต้อง...รู้เขา รู้เรา 
รู้อะไร 
•สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ 
•ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง 
•การเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง 
รู้อะไร 
เราคือใคร เกิดมาจากไหน 
เกิดมาทาไม อยู่เพื่ออะไร 
ปัจจุบันเป็นอย่างไร 
ทาได้ดีแค่ไหน 
กลยุทธ์ 
•ขยายในไลน์เดิม 
•ขยายสู่ธุรกิจอื่น 
•ขยายสู่อุตสาหกรรมอื่น 
•ขายกิจการทั้งหมด 
•ขายกิจการโดยถือบางส่วนไว้ 
•เข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ 
•ถูกบังคับขายกิจการ 
•อื่นๆ 
Sense 
Analyze 
Response
Michael Porter Five Forces Model 
Source: http://farm5.staticflickr.com/4098/4745487755_664668de2d_z.jpg
Picture: marketing-made-simple.com
Quiz 
1.อธิบายความหมายของ Business Model 
2.อธิบายความหมายของ Business Plan 
3.ในBusiness Planประกอบด้วย แผนอะไรบ้าง 
4.Business Model กับ Business Plan สัมพันธ์กันอย่างไร
ความเป็นผู้ประกอบการ, 
การสร้างธุรกิจใหม่ 
ลูกค้า 
คู่ค้า 
คู่แข่ง 
Political, 
Economic 
Social 
Technology 
Internet 
Globalization 
Sense 
Analyze 
Response 
นักลงทุน, 
ธนาคาร 
ทบทวน >
ผู้ประกอบการ 
บุคคลที่เริ่มต้นกิจการใหม่ต้องเผชิญหน้ากับ ความเสี่ยงและความไม่แน่นอนเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์คือกาไรและการเติบโตของ กิจการโดยต้องมองทะลุถึงโอกาสทางธุรกิจ ต้องรวบรวมทรัพยากรอันจาเป็นในการดาเนิน ธุรกิจเพื่อเป็นทุนให้ได้มาซึ่งโอกาสทากาไร และความสาเร็จ 
แปลจากการให้ความหมายของ Zimmererand Scarborough (2005) 
ทบทวน >
คุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ประสบความสาเร็จ 
1.มนุษย์สัมพันธ์ 
2.มีความเชื่อมั่นในตนเอง 
3.มีความซื่อสัตย์ 
4.มีความรู้พื้นฐานและประสบการณ์ในธุรกิจที่ทา 
5.มีความขยันทุ่มเทให้กับธุรกิจ 
6.มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ 
7.มีวิสัยทัศน์ 
8.ประหยัด 
9.พัฒนาและฝึกอบรมพนักงานต่อเนื่อง 
10.มีความเชื่อเรื่องโชค 
สรุปจากโครงการศึกษาวิจัยคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ประสบความสาเร็จ 
สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 
ทบทวน >
TheEntrepreneurialMindหัวใจ (ความรู้สึก) และสายตา (มุมมอง) ของเจ้าของกิจการ 
1.บากบั่นให้ถึงจุดหมาย ผลักดันตนเองและผู้อื่นอย่าง ยิ่งยวด 
2.เป็นตัวของตัวเอง ไม่มีใครเหมือน ไม่เหมือน ใคร ยึดมั่น พึ่งพาตนเอง และเป็นอิสระจากข้อจากัด ทั้งหลาย 
3.แนวแน่มั่นคง ส่งต่อความรู้สึกแน่วแน่มั่นคงนี้ ไปถึงทุก คนที่ร่วมทาธุรกิจด้วยกันใช้กลยุทธ์แบบตื่นตัวเอาใจใส่ ซึ่ง จะคงอยู่ถาวรสืบเนื่องไปตลอดอายุของธุรกิจ 
4.มีสติปัญญาเป็นอาวุธ คิดเร็ว ทาเร็ว ซึ่งบางครั้งขาดการ ทบทวนอย่างรอบคอบ 
5.รักษาระยะห่างและคงไว้ซึ่งจุดหมาย คาดหวังให้ ลูกจ้างทางานได้ด้วยตัวเองและจิตใจที่แข็งแกร่ง 
ที่มา: ดัดแปลงจาก ids.csom.umn.edu/faculty/afine/management5177spring2002/ lecture%201.ppt 
“คุณลักษณะเฉพาะ 10 ประการ ที่ทาให้เจ้าของกิจการแตกต่างจากผู้จัดการ รวบรวมจาก 500 บริษัท” 
ทบทวน >
TheEntrepreneurialMindหัวใจ (ความรู้สึก) และสายตา (มุมมอง) ของเจ้าของกิจการ 
6. แก้ไขปัญหาด้วยวิธีที่ปฏิบัติได้ง่ายๆ ตัดตอนความยุ่งยาก ทั้งหลาย แสวงหาข้อมูลที่สาคัญและจาเป็น ขจัดทิ้งเรื่องไม่เป็นเรื่อง 
7. เต็มใจจะเสี่ยง พอใจที่จะทางานใหม่ๆ แม้ว่าจะไม่ชัดเจน ไม่แน่นอน หรือกล้าที่จะทดลองโครงการที่ทาท่าว่าจะให้ผลตอบแทนมากและเร็ว 
8. ใส่ใจ (ตาดูหูฟัง พร้อมอยู่เสมอ) เมื่อมีความคิดเห็นที่ ชัดเจนและแนวทางที่เหมาะสม จะตัดสินใจอย่างรวดเร็ว จริงจัง คาดหวังต่อตนเองและผู้อื่นสูง 
9. มุ่งเน้นที่การปฏิบัติ ไม่ทนรอผล ไม่รอคนอื่น แต่จะผลักดัน แนวทางแบบ “ทาทันที” 
10. แสวงหาสมดุลและความสาเร็จสูงสุดของบุคคล มองโลกในแง่ดีและคิดเชิงบวก สื่อสารแบบให้กาลังใจ สร้างสรรค์และสร้างความหวัง มักจะมองเห็นช่องว่างแห่งโอกาส (แก้วที่มีน้าครึ่งเดียว) อยู่เสมอ และต้องการ ครอบครองช่องวางโอกาสนั้น 
ที่มา: ดัดแปลงจาก ids.csom.umn.edu/faculty/afine/management5177spring2002/ lecture%201.ppt 
“คุณลักษณะเฉพาะ 10 ประการ ที่ทาให้เจ้าของกิจการแตกต่างจากผู้จัดการ รวบรวมจาก 500 บริษัท” 
ทบทวน > 
“Keep It Shortand Simple"
คำถำมตอนที่ 1 
1.บอกชื่อธุรกิจที่นักศึกษาจะทา 
2.บอกชื่อเพื่อนในกลุ่มและรหัส นักศึกษา 
3.ขณะนี้เขียนแผนธุรกิจมีความ คืบหน้าดังนี้(ทาเครื่องหมาย ) 
หลักการและเหตุผล 
รูปแบบธรุกิจ 
แผนการตลาด 
แผนการผลิต /บริการ 
แผนการบริหารจัดการ 
แผนการเงิน 
สาเร็จ 100 % แล้ว
ข้อดีของการเป็นผู้ประกอบการ เป็นโอกาสที่จะ: 
ลิขิตชีวิตของตนเอง 
สร้างเอกลักษณ์แห่งตน 
ใช้ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ 
เก็บเกี่ยวกาไรอย่างเต็มที่ 
มอบคืนแก่สังคม 
ทาให้ความมุ่งมั่นของคุณเป็นที่จดจา 
ทาในสิ่งที่อยากทาและสนุกกับสิ่งที่ทา <ทบทวน
ปัญหาที่มักเกิดขึ้นกับผู้ประกอบการ 
•รายได้ไม่แน่นอน 
•เสี่ยงที่จะสูญเงินลงทุนทั้งหมด 
•ทางานหนักทางานนาน 
•คุณภาพชีวิตต่าจนกว่าธุรกิจจะอยู่ตัว 
•ความเครียดสูง 
•ต้องรับผิดชอบทั้งหมดแต่เพียงผู้เดียว 
•หมดกาลังใจได้ง่าย ลักษณะและขีดความสามารถของผู้ประกอบการ 
<ทบทวน
คำถำมตอนที่ 2 
1.ผู้ประกอบการที่ประสบ ความสาเร็จต้องคิดและ ทางานอย่างไร
พัก น้าชา-กาแฟ-อาหารว่าง 
ภาพ : Fang1inLyon
รู้จักวิธีการสร้างกาไร 
“ในปัจจุบันไม่พอที่จะเห็นเพียงโอกาส ธุรกิจแต่จาเป็นจะต้องรู้ว่ากาไรของธุรกิจ อยู่ที่ไหนและจะเข้าถึงกาไรนั้นได้อย่างไร” 
ที่มา : ดัดแปลงจากการบรรยายของ รศ.ดร.ไวจามรมาน(2547) <ทบทวน
1.กำไรไม่ได้อยู่ที่เดิม เปลี่ยนที่อยู่ใหม่ ต้องรู้ความต้องการสินค้าใหม่ ที่ตรงตามความต้องการของลูกค้า 
2.ค้นหำช่องว่ำงและเสนอเงื่อนไขใหม่ให้กับลูกค้ำ เช่น ยิ่งซื้อยิ่งแถม ยิ่งซื้อยิ่งลด เพื่อทาให้ลูกค้าเปลี่ยนใจ 
3.แย่งลูกค้ำจำกตลำดกลำงไปยังตลำดบน หรือตลำดล่ำง โดยให้ผลประโยชน์ด้านราคาหรือคุณภาพอย่างชัดเจนขึ้น หรือคือการแบ่งแยกตลาดให้ชัดเจน 
4.สร้ำงกำไรโดยกำหนดมำตรฐำนก่อนคนอื่น หรือพยายามเปลี่ยนแปลง / ยกระดับมาตรฐานขึ้นใหม่ 
5.สร้างกาไรโดยใช้เทคโนโลยี ไล่ตามเทคโนโลยี 
6.สร้ำงกำไรโดยกำรเปลี่ยนแปลงวิธีกำรทำงำน เช่น จากทางานครบวงจรมาเป็นเลือกเฉพาะส่วนที่มีกาไร 
ที่มา : ดัดแปลงจากการบรรยายของ รศ.ดร.ไวจามรมาน(2547) <ทบทวน 
รู้จักวิธีการสร้างกาไร
ที่มา : ดัดแปลงจากการบรรยายของ รศ.ดร.ไวจามรมาน(2547) 
7.สร้างกาไรโดยการเปลี่ยนแปลงเร็วกว่ำคนอื่นอยู่เสมอ 
8.สร้างกาไรโดยการแก้ไขในส่วนที่คนอื่นทำไม่สำเร็จ 
9.สร้างกาไรโดยการรู้จักเลือกลูกค้ำมุ่งเฉพาะลูกค้าที่ให้กาไร 
10.สร้างกาไรโดยการแบ่งกลุ่มลูกค้ำย่อยมำกขึ้นและ เสนอสินค้าที่หลากหลาย 
11.สร้างกาไรโดยการเพิ่มหรือเลือกช่องทำงกำรจัดจำหน่ำย 
12.สร้างกาไรโดยกำรสร้ำงยี่ห้อสินค้ำ 
13.สร้างกาไรโดยกำรหันมำมองสินค้ำ ซึ่งสำมำรถกลับมำ ทำกำไรได้หลำยครั้ง <ทบทวน 
รู้จักวิธีการสร้างกาไร
คำ ถำมตอนที่ 3 
1. ธุรกิจของนักศึกษาสร้างกาไร 
ด้วยวิธีใดเมื่อเรมิ่ต้นธุรกิจ 
2. คาดว่าจะทากาไรด้วยวิธีใด 
เมื่อผ่านปีที่ 2 ไปแล้ว 
ปีที่ 
1 
ปีที่ 
3 
ปีที่ 
5
David Bornsteinผู้เขียนหนังสือ ‘How to Change the World: Social Entrepreneurs and the Power of New Ideas’ 
“สิ่งที่นักธุรกิจทั่วไปมักคานึงถึงคือเรื่องเศรษฐกิจเป็น สาคัญแต่ก็ต้องยอมรับว่าผู้ประกอบการเพื่อสังคมนั้นเองก็ คานึงเรื่องเดียวกันแต่สิ่งที่แตกต่างของผู้ประกอบการทาง สังคม ก็คือ การคานึงถึงเรื่องการเปลี่ยนแปลงสังคมด้วย เพราะพวกเขามีแรงกระตุ้น มีความคิดสร้างสรรค์ และยังเป็น ผู้ตั้งคาถามกับสิ่งที่เป็นอยู่และใช้ประโยชน์จากโอกาสใหม่ๆ เสมอและเขายังปฏิเสธที่จะล้มเลิก และพร้อมสร้างโลกที่ ดีกว่า” 
ดังนั้นในโลกของธุรกิจสิ่งที่กระตุ้นผู้ประกอบการคือผลกาไร แต่ผู้ประกอบการเพื่อสังคมถูกกระตุ้นด้วยวิธีที่ดีกว่าในการ แก้ปัญหาให้กับสังคม 
ที่มา :สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม (Corporate Social Responsibility Institute: CSRI) <ฝากไว้ 
SE
ผู้ประกอบการสังคมคือใคร? 
“ผู้ประกอบการเพื่อสังคมไม่พึงพอใจกับการให้ปลา หรือการสอนจับปลาแก่ชาวบ้าน พวกเขาจะไม่หยุด จนกว่าพวกเขาได้ทาการปฏิวัติอุตสาหกรรมการจับ ปลาเสียก่อนพวกเขาเป็นผู้ที่มีแรงกระตุ้นและมี ความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ที่ตั้งคาถามกับสิ่งที่เป็นอยู่ และใช้ประโยชน์จากโอกาสใหม่ๆ ปฏิเสธที่จะล้มเลิก” 
Bill Draytonผู้บริหาร 
ประธานและผู้ร่วมก่อตั้งมูลนิธิ Ashoka<ฝากไว้ 
SE
ประเวศ วะสี <ฝากไว้ 
SE
คำถำมตอนที่ 4 
1.ธุรกิจของนักศึกษามีความเป็น ผู้ประกอบการเพื่อสังคมหรือไม่ เพราะเหตุใด
คนเราเมื่อมีความสามารถที่ดีเป็นทุนรอนอยู่ จะไม่มีวันอับจนย่อมหาหนทางสร้างฐานะนั้น จะต้องถือหลักค่อยเป็นค่อยไปด้วยความรอบคอบ ระมัดระวังและความพอเหมาะพอดี ไม่เกินฐานะและกาลัง หรือทาด้วยความเร่งรีบ 
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น :18 ธันวาคม 2540
แผนธุรกิจคือบทสรุปของวิธีการที่ ธุรกิจหรือผู้ประกอบการ มีความตั้งใจที่จะ รวบรวมความอุตสาหะพยายามในการ ประกอบการ และกิจกรรมที่จาเป็นในการ ดาเนินการ ซึ่งเพียงพอต่อความเสี่ยงในการ ประสบความสาเร็จ โดยจะถูกเขียนขึ้นเพื่อ อธิบายต่อประเด็นปัญหาต่างๆจากความเสี่ยง นั้นตาม Business Model ที่กาหนดของธุรกิจ ซึ่งแผนธุรกิจโดยทั่วไปจะ ถูกพัฒนาขึ้นสาหรับการลงทุนของตัวธุรกิจเอง หรือหน่วยงานของรัฐด้วย 
ที่มา: Wikipedia 
28
Business Model 
คือ “รูปแบบกำรทำมำหำกิน” ที่อธิบำยว่ำ..... 
1.เราจะทาอะไร 
2.ทาอย่างไร 
3.ให้ได้อะไร (สินค้า บริการ) 
4.เพื่อใคร 
5.มีรายได้อย่างไร 
6.มีรายจ่ายอย่างไร 
29 
* ควรเป็นรูปแบบที่พึ่งตนเองได้ และเกื้อกูลสังคม
คำ ถำมตอนที่ 5 
1. ธุรกิจของนักศึกษามี“รูปแบบ 
กำรทำมำหำกิน” อย่างไร
โครงสร้างพื้นฐานของธุรกิจ 
(INFRASTRUCTURE) 
สิ่งที่เสนอให้ลูกค้า 
(OFFER) 
การเงิน 
(FINANCE) 
ลูกค้า 
(CUSTOMER) 
a business model describes the value an organization offers to various customers and portrays the capabilities and partners required for creating, marketing, and delivering this value and relationship capital with the goal of generating profitable and sustainable revenue streams 
Business Model 
ความสามารถ ทางธุรกิจ 
เครือข่าย พันธมิตรธุรกิจ 
สินค้า 
หรือบริการ ที่สามารถสร้าง ความพึงพอใจ ให้กับลูกค้า 
ความสัมพันธ์ กับลูกค้า 
กลุ่มลูกค้าที่มี คุณลักษณะตรงกับ สินค้าหรือบริการ 
วิธีการหรือที่มาของ รายได้ของธุรกิจ 
โครงสร้างของต้นทุน ค่าใช้จ่ายต่างๆ 
วิธีจัดสรรทรัพยากร เพื่อสร้างคุณค่า 
วิธีการจัดจาหน่าย ที่สร้างความ สะดวกให้ลูกค้า CORE CAPABILITIESPARTNER NETWORKVALUE CONFIGURATIONVALUE PROPOSITIONCUSTOMER RELATIONSHIPDISTRIBUTION CHANNELTARGET CUSTOMER 
COST STRUCTURE 
REVENUE STREAMS 31 
ที่มาดัดแปลงจากhttp://business-model-design.blogspot.com
Business Model 
•CORE CAPABILITIES ความสามารถและปัจจัยสาคัญในการ ดาเนินการของธุรกิจสาหรับ Business Modelที่ธุรกิจกาหนดขึ้น 
•PARTNER NETWORKเครือข่ายความ ร่วมมือระหว่างธุรกิจกับธุรกิจอื่นหรือ บุคคลภายนอก ที่จาเป็นในการดาเนินการใน การสร้างคุณค่าของธุรกิจ สินค้า หรือบริการ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ผู้ออกแบบ ผู้ผลิต สินค้า ผู้พัฒนาและวิจัย ผู้ผลิตชิ้นส่วนต่างๆ ของสินค้าหรือบริการ เป็นต้น 
•VALUE CONFIGURATIONวิธีการในการจัดสรรทรัพยากรของธุรกิจ เช่น ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร อุปกรณ์ บุคลากร เงินทุน รวมถึงกิจกรรมในการ ดาเนินการต่างๆ ของธุรกิจที่กาหนดขึ้น ในการสร้างคุณค่าของ ธุรกิจ สินค้าหรือบริการของธุรกิจให้เป็นที่ ยอมรับต่อลูกค้า 
โครงสร้างพื้นฐานของธุรกิจ 
(INFRASTRUCTURE) 
ความสามารถ ทางธุรกิจ 
เครือข่าย พันธมิตรธุรกิจ 
วิธีจัดสรรทรัพยากร เพื่อสร้างคุณค่าCORE CAPABILITIESPARTNER NETWORKVALUE CONFIGURATION 
32
Business Model 
•VALUE PROPOSITION สินค้าหรือบริการของธุรกิจสามารถสร้างอรรถประโยชน์ (Utility) หรือสามารถตอบสนองความพึงพอใจ (Satisfaction) ให้กับลูกค้า ได้อย่างไร 
สิ่งที่เสนอให้ลูกค้า 
(OFFER) 
สินค้า 
หรือบริการ ที่สามารถสร้าง ความพึงพอใจ ให้กับลูกค้า VALUE PROPOSITION 
33
Business Model 
•CUSTOMER RELATIONSHIPวิธีการที่ธุรกิจทาการเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับ ลูกค้าแต่ละกลุ่ม การบริหารจัดการ ความสัมพันธ์ การรักษาลูกค้าเพื่อความยั่งยืน ของธุรกิจ 
•DISTRIBUTION CHANNELวิธีการในการที่ธุรกิจจะเข้าตลาด ซึ่งจะรวม ความถึงการดาเนินการทางการตลาดและ กลยุทธ์ในการกาหนดช่องทางจัดจาหน่ายที่ สร้างความสะดวกให้กับลูกค้าเป้าหมาย 
•TARGET CUSTOMER กลุ่มลูกค้าที่มี ลักษณะเฉพาะหรือมีคุณลักษณะที่เหมาะสม กับสินค้าหรือบริการของธุรกิจ ในการที่จะสร้าง อรรถประโยชน์ (Utility) หรือสามารถ ตอบสนองความพึงพอใจ (Satisfaction) ของธุรกิจ สินค้าหรือบริการให้กับลูกค้าได้ 
ลูกค้า 
(CUSTOMER) 
ความสัมพันธ์ กับลูกค้า 
กลุ่มลูกค้าที่มี คุณลักษณะตรงกับ สินค้าหรือบริการ 
วิธีการจัดจาหน่าย ที่สร้างความ สะดวกให้ลูกค้า CUSTOMER RELATIONSHIPTARGET CUSTOMER 
34
Business Model 
•COST STRUCTURE โครงสร้างของต้นทุนค่าใช้จ่ายๆ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการดาเนินการของธุรกิจ 
•REVENUE STREAMS วิธีการหรือที่มาของรายได้ของธุรกิจ 
การเงิน 
(FINANCE) 
วิธีการหรือที่มาของ รายได้ของธุรกิจ 
โครงสร้างของต้นทุน ค่าใช้จ่ายต่างๆ 
COST STRUCTURE 
REVENUE STREAMS 35
มาร์ค อัลเลน Visionary Business An Entrepreneur’s Guide to Success 
ทุกบริษัทจาเป็นต้องมีแผนธุรกิจ ไม่ว่าบริษัทนั้นจะต้องการนักลงทุนหรือไม่ ธุรกิจที่ไม่มีแผนก็เหมือนเรือที่ไร้หางเสือ
มาร์ค อัลเลน Visionary Business An Entrepreneur’s Guide to Success 
จงทาให้แน่ใจว่าแผนของคุณสอดคล้องกับ ความเป็นจริง แน่ใจว่าคุณระดมทุนได้มาก มากพอที่จะรองรับกรณีฉุกเฉินได้
38 
แนวคิดการจัดทาแผนธุรกิจ 
ธุรกิจ 
ศักยภาพ+โอกาสที่มองเห็น 
+ความเป็นไปได้ 
บริการ 
ซื้อมา-ขายไป 
ผลิต 
คุณค่าที่จะมอบให้ 
แผนการตลาด 
แผนการผลิต หรือบริการ 
แผนการเงิน 
•ยอดขาย 
•ต้นทุน 
•กาไร 
•ระยะเวลาคืน ทุน 
•ผลตอบแทนต่อ การลงทุน 
แผนการบริหารจัดการ
39 
ธนาคาร 
นักลงทุน 
ผู้ถือหุ้น / พนักงาน 
พันธมิตรธุรกิจ 
สถาบันการเงินภาครัฐ 
นโยบายภาครัฐ เกณฑ์การให้เงินสนับสนุน 
ผลประกอบการ ทิศทางขององค์กร 
ทิศทางขององค์กร แนวทางความร่วมมือ 
ความคาดหวัง 
กรรมการประกวดแผน 
เข้าเกณฑ์ตามที่กาหนด 
จะเขียนแผนธุรกิจให้ใครอ่าน 
ความเป็นไปได้ ความคุ้มค่าในการลงทุน 
ความสามารถในการชาระคืน,หลักทรัพย์
"คนเก่งไม่ใช่ไม่เคยทาอะไรผิดพลาดแต่ คนเก่งคือคนที่พลาดแล้วแก้ปัญหาได้เร็ว" 
"อานันท์ ปันยารชุน“
การมองกิจการอย่างนักพัฒนาธุรกิจ 
การพัฒนาธุรกิจ 
ตัวเอง 
ลูกค้า 
คู่ค้า 
รู้จักสภาพการแข่งขัน 
ติดตามการเปลี่ยนแปลง 
เห็นโอกาสในการพัฒนา 
เพื่อความอยู่รอดอย่างยั่งยืน 
พัฒนาความสัมพันธ์กับ Stakeholder 
พัฒนาคน ทรัพยากร และผลิตภัณฑ์ 
คิดเชิงกลยุทธ์
What Strategic Management Is 
The Strategic Management Process 
•Situation Analysis 
–scanning and evaluating the current organizational context & external environment. 
•Strategy Formulation 
–developing and then choosing the appropriate strategies. 
•Functional strategies (operational strategies) 
•Competitive strategies (business strategies) 
•Corporate strategies
1.The Global Economy & Globalization 
2.Corporate Governance 
3.E-business 
Important Factors Impacting Strategic Management Today
ประโยชน์ของ “การคิดเชิงกลยุทธ์” และ “วิธีการเชิงกลยุทธ์” เพื่อการบริหารจัดการ 
•เป็นแนวทางให้กับทุกคนในองค์กรในประเด็น “เรากาลังทาอะไรและมีเป้าหมายอะไร” 
•กระตุ้นให้ผู้จัดการตื่นตัวต่อ “กระแสแห่งการ เปลี่ยนแปลง โอกาสใหม่ๆ” 
•รวมให้เห็นถึงการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์อันหลากหลาย กับความพยายามขององค์กร 
•ทาให้เกิดบรรยากาศการทางานที่ก้าวหน้าสร้างสรรค์ 
•ส่งเสริมพัฒนาการและปรับปรุงรูปแบบธุรกิจเน้น ผลลัพธ์ความสาเร็จ 
•จัดสรรฐานของงบประมาณเพื่อการประเมินการ แข่งขัน 
ช่วยเตรียมองค์กรไปสู่อนาคต!
คำ ถำมตอนที่ 6 
1. จากแผนธุรกิจที่นักศึกษาทา 
นักศึกษาต้องติดตามปัจจัย 
ภายนอกอะไรเป็นพิเศษบ้าง 
เพราะเหตุใด
Entrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture Creation
DevelopmentMilestones& Exit Plan 
การพัฒนาผลงานที่ต้องการในแต่ละช่วงเวลา และการแผนลด เงินกู้/เงินระดมทุน
กำรบริหำรแผนธุรกิจ 
เมื่อมีแผนแล้วก็ต้องนาแผนสู่การปฏิบัติ 
รูปแบบธุรกิจ 
•ระบุคุณค่าที่จะมอบ 
•ระบุกลุ่มลูกค้า 
•ออกแบบการเข้าถึงลูกค้า 
•รูปแบบรายได้-รายจ่าย 
•การผลิต-บริการเพื่อส่งมอบ 
แผนธุรกิจ 
•แนวคิดธุรกิจ 
•แผนการตลาด 
•แผนการผลิต 
•แผนบริหารจัดการ 
•แผนการเงิน 
มีไอเดียรู้จักตนเอง 
มองเห็นโอกาส 
•ศึกษาสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ 
•ศึกษาและคาดการณ์ตลาด 
•จัดสรรทรัพยากรที่จาเป็น 
•ศึกษา-ทดลองการผลิต 
•คาดการณ์ตัวเลขและดูความ เป็นไปได้ 
คิดกลยุทธ์เพื่อเข้าสู่ตลาด และความยั่งยืน 
นาแผนสู่ความเป็นจริง 
1.คิด-เขียน ขั้นตอนการ ดาเนินงาน การใช้เงิน และการ จัดสรรทรัพยากร 
2.ปฏิบัติตามขั้นตอนอย่าง ระมัดระวังอย่างมีวินัยและมี ความยืดหยุ่น 
3.เป็นผู้นาตนเองและทีมงานสู่ ความสาเร็จตามเป้าหมาย 
4.ประเมินสถานการณ์ สถานะ ของตนเอง แล้วปรับแผนให้ เหมาะสม 
5.ให้กาลังใจตนเองและทีมงาน ในทุกย่างก้าว
ภารกิจพื้นฐานของการบริหาร(Henri Fayol) 
การวางแผน (Planning) คือการจัดตั้งเป้าหมายและคัดเลือกปฏิบัติการที่ จาเป็นเพื่อการบรรลุเป้าหมายที่ตั้งขึ้นนั้นในช่วงเวลาหนึ่งๆ ที่กาหนดไว้ 
การควบคุม (Controlling) คือการวัดผลการปฏิบัติงานเทียบกับเป้าหมาย ที่วางแผนไว้และการริเริ่มสรรหาปฏิบัติเพื่อการแก้ไขในกรณีการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตาม เป้าหมาย 
การเป็นผู้นา (Leading) คือการจูงใจชักนาบุคคลในองค์กรให้ทางานอย่าง ช่วยเหลือสนับสนุนและทุ่มเทเพื่อนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ 
การจัดการ (Organizing) คือการอานวยการและเสริมกาลังคนตาม โครงสร้างองค์กรเพื่อการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในธุรกิจ 
วางแผน 
จัดทัพ 
นาทัพ 
คุมทัพ
ให้นักศึกษาให้ความหมายของ Exit Plan ตามแนวคิดตะวันตก (อ้างอิงRhonda Abrams) 
•แนวทางคาตอบ 
1.เป็นแผนการลดหรืองดการอัดฉีดสภาพคล่องทางการเงินขององค์กรเพื่อ แสดงถึงระยะเวลาที่ผู้ประกอบการจะเป็นอิสระจากผู้ให้กู้ หรือนักลงทุน 
2.เป็นแผนที่บอกถึงความพร้อมที่จะออกจากการกระตุ้น/อัดฉีดของผู้ลงทุน 
3.เป็นแผนที่กล่าวถึงวิธีที่องค์กรจะคืนเงินลงทุนหรือเงินกู้ยืมพร้อมดอกเบี้ย ให้แก่ผู้ลงทุนผู้ให้กู้ยืม หรือธนาคาร ในขณะที่องค์กรยังสามารถรักษา สภาพคล่องทางการเงินและดาเนินกิจการต่อไปได้อย่างราบรื่น 
4.แผนลดเงินกู้หรือเงินระดมทุน (Exit Plan) เป็นองค์ประกอบหนึ่งของแผน ธุรกิจเปรียบเสมือนแผนที่เดินทางที่องค์กรจะต้องคานึงถึงและวางแผน ล่วงหน้าเพื่อบรรลุเป้าหมายในระยะยาวที่องค์กรต้องการ
การพัฒนา (Development) ผลงานที่ต้องการในแต่ละช่วงเวลา (Milestones) แผนลด เงินกู้/เงินระดมทุน (Exit Plan) 
•การพัฒนาธุรกิจ (Development) การกาหนดผลงานที่ต้องการในแต่ละ ช่วงเวลา (Milestones) 
•และแผนลดเงินกู้หรือเงินระดมทุน (ExitPlan) เป็นองค์ประกอบหนึ่งของแผนธุรกิจ เปรียบเสมือนแผนที่เดินทางที่องค์กร จะต้องคานึงถึงและวางแผนล่วงหน้า เพื่อบรรลุเป้าหมายในระยะยาวที่ องค์กรต้องการ 
Rhonda Abrams
การพัฒนา (Development) ผลงานที่ต้องการในแต่ละช่วงเวลา (Milestones) แผนลด เงินกู้/เงินระดมทุน (Exit Plan) 
•ก่อนจะกาหนดExit Planเพื่อลดหรืองด การอัดฉีดสภาพคล่องทางการเงินของ องค์กร จะต้องพิจารณาอย่างถี่ถ้วนถึง ผลงานที่จะบรรลุเป้าหมายระยะสั้นว่ามี ประสิทธิภาพเพียงใด เพราะหากสามารถ บรรลุเป้าหมายระยะสั้นได้ ก็น่าจะมี ศักยภาพที่จะบรรลุเป้าหมายระยะยาวและ สามารถดาเนินตาม Exit Plan ได้อย่าง ราบรื่น 
•ในการกาหนด Exit Plan องค์กรจะต้อง ปรึกษาหารือกับผู้ลงทุน ผู้ให้กู้ยืม หรือ ธนาคารที่องค์กรขอกู้เงินมาเป็นทุนทา ธุรกิจเสียก่อน 
Rhonda Abrams
การพัฒนา (Development) ผลงานที่ต้องการในแต่ละช่วงเวลา (Milestones) แผนลด เงินกู้/เงินระดมทุน (Exit Plan) 
•หากแผนธุรกิจมีเป้าหมายเพื่อสร้าง กาไรตอบสนองผู้ลงทุนเป็นหลัก ใน การกาหนด Exit Plan องค์กรจะต้อง มุ่งสร้างผลงานที่ต้องการในแต่ละ ช่วงเวลาเป็นสาคัญ เพราะจะเป็นจุด พิสูจน์ว่าองค์กรสามารถสร้างผลงาน ที่ได้กาไรมาตอบแทนผู้ลงทุนได้ โดยเร็ว และพร้อมที่จะออกจากการ กระตุ้น/อัดฉีดของผู้ลงทุนจากนี้ไป 
Rhonda Abrams
การพัฒนา (Development) ผลงานที่ต้องการในแต่ละช่วงเวลา (Milestones) แผนลด เงินกู้/เงินระดมทุน (Exit Plan) 
•หากแผนธุรกิจมีเป้าหมายเพื่อใช้เป็น ทิศทางบริหารจัดการองค์กรเป็นหลัก ในการกาหนด Exit Plan องค์กร จะต้องมุ่งเป้าหมายระยะยาว สร้างกลยุทธ์และสร้างผลงานในแต่ละ ช่วงเวลาที่ตอบสนองเป้าหมายระยะ ยาวที่องค์กรต้องการ จากนั้นองค์กร จึงจะออกจากการกระตุ้น/อัดฉีดทาง การเงิน 
Rhonda Abrams
กลยุทธ์ (Strategies) 
•การระบุเป้าหมายระยะยาวในแผน ธุรกิจ องค์กรต้องกาหนดกลยุทธ์ที่ เชื่อได้ว่าจะนาพาองค์กรให้บรรลุ เป้าหมายที่ต้องการนั้นได้ 
Rhonda Abrams
กลยุทธ์ (Strategies) 
กลยุทธ์ที่กาหนดขึ้นเพื่อบรรลุเป้าหมายระยะยาว ที่องค์กรต้องการนั้น ต้องมีองค์ประกอบดังนี้ 
1.วิธีแทรกแซงตลาดในสินค้าที่วางจาหน่ายอยู่แล้ว เพื่อกระตุ้นการซื้อให้มากขึ้น 
2.วิธีส่งเสริมและสนับสนุนการตลาด ส่งเสริมและ สนับสนุนการขาย 
3.วิธีขยายตลาดทั้งตลาดเดิมและตลาดใหม่ 
4.การพัฒนาหรือสร้างนวัตกรรมสินค้า (กรณีมุ่งสินค้า Product Focus) 
5.การศึกษาค้นหาความต้องการใหม่ของลูกค้า (กรณีมุ่งลูกค้า Customer Focus) 
6.การสร้างความแตกต่างจากคู่แข่ง 
7.การทบทวนและปรับหรือเปลี่ยนมุมมองทางธุรกิจ ทางตลาดให้คมชัดอยู่เสมอ 
Rhonda Abrams
ผลงานที่ต้องการในแต่ละช่วงเวลา (Milestones) 
•การระบุถึงผลงานที่ต้องการในแต่ละ ช่วงเวลาในแผนธุรกิจ องค์กรต้อง ทบทวนโดยเทียบเคียงผลงานที่ผ่านมา ในอดีตกับผลงานที่ต้องการในอนาคต เน้นผลงานที่ต้องการในอนาคตเป็น สาคัญ 
•ผลงานที่ต้องการในอนาคตควร เชื่อมโยง สอดคล้อง สนับสนุนซึ่งกันและ กัน เพื่อส่งเสริมนาพาองค์กรให้เข้าใกล้ เป้าหมายที่ต้องการบรรลุ ดังนั้น ผลงาน ที่ได้ต้องถูกบันทึกลงวันที่พร้อมข้อมูล ประกอบอย่างละเอียดชัดเจนมากที่สุด 
Rhonda Abrams
แผนถอนตัว/ออกจากการกระตุ้นทางการเงิน (Exit Plan) 
•แผนถอนตัว/ออกจากการกระตุ้นทาง การเงิน หรือ Exit Plan เป็นส่วนหนึ่ง ของแผนธุรกิจ กล่าวถึงวิธีที่องค์กรจะ คืนเงินลงทุนหรือเงินกู้ยืมพร้อม ดอกเบี้ยให้แก่ผู้ลงทุน ผู้ให้กู้ยืม หรือ ธนาคาร ในขณะที่องค์กรยังสามารถ รักษาสภาพคล่องทางการเงินและ ดาเนินกิจการต่อไปได้อย่างราบรื่น 
Rhonda Abrams
สำเหตุของกำรออกจำกธุรกิจ 
รู้สึกว่าอิ่มตัว เบื่อหน่าย ไม่เห็นว่ามี อะไรท้าทาย 
เห็นโอกาสในธุรกิจใหม่ที่ตัวเองชอบ (พบสิ่งที่ใช่) 
สร้างธุรกิจไว้เพื่อขาย 
เกินกาลังที่จะดาเนินต่อไปได้ มอง อนาคตแล้วต้องใช้ปรับตัวอย่างมาก จึงจะอยู่ได้ 
เป็นธุรกิจที่อยู่ในอุตสาหกรรมขาลง (sunset industry) 
ความสามารถหลักของธุรกิจหมด ความสาคัญต่อการแข่งขัน
กลยุทธ์เตรียมพร้อมออกจำกธุรกิจ 
•กลยุทธ์แนวใหม่ที่น้อยคนในบ้านเราจะกล่าวถึง นั่น คือ Exit Strategy หรือกลยุทธ์การออกจากธุรกิจ ซึ่งมีความหมายว่า ผู้ประกอบการที่เป็นเจ้าของ เริ่มต้นพัฒนาธุรกิจมาตั้งแต่ต้น นอกจากจะร่าง แผนธุรกิจที่มุ่งเน้นในการกาหนดทิศทาง และ แข่งขันของกิจการ แต่ควรต้องมีการพิจารณา หาวิธีในการที่จะออกจากธุรกิจที่ตนเองกาลัง นั่งบริหารและดูแลอยู่ 
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q1/article2005march23p7.htm 
รศ.ดร.ธีรยุสวัฒนาศุภโชค
กลยุทธ์เตรียมพร้อมออกจำกธุรกิจ 
•นอกจากจะมองภาพของธุรกิจในระยะยาวจริงๆ ว่าหลังจากที่ได้ดาเนินงานไปในระยะหนึ่ง จนธุรกิจ ประสบความสาเร็จในการดาเนินงานตามที่ต้องการ แล้ว จะมีแนวทางอย่างไรต่อไป 
•จะยังรักษาอานาจดาเนินการทั้งหมดอยู่ที่ตนเอง กับภายในครอบครัว หรือจะหาทางออกจาก ธุรกิจ เพื่อเข้าไปริเริ่มพัฒนาในธุรกิจอื่นที่มี ศักยภาพหรืออัตราเติบโตสูง เพื่อสร้าง ผลตอบแทนที่ดีกว่าและมีความท้าทายมากกว่า 
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q1/article2005march23p7.htm 
รศ.ดร.ธีรยุสวัฒนาศุภโชค
กลยุทธ์เตรียมพร้อมออกจำกธุรกิจ 
•คาถามที่เกิดขึ้นว่า การกาหนด Exit Strategy มีความจาเป็นต้องระบุอยู่ในแผนธุรกิจ ปกติหรือไม่ ลองมาดูสถิติของธุรกิจในสหรัฐ 
•ซึ่งในปัจจุบันปรากฏว่า 1 ล้านธุรกิจใหม่ เกิดขึ้นในแต่ละปี 40% ของธุรกิจต้องล้มเหลว ตั้งแต่ในปีแรก 
•และพวกที่เหลืออยู่ 60% นั้นครึ่งหนึ่งเลิก ดาเนินการภายในห้าปี 
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q1/article2005march23p7.htm 
รศ.ดร.ธีรยุสวัฒนาศุภโชค 
 
60 
 
40 
ปีที่ 1 
ปีที่ 2-5 
 
30 
 
30 
 
100
กลยุทธ์เตรียมพร้อมออกจำกธุรกิจ 
•พวกที่เหลือรอดจากปีที่ห้า อีก 80% เลิก กิจการก่อนปีที่สิบของการดาเนินงาน โดยสรุป คือ อัตราการอยู่รอดของการตั้งธุรกิจใหม่ใน ปัจจุบันจะมีประมาณ 6% เท่านั้นภายในหนึ่ง ทศวรรษ 
•เมื่อมีการเลิกกิจการมากมายก็ต้องมีการขาย และชาระบัญชีของกิจการ ซึ่งเกือบทั้งหมดของ กิจการที่ขาย ต้องขายที่ราคาต่ากว่าราคา ตลาดที่เหมาะสม เนื่องจากไม่ได้มีการเตรียม ความพร้อมไว้ ทาให้ต้องรีบทาการชาระบัญชี เร่งด่วน ส่งผลถึงอานาจต่อรองของกิจการ จน ทาให้ราคาที่ได้ต่ามากจนไม่คุ้มค่าการลงทุน 
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q1/article2005march23p7.htm 
รศ.ดร.ธีรยุสวัฒนาศุภโชค 
ปีที่ 10 
 
30 
 
6 
 
24 
100 
 
40 
 
30
กลยุทธ์เตรียมพร้อมออกจำกธุรกิจ 
•จึงเกิดแนวคิดเตรียมความพร้อมมาก ขึ้นว่า หากดาเนินธุรกิจไปถึงระดับหนึ่ง และเกิดเหตุการณ์ที่ทาให้ผู้เป็นเจ้าของ ไม่ต้องการจะดาเนินงานต่อไป ควรจะมี กลยุทธ์ออกจากธุรกิจนั้นอย่างสง่างาม และคุ้มค่าในเชิงธุรกิจ 
•โดยการออกจากธุรกิจนั้นไม่จาเป็น ว่าธุรกิจต้องประสบความล้มเหลว เสมอไป 
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q1/article2005march23p7.htm 
รศ.ดร.ธีรยุสวัฒนาศุภโชค 
ปีที่ 10 
 
30 
 
6 
 
24 
100 
 
40 
 
30
กลยุทธ์เตรียมพร้อมออกจำกธุรกิจ 
แผนธุรกิจจึงมีส่วน Exit Strategy เข้ามามีบทบาท โดยจะมีการ พิจารณาได้ในหลายทางเลือก ประกอบด้วย 
•ทางเลือกที่หนึ่ง คือจะไม่มีการออกจากธุรกิจไม่ว่าเหตุการณ์ ใดจะเกิดขึ้นก็ตาม จะดารงความเป็นเจ้าของทั้งหมดไว้ใน ครอบครัว เหตุผลก็อาจจะมาจากที่ว่า เป็นธุรกิจสัมปทานที่ มั่นคง ความเสี่ยงต่า สามารถสร้างกระแสเงินสดกลับมาอย่าง คงที่ รวมถึงอาจเป็นธุรกิจต้นตระกูลที่ต้องรักษาไว้ 
•ทางเลือกที่สอง คือ การที่ต้องการออกจากธุรกิจที่ดาเนินงาน อยู่ แต่ยังต้องการถือหุ้นบางส่วน ซึ่งอาจจะเป็นเพียงแค่ หุ้นส่วนน้อยเพื่อรอรับปันผล หรือจะยังคงเป็นหุ้นใหญ่ที่คง อานาจการบริหารไว้ 
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q1/article2005march23p7.htm 
รศ.ดร.ธีรยุสวัฒนาศุภโชค
กลยุทธ์เตรียมพร้อมออกจำกธุรกิจ 
•ทางเลือกที่สาม คือ เมื่อถึงจุดที่ต้องการ จะออกจากธุรกิจนั้นทั้งหมด เพื่อโยกย้ายทรัพย์สินไปดาเนินงานอื่นแทน โดยผู้ประกอบการจะต้องมา พิจารณาความเหมาะสมของกลยุทธ์ในการออกจากกิจการต่อไปว่า มีทางใดที่เหมาะสม 
กลยุทธ์แรก คือ ขายกิจการกับนักลงทุนทั่วไป ที่มองการเข้าซื้อกิจการ เหมือนกับการลงทุนในทรัพย์สินทางการเงินอย่างหนึ่ง 
กลยุทธ์ที่สอง คือ การขายกิจการออกไปยังบริษัทอื่นๆ อาจจะอยู่ใน อุตสาหกรรมเดียวกันหรือไม่ก็ได้ 
กลยุทธ์ที่สาม คือ การขายหุ้นไปยังบุคลากรของกิจการเดิม ซึ่งอาจเป็น ผู้บริหารหลักของกิจการ ซึ่งทาให้การเปลี่ยนมือเจ้าของไม่กระทบกับแนวทาง ในการดาเนินธุรกิจนัก 
กลยุทธ์ท้ายสุด คือ การแปลงเป็นบริษัทมหาชนและเข้าตลาดหลักทรัพย์ 
การเตรียมความพร้อมในการออกจากธุรกิจ ซึ่งถือเป็นแง่มุมหนึ่งของกลยุทธ์ ควรต้องคานึงหลักจริยธรรมด้วยว่า เมื่อตนออกจากธุรกิจแล้ว กิจการนั้นต้อง สามารถเดินหน้าได้ต่อไปมั่นคงในระยะยาว 
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q1/article2005march23p7.htm 
รศ.ดร.ธีรยุสวัฒนาศุภโชค
“ในวงสังคมนั้นเล่า ท่านจะต้องรักษา มารยาทอันดีงาม สาหรับสุภาพชน รู้จัก สัมมาคารวะ ไม่แข็งกระด้าง มีความ อ่อนโยนแต่ไม่อ่อนแอ พร้อมจะเสียสละ ประโยชน์ส่วนตนเพื่อส่วนรวม” 
ที่มา: http://www.heritage.thaigov.net/ 
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 25มิถุนายน 2496
อ้ำงอิงจำก... 
•Thomas A. Pollack, Strategic Information Systems Planning, Duquesne University http://www.ascue.org/files/proceedings/2010/047.pdf12/10/2010 
•SomendraPant and Cheng Hsu, Strategic Information Systems Planning: A Review http://viu.eng.rpi.edu/publications/strpaper.pdf12/10/2010 
•รศ.ดร.บวร ปภัสราทร สารสนเทศเพื่อการบริหาร และการวางแผนยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศ http://www2.oae.go.th/zone9/KM/new4.pdf 
•Katie Ficken, STRATEGIC MANAGEMENT IN ACTIONIntroducing the concepts

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ความถนัดทั่วไป (GAT) รหัสวิชา 85 ตอนที่ 2
ความถนัดทั่วไป (GAT) รหัสวิชา 85 ตอนที่ 2ความถนัดทั่วไป (GAT) รหัสวิชา 85 ตอนที่ 2
ความถนัดทั่วไป (GAT) รหัสวิชา 85 ตอนที่ 2Korrakot Intanon
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingTeetut Tresirichod
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreeผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreePattie Pattie
 
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆ
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆคำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆ
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆkvlovelove
 
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...ธิติพล เทียมจันทร์
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจAroma candle
ตัวอย่างแผนธุรกิจAroma candleตัวอย่างแผนธุรกิจAroma candle
ตัวอย่างแผนธุรกิจAroma candleNattakorn Sunkdon
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
6 solution
6 solution6 solution
6 solutionseluluse
 
Brand value, brand equity
Brand value, brand equity Brand value, brand equity
Brand value, brand equity PümPüy Ża
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานTaraya Srivilas
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักsangkeetwittaya stourajini
 
บ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟบ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟglenferry
 

La actualidad más candente (20)

ความถนัดทั่วไป (GAT) รหัสวิชา 85 ตอนที่ 2
ความถนัดทั่วไป (GAT) รหัสวิชา 85 ตอนที่ 2ความถนัดทั่วไป (GAT) รหัสวิชา 85 ตอนที่ 2
ความถนัดทั่วไป (GAT) รหัสวิชา 85 ตอนที่ 2
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditing
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
 
Conflict management
Conflict managementConflict management
Conflict management
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
 
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreeผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
 
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆ
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆคำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆ
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆ
 
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจAroma candle
ตัวอย่างแผนธุรกิจAroma candleตัวอย่างแผนธุรกิจAroma candle
ตัวอย่างแผนธุรกิจAroma candle
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
6 solution
6 solution6 solution
6 solution
 
Brand value, brand equity
Brand value, brand equity Brand value, brand equity
Brand value, brand equity
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่ายบทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
 
บ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟบ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟ
 

Similar a Entrepreneurship : New Venture Creation

ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยthnaporn999
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อยวิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อยratchadaphun
 
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2DrDanai Thienphut
 
SBU MBA
SBU MBASBU MBA
SBU MBAsasupe
 
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อบทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
ทักษะ 10 ประการ ที่ใครๆ ก็ต้องการคุณ
ทักษะ 10 ประการ ที่ใครๆ ก็ต้องการคุณทักษะ 10 ประการ ที่ใครๆ ก็ต้องการคุณ
ทักษะ 10 ประการ ที่ใครๆ ก็ต้องการคุณตานุ เอ็นเตอร์เทน
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพratchadaphun
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1praphol
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]kvlovelove
 
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการคุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการRuangvate Meesup
 

Similar a Entrepreneurship : New Venture Creation (20)

ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อยวิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
 
เกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจP
เกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจPเกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจP
เกริ่นนำก่อนบรรยายแผนธุรกิจP
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
 
SBU MBA
SBU MBASBU MBA
SBU MBA
 
SBU MBA
SBU MBASBU MBA
SBU MBA
 
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อบทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
 
ทักษะ 10 ประการ ที่ใครๆ ก็ต้องการคุณ
ทักษะ 10 ประการ ที่ใครๆ ก็ต้องการคุณทักษะ 10 ประการ ที่ใครๆ ก็ต้องการคุณ
ทักษะ 10 ประการ ที่ใครๆ ก็ต้องการคุณ
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 
Csr
CsrCsr
Csr
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
Super motivation 2
Super motivation 2Super motivation 2
Super motivation 2
 
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการคุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
 

Más de siroros

M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2siroros
 
Tokyo Disneyland case study
Tokyo Disneyland case studyTokyo Disneyland case study
Tokyo Disneyland case studysiroros
 
906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRM
906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRM906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRM
906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRMsiroros
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systemssiroros
 
ทิศทางการทำวิจัยทาง It and management – september 6 r2
ทิศทางการทำวิจัยทาง It and management – september 6 r2ทิศทางการทำวิจัยทาง It and management – september 6 r2
ทิศทางการทำวิจัยทาง It and management – september 6 r2siroros
 
906702 it for mgt - september 6r2
906702 it for mgt  - september 6r2906702 it for mgt  - september 6r2
906702 it for mgt - september 6r2siroros
 
703711 business performance and enterprise system r2
703711 business performance and enterprise system r2703711 business performance and enterprise system r2
703711 business performance and enterprise system r2siroros
 
Modern office 1
Modern office 1Modern office 1
Modern office 1siroros
 
Career path r2
Career path r2Career path r2
Career path r2siroros
 

Más de siroros (9)

M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
 
Tokyo Disneyland case study
Tokyo Disneyland case studyTokyo Disneyland case study
Tokyo Disneyland case study
 
906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRM
906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRM906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRM
906702 Strengthening B2B Relationships via Supply Chain Management and CRM
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
 
ทิศทางการทำวิจัยทาง It and management – september 6 r2
ทิศทางการทำวิจัยทาง It and management – september 6 r2ทิศทางการทำวิจัยทาง It and management – september 6 r2
ทิศทางการทำวิจัยทาง It and management – september 6 r2
 
906702 it for mgt - september 6r2
906702 it for mgt  - september 6r2906702 it for mgt  - september 6r2
906702 it for mgt - september 6r2
 
703711 business performance and enterprise system r2
703711 business performance and enterprise system r2703711 business performance and enterprise system r2
703711 business performance and enterprise system r2
 
Modern office 1
Modern office 1Modern office 1
Modern office 1
 
Career path r2
Career path r2Career path r2
Career path r2
 

Entrepreneurship : New Venture Creation

  • 1. DevelopmentMilestones& Exit Plan บกจ (703)745 การประกอบการและการสร้างธุรกิจใหม่ (Entrepreneurship : New Venture Creation) เอกสารประกอบการบรรยายสาหรับนักศึกษา MBA Agro สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมเกษตร ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2557
  • 2. DevelopmentMilestones& Exit Plan บกจ (703)745 การประกอบการและการสร้างธุรกิจใหม่ (Entrepreneurship : New Venture Creation) เอกสารประกอบการบรรยายสาหรับนักศึกษา MBA Agro สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมเกษตร ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2557 เดชนะ สิโรรส ที่ปรึกษา •สานักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ITSC) •ที่ปรึกษาธุรกิจ อาจารย์พิเศษ •มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โปรแกรม MBA, Ex-MBA, M-Agro, M-ITM E-mail: dejana.s@cmu.ac.th
  • 3. บริษัทสตาร์ตอัพที่ประสบความสาเร็จ คุณต้องมีเงื่อนไข 3อย่าง ได้แก่ 1.ร่วมงานกับคนที่เหมาะสม 2.สร้างสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการจริงๆ และ 3.ใช้เงินให้น้อยที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ Paul Graham: วิธีการเริ่มต้นเปิดบริษัทของตัวเอง http://www.blognone.com/node/31630 Paul Graham
  • 4. คาอธิบายลักษณะกระบวนวิชา 1.ศึกษาคุณลักษณะของผู้ประกอบการ 2.การวางแผน 3.การประเมินโอกาสการลงทุน 4.การตัดสินใจลงทุนในธุรกิจที่จัดตั้งขึ้นใหม่ 5.เข้าไปซื้อธุรกิจที่ได้ดาเนินการอยู่แล้ว 6.การประกอบการ การพัฒนาธุรกิจใหม่ 7.และปัญหาที่เกี่ยวข้อง ทบทวน ผู้ประกอบการ DevelopmentMilestones& Exit Plan •การพัฒนาธุรกิจ •การถอนตัวจากความช่วย เหลือทางการเงิน •การออกจากธุรกิจ
  • 5. เข้าให้เป็น อยู่ให้ได้ Byeให้ถูกเวลา เมื่อทาธุรกิจ ต้องเป็นเรื่องอะไรบ้าง จังหวะ โอกาส เครือข่าย ตลาด ผลิต บริการ เงิน คน บริหาร เฉพาะทาง วิธีเข้าสู่ธุรกิจ เดิน วิ่ง กลิ้ง คลาน หรือ บังเอิญ ต้อง...รู้เขา รู้เรา รู้อะไร •สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ •ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง •การเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง รู้อะไร เราคือใคร เกิดมาจากไหน เกิดมาทาไม อยู่เพื่ออะไร ปัจจุบันเป็นอย่างไร ทาได้ดีแค่ไหน กลยุทธ์ •ขยายในไลน์เดิม •ขยายสู่ธุรกิจอื่น •ขยายสู่อุตสาหกรรมอื่น •ขายกิจการทั้งหมด •ขายกิจการโดยถือบางส่วนไว้ •เข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ •ถูกบังคับขายกิจการ •อื่นๆ Sense Analyze Response
  • 6. Michael Porter Five Forces Model Source: http://farm5.staticflickr.com/4098/4745487755_664668de2d_z.jpg
  • 8. Quiz 1.อธิบายความหมายของ Business Model 2.อธิบายความหมายของ Business Plan 3.ในBusiness Planประกอบด้วย แผนอะไรบ้าง 4.Business Model กับ Business Plan สัมพันธ์กันอย่างไร
  • 9. ความเป็นผู้ประกอบการ, การสร้างธุรกิจใหม่ ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง Political, Economic Social Technology Internet Globalization Sense Analyze Response นักลงทุน, ธนาคาร ทบทวน >
  • 10. ผู้ประกอบการ บุคคลที่เริ่มต้นกิจการใหม่ต้องเผชิญหน้ากับ ความเสี่ยงและความไม่แน่นอนเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์คือกาไรและการเติบโตของ กิจการโดยต้องมองทะลุถึงโอกาสทางธุรกิจ ต้องรวบรวมทรัพยากรอันจาเป็นในการดาเนิน ธุรกิจเพื่อเป็นทุนให้ได้มาซึ่งโอกาสทากาไร และความสาเร็จ แปลจากการให้ความหมายของ Zimmererand Scarborough (2005) ทบทวน >
  • 11. คุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ประสบความสาเร็จ 1.มนุษย์สัมพันธ์ 2.มีความเชื่อมั่นในตนเอง 3.มีความซื่อสัตย์ 4.มีความรู้พื้นฐานและประสบการณ์ในธุรกิจที่ทา 5.มีความขยันทุ่มเทให้กับธุรกิจ 6.มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ 7.มีวิสัยทัศน์ 8.ประหยัด 9.พัฒนาและฝึกอบรมพนักงานต่อเนื่อง 10.มีความเชื่อเรื่องโชค สรุปจากโครงการศึกษาวิจัยคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ประสบความสาเร็จ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ทบทวน >
  • 12. TheEntrepreneurialMindหัวใจ (ความรู้สึก) และสายตา (มุมมอง) ของเจ้าของกิจการ 1.บากบั่นให้ถึงจุดหมาย ผลักดันตนเองและผู้อื่นอย่าง ยิ่งยวด 2.เป็นตัวของตัวเอง ไม่มีใครเหมือน ไม่เหมือน ใคร ยึดมั่น พึ่งพาตนเอง และเป็นอิสระจากข้อจากัด ทั้งหลาย 3.แนวแน่มั่นคง ส่งต่อความรู้สึกแน่วแน่มั่นคงนี้ ไปถึงทุก คนที่ร่วมทาธุรกิจด้วยกันใช้กลยุทธ์แบบตื่นตัวเอาใจใส่ ซึ่ง จะคงอยู่ถาวรสืบเนื่องไปตลอดอายุของธุรกิจ 4.มีสติปัญญาเป็นอาวุธ คิดเร็ว ทาเร็ว ซึ่งบางครั้งขาดการ ทบทวนอย่างรอบคอบ 5.รักษาระยะห่างและคงไว้ซึ่งจุดหมาย คาดหวังให้ ลูกจ้างทางานได้ด้วยตัวเองและจิตใจที่แข็งแกร่ง ที่มา: ดัดแปลงจาก ids.csom.umn.edu/faculty/afine/management5177spring2002/ lecture%201.ppt “คุณลักษณะเฉพาะ 10 ประการ ที่ทาให้เจ้าของกิจการแตกต่างจากผู้จัดการ รวบรวมจาก 500 บริษัท” ทบทวน >
  • 13. TheEntrepreneurialMindหัวใจ (ความรู้สึก) และสายตา (มุมมอง) ของเจ้าของกิจการ 6. แก้ไขปัญหาด้วยวิธีที่ปฏิบัติได้ง่ายๆ ตัดตอนความยุ่งยาก ทั้งหลาย แสวงหาข้อมูลที่สาคัญและจาเป็น ขจัดทิ้งเรื่องไม่เป็นเรื่อง 7. เต็มใจจะเสี่ยง พอใจที่จะทางานใหม่ๆ แม้ว่าจะไม่ชัดเจน ไม่แน่นอน หรือกล้าที่จะทดลองโครงการที่ทาท่าว่าจะให้ผลตอบแทนมากและเร็ว 8. ใส่ใจ (ตาดูหูฟัง พร้อมอยู่เสมอ) เมื่อมีความคิดเห็นที่ ชัดเจนและแนวทางที่เหมาะสม จะตัดสินใจอย่างรวดเร็ว จริงจัง คาดหวังต่อตนเองและผู้อื่นสูง 9. มุ่งเน้นที่การปฏิบัติ ไม่ทนรอผล ไม่รอคนอื่น แต่จะผลักดัน แนวทางแบบ “ทาทันที” 10. แสวงหาสมดุลและความสาเร็จสูงสุดของบุคคล มองโลกในแง่ดีและคิดเชิงบวก สื่อสารแบบให้กาลังใจ สร้างสรรค์และสร้างความหวัง มักจะมองเห็นช่องว่างแห่งโอกาส (แก้วที่มีน้าครึ่งเดียว) อยู่เสมอ และต้องการ ครอบครองช่องวางโอกาสนั้น ที่มา: ดัดแปลงจาก ids.csom.umn.edu/faculty/afine/management5177spring2002/ lecture%201.ppt “คุณลักษณะเฉพาะ 10 ประการ ที่ทาให้เจ้าของกิจการแตกต่างจากผู้จัดการ รวบรวมจาก 500 บริษัท” ทบทวน > “Keep It Shortand Simple"
  • 14. คำถำมตอนที่ 1 1.บอกชื่อธุรกิจที่นักศึกษาจะทา 2.บอกชื่อเพื่อนในกลุ่มและรหัส นักศึกษา 3.ขณะนี้เขียนแผนธุรกิจมีความ คืบหน้าดังนี้(ทาเครื่องหมาย ) หลักการและเหตุผล รูปแบบธรุกิจ แผนการตลาด แผนการผลิต /บริการ แผนการบริหารจัดการ แผนการเงิน สาเร็จ 100 % แล้ว
  • 15. ข้อดีของการเป็นผู้ประกอบการ เป็นโอกาสที่จะ: ลิขิตชีวิตของตนเอง สร้างเอกลักษณ์แห่งตน ใช้ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ เก็บเกี่ยวกาไรอย่างเต็มที่ มอบคืนแก่สังคม ทาให้ความมุ่งมั่นของคุณเป็นที่จดจา ทาในสิ่งที่อยากทาและสนุกกับสิ่งที่ทา <ทบทวน
  • 16. ปัญหาที่มักเกิดขึ้นกับผู้ประกอบการ •รายได้ไม่แน่นอน •เสี่ยงที่จะสูญเงินลงทุนทั้งหมด •ทางานหนักทางานนาน •คุณภาพชีวิตต่าจนกว่าธุรกิจจะอยู่ตัว •ความเครียดสูง •ต้องรับผิดชอบทั้งหมดแต่เพียงผู้เดียว •หมดกาลังใจได้ง่าย ลักษณะและขีดความสามารถของผู้ประกอบการ <ทบทวน
  • 17. คำถำมตอนที่ 2 1.ผู้ประกอบการที่ประสบ ความสาเร็จต้องคิดและ ทางานอย่างไร
  • 19. รู้จักวิธีการสร้างกาไร “ในปัจจุบันไม่พอที่จะเห็นเพียงโอกาส ธุรกิจแต่จาเป็นจะต้องรู้ว่ากาไรของธุรกิจ อยู่ที่ไหนและจะเข้าถึงกาไรนั้นได้อย่างไร” ที่มา : ดัดแปลงจากการบรรยายของ รศ.ดร.ไวจามรมาน(2547) <ทบทวน
  • 20. 1.กำไรไม่ได้อยู่ที่เดิม เปลี่ยนที่อยู่ใหม่ ต้องรู้ความต้องการสินค้าใหม่ ที่ตรงตามความต้องการของลูกค้า 2.ค้นหำช่องว่ำงและเสนอเงื่อนไขใหม่ให้กับลูกค้ำ เช่น ยิ่งซื้อยิ่งแถม ยิ่งซื้อยิ่งลด เพื่อทาให้ลูกค้าเปลี่ยนใจ 3.แย่งลูกค้ำจำกตลำดกลำงไปยังตลำดบน หรือตลำดล่ำง โดยให้ผลประโยชน์ด้านราคาหรือคุณภาพอย่างชัดเจนขึ้น หรือคือการแบ่งแยกตลาดให้ชัดเจน 4.สร้ำงกำไรโดยกำหนดมำตรฐำนก่อนคนอื่น หรือพยายามเปลี่ยนแปลง / ยกระดับมาตรฐานขึ้นใหม่ 5.สร้างกาไรโดยใช้เทคโนโลยี ไล่ตามเทคโนโลยี 6.สร้ำงกำไรโดยกำรเปลี่ยนแปลงวิธีกำรทำงำน เช่น จากทางานครบวงจรมาเป็นเลือกเฉพาะส่วนที่มีกาไร ที่มา : ดัดแปลงจากการบรรยายของ รศ.ดร.ไวจามรมาน(2547) <ทบทวน รู้จักวิธีการสร้างกาไร
  • 21. ที่มา : ดัดแปลงจากการบรรยายของ รศ.ดร.ไวจามรมาน(2547) 7.สร้างกาไรโดยการเปลี่ยนแปลงเร็วกว่ำคนอื่นอยู่เสมอ 8.สร้างกาไรโดยการแก้ไขในส่วนที่คนอื่นทำไม่สำเร็จ 9.สร้างกาไรโดยการรู้จักเลือกลูกค้ำมุ่งเฉพาะลูกค้าที่ให้กาไร 10.สร้างกาไรโดยการแบ่งกลุ่มลูกค้ำย่อยมำกขึ้นและ เสนอสินค้าที่หลากหลาย 11.สร้างกาไรโดยการเพิ่มหรือเลือกช่องทำงกำรจัดจำหน่ำย 12.สร้างกาไรโดยกำรสร้ำงยี่ห้อสินค้ำ 13.สร้างกาไรโดยกำรหันมำมองสินค้ำ ซึ่งสำมำรถกลับมำ ทำกำไรได้หลำยครั้ง <ทบทวน รู้จักวิธีการสร้างกาไร
  • 22. คำ ถำมตอนที่ 3 1. ธุรกิจของนักศึกษาสร้างกาไร ด้วยวิธีใดเมื่อเรมิ่ต้นธุรกิจ 2. คาดว่าจะทากาไรด้วยวิธีใด เมื่อผ่านปีที่ 2 ไปแล้ว ปีที่ 1 ปีที่ 3 ปีที่ 5
  • 23. David Bornsteinผู้เขียนหนังสือ ‘How to Change the World: Social Entrepreneurs and the Power of New Ideas’ “สิ่งที่นักธุรกิจทั่วไปมักคานึงถึงคือเรื่องเศรษฐกิจเป็น สาคัญแต่ก็ต้องยอมรับว่าผู้ประกอบการเพื่อสังคมนั้นเองก็ คานึงเรื่องเดียวกันแต่สิ่งที่แตกต่างของผู้ประกอบการทาง สังคม ก็คือ การคานึงถึงเรื่องการเปลี่ยนแปลงสังคมด้วย เพราะพวกเขามีแรงกระตุ้น มีความคิดสร้างสรรค์ และยังเป็น ผู้ตั้งคาถามกับสิ่งที่เป็นอยู่และใช้ประโยชน์จากโอกาสใหม่ๆ เสมอและเขายังปฏิเสธที่จะล้มเลิก และพร้อมสร้างโลกที่ ดีกว่า” ดังนั้นในโลกของธุรกิจสิ่งที่กระตุ้นผู้ประกอบการคือผลกาไร แต่ผู้ประกอบการเพื่อสังคมถูกกระตุ้นด้วยวิธีที่ดีกว่าในการ แก้ปัญหาให้กับสังคม ที่มา :สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม (Corporate Social Responsibility Institute: CSRI) <ฝากไว้ SE
  • 24. ผู้ประกอบการสังคมคือใคร? “ผู้ประกอบการเพื่อสังคมไม่พึงพอใจกับการให้ปลา หรือการสอนจับปลาแก่ชาวบ้าน พวกเขาจะไม่หยุด จนกว่าพวกเขาได้ทาการปฏิวัติอุตสาหกรรมการจับ ปลาเสียก่อนพวกเขาเป็นผู้ที่มีแรงกระตุ้นและมี ความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ที่ตั้งคาถามกับสิ่งที่เป็นอยู่ และใช้ประโยชน์จากโอกาสใหม่ๆ ปฏิเสธที่จะล้มเลิก” Bill Draytonผู้บริหาร ประธานและผู้ร่วมก่อตั้งมูลนิธิ Ashoka<ฝากไว้ SE
  • 26. คำถำมตอนที่ 4 1.ธุรกิจของนักศึกษามีความเป็น ผู้ประกอบการเพื่อสังคมหรือไม่ เพราะเหตุใด
  • 27. คนเราเมื่อมีความสามารถที่ดีเป็นทุนรอนอยู่ จะไม่มีวันอับจนย่อมหาหนทางสร้างฐานะนั้น จะต้องถือหลักค่อยเป็นค่อยไปด้วยความรอบคอบ ระมัดระวังและความพอเหมาะพอดี ไม่เกินฐานะและกาลัง หรือทาด้วยความเร่งรีบ พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น :18 ธันวาคม 2540
  • 28. แผนธุรกิจคือบทสรุปของวิธีการที่ ธุรกิจหรือผู้ประกอบการ มีความตั้งใจที่จะ รวบรวมความอุตสาหะพยายามในการ ประกอบการ และกิจกรรมที่จาเป็นในการ ดาเนินการ ซึ่งเพียงพอต่อความเสี่ยงในการ ประสบความสาเร็จ โดยจะถูกเขียนขึ้นเพื่อ อธิบายต่อประเด็นปัญหาต่างๆจากความเสี่ยง นั้นตาม Business Model ที่กาหนดของธุรกิจ ซึ่งแผนธุรกิจโดยทั่วไปจะ ถูกพัฒนาขึ้นสาหรับการลงทุนของตัวธุรกิจเอง หรือหน่วยงานของรัฐด้วย ที่มา: Wikipedia 28
  • 29. Business Model คือ “รูปแบบกำรทำมำหำกิน” ที่อธิบำยว่ำ..... 1.เราจะทาอะไร 2.ทาอย่างไร 3.ให้ได้อะไร (สินค้า บริการ) 4.เพื่อใคร 5.มีรายได้อย่างไร 6.มีรายจ่ายอย่างไร 29 * ควรเป็นรูปแบบที่พึ่งตนเองได้ และเกื้อกูลสังคม
  • 30. คำ ถำมตอนที่ 5 1. ธุรกิจของนักศึกษามี“รูปแบบ กำรทำมำหำกิน” อย่างไร
  • 31. โครงสร้างพื้นฐานของธุรกิจ (INFRASTRUCTURE) สิ่งที่เสนอให้ลูกค้า (OFFER) การเงิน (FINANCE) ลูกค้า (CUSTOMER) a business model describes the value an organization offers to various customers and portrays the capabilities and partners required for creating, marketing, and delivering this value and relationship capital with the goal of generating profitable and sustainable revenue streams Business Model ความสามารถ ทางธุรกิจ เครือข่าย พันธมิตรธุรกิจ สินค้า หรือบริการ ที่สามารถสร้าง ความพึงพอใจ ให้กับลูกค้า ความสัมพันธ์ กับลูกค้า กลุ่มลูกค้าที่มี คุณลักษณะตรงกับ สินค้าหรือบริการ วิธีการหรือที่มาของ รายได้ของธุรกิจ โครงสร้างของต้นทุน ค่าใช้จ่ายต่างๆ วิธีจัดสรรทรัพยากร เพื่อสร้างคุณค่า วิธีการจัดจาหน่าย ที่สร้างความ สะดวกให้ลูกค้า CORE CAPABILITIESPARTNER NETWORKVALUE CONFIGURATIONVALUE PROPOSITIONCUSTOMER RELATIONSHIPDISTRIBUTION CHANNELTARGET CUSTOMER COST STRUCTURE REVENUE STREAMS 31 ที่มาดัดแปลงจากhttp://business-model-design.blogspot.com
  • 32. Business Model •CORE CAPABILITIES ความสามารถและปัจจัยสาคัญในการ ดาเนินการของธุรกิจสาหรับ Business Modelที่ธุรกิจกาหนดขึ้น •PARTNER NETWORKเครือข่ายความ ร่วมมือระหว่างธุรกิจกับธุรกิจอื่นหรือ บุคคลภายนอก ที่จาเป็นในการดาเนินการใน การสร้างคุณค่าของธุรกิจ สินค้า หรือบริการ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ผู้ออกแบบ ผู้ผลิต สินค้า ผู้พัฒนาและวิจัย ผู้ผลิตชิ้นส่วนต่างๆ ของสินค้าหรือบริการ เป็นต้น •VALUE CONFIGURATIONวิธีการในการจัดสรรทรัพยากรของธุรกิจ เช่น ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร อุปกรณ์ บุคลากร เงินทุน รวมถึงกิจกรรมในการ ดาเนินการต่างๆ ของธุรกิจที่กาหนดขึ้น ในการสร้างคุณค่าของ ธุรกิจ สินค้าหรือบริการของธุรกิจให้เป็นที่ ยอมรับต่อลูกค้า โครงสร้างพื้นฐานของธุรกิจ (INFRASTRUCTURE) ความสามารถ ทางธุรกิจ เครือข่าย พันธมิตรธุรกิจ วิธีจัดสรรทรัพยากร เพื่อสร้างคุณค่าCORE CAPABILITIESPARTNER NETWORKVALUE CONFIGURATION 32
  • 33. Business Model •VALUE PROPOSITION สินค้าหรือบริการของธุรกิจสามารถสร้างอรรถประโยชน์ (Utility) หรือสามารถตอบสนองความพึงพอใจ (Satisfaction) ให้กับลูกค้า ได้อย่างไร สิ่งที่เสนอให้ลูกค้า (OFFER) สินค้า หรือบริการ ที่สามารถสร้าง ความพึงพอใจ ให้กับลูกค้า VALUE PROPOSITION 33
  • 34. Business Model •CUSTOMER RELATIONSHIPวิธีการที่ธุรกิจทาการเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับ ลูกค้าแต่ละกลุ่ม การบริหารจัดการ ความสัมพันธ์ การรักษาลูกค้าเพื่อความยั่งยืน ของธุรกิจ •DISTRIBUTION CHANNELวิธีการในการที่ธุรกิจจะเข้าตลาด ซึ่งจะรวม ความถึงการดาเนินการทางการตลาดและ กลยุทธ์ในการกาหนดช่องทางจัดจาหน่ายที่ สร้างความสะดวกให้กับลูกค้าเป้าหมาย •TARGET CUSTOMER กลุ่มลูกค้าที่มี ลักษณะเฉพาะหรือมีคุณลักษณะที่เหมาะสม กับสินค้าหรือบริการของธุรกิจ ในการที่จะสร้าง อรรถประโยชน์ (Utility) หรือสามารถ ตอบสนองความพึงพอใจ (Satisfaction) ของธุรกิจ สินค้าหรือบริการให้กับลูกค้าได้ ลูกค้า (CUSTOMER) ความสัมพันธ์ กับลูกค้า กลุ่มลูกค้าที่มี คุณลักษณะตรงกับ สินค้าหรือบริการ วิธีการจัดจาหน่าย ที่สร้างความ สะดวกให้ลูกค้า CUSTOMER RELATIONSHIPTARGET CUSTOMER 34
  • 35. Business Model •COST STRUCTURE โครงสร้างของต้นทุนค่าใช้จ่ายๆ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการดาเนินการของธุรกิจ •REVENUE STREAMS วิธีการหรือที่มาของรายได้ของธุรกิจ การเงิน (FINANCE) วิธีการหรือที่มาของ รายได้ของธุรกิจ โครงสร้างของต้นทุน ค่าใช้จ่ายต่างๆ COST STRUCTURE REVENUE STREAMS 35
  • 36. มาร์ค อัลเลน Visionary Business An Entrepreneur’s Guide to Success ทุกบริษัทจาเป็นต้องมีแผนธุรกิจ ไม่ว่าบริษัทนั้นจะต้องการนักลงทุนหรือไม่ ธุรกิจที่ไม่มีแผนก็เหมือนเรือที่ไร้หางเสือ
  • 37. มาร์ค อัลเลน Visionary Business An Entrepreneur’s Guide to Success จงทาให้แน่ใจว่าแผนของคุณสอดคล้องกับ ความเป็นจริง แน่ใจว่าคุณระดมทุนได้มาก มากพอที่จะรองรับกรณีฉุกเฉินได้
  • 38. 38 แนวคิดการจัดทาแผนธุรกิจ ธุรกิจ ศักยภาพ+โอกาสที่มองเห็น +ความเป็นไปได้ บริการ ซื้อมา-ขายไป ผลิต คุณค่าที่จะมอบให้ แผนการตลาด แผนการผลิต หรือบริการ แผนการเงิน •ยอดขาย •ต้นทุน •กาไร •ระยะเวลาคืน ทุน •ผลตอบแทนต่อ การลงทุน แผนการบริหารจัดการ
  • 39. 39 ธนาคาร นักลงทุน ผู้ถือหุ้น / พนักงาน พันธมิตรธุรกิจ สถาบันการเงินภาครัฐ นโยบายภาครัฐ เกณฑ์การให้เงินสนับสนุน ผลประกอบการ ทิศทางขององค์กร ทิศทางขององค์กร แนวทางความร่วมมือ ความคาดหวัง กรรมการประกวดแผน เข้าเกณฑ์ตามที่กาหนด จะเขียนแผนธุรกิจให้ใครอ่าน ความเป็นไปได้ ความคุ้มค่าในการลงทุน ความสามารถในการชาระคืน,หลักทรัพย์
  • 41. การมองกิจการอย่างนักพัฒนาธุรกิจ การพัฒนาธุรกิจ ตัวเอง ลูกค้า คู่ค้า รู้จักสภาพการแข่งขัน ติดตามการเปลี่ยนแปลง เห็นโอกาสในการพัฒนา เพื่อความอยู่รอดอย่างยั่งยืน พัฒนาความสัมพันธ์กับ Stakeholder พัฒนาคน ทรัพยากร และผลิตภัณฑ์ คิดเชิงกลยุทธ์
  • 42. What Strategic Management Is The Strategic Management Process •Situation Analysis –scanning and evaluating the current organizational context & external environment. •Strategy Formulation –developing and then choosing the appropriate strategies. •Functional strategies (operational strategies) •Competitive strategies (business strategies) •Corporate strategies
  • 43. 1.The Global Economy & Globalization 2.Corporate Governance 3.E-business Important Factors Impacting Strategic Management Today
  • 44. ประโยชน์ของ “การคิดเชิงกลยุทธ์” และ “วิธีการเชิงกลยุทธ์” เพื่อการบริหารจัดการ •เป็นแนวทางให้กับทุกคนในองค์กรในประเด็น “เรากาลังทาอะไรและมีเป้าหมายอะไร” •กระตุ้นให้ผู้จัดการตื่นตัวต่อ “กระแสแห่งการ เปลี่ยนแปลง โอกาสใหม่ๆ” •รวมให้เห็นถึงการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์อันหลากหลาย กับความพยายามขององค์กร •ทาให้เกิดบรรยากาศการทางานที่ก้าวหน้าสร้างสรรค์ •ส่งเสริมพัฒนาการและปรับปรุงรูปแบบธุรกิจเน้น ผลลัพธ์ความสาเร็จ •จัดสรรฐานของงบประมาณเพื่อการประเมินการ แข่งขัน ช่วยเตรียมองค์กรไปสู่อนาคต!
  • 45. คำ ถำมตอนที่ 6 1. จากแผนธุรกิจที่นักศึกษาทา นักศึกษาต้องติดตามปัจจัย ภายนอกอะไรเป็นพิเศษบ้าง เพราะเหตุใด
  • 48. DevelopmentMilestones& Exit Plan การพัฒนาผลงานที่ต้องการในแต่ละช่วงเวลา และการแผนลด เงินกู้/เงินระดมทุน
  • 49. กำรบริหำรแผนธุรกิจ เมื่อมีแผนแล้วก็ต้องนาแผนสู่การปฏิบัติ รูปแบบธุรกิจ •ระบุคุณค่าที่จะมอบ •ระบุกลุ่มลูกค้า •ออกแบบการเข้าถึงลูกค้า •รูปแบบรายได้-รายจ่าย •การผลิต-บริการเพื่อส่งมอบ แผนธุรกิจ •แนวคิดธุรกิจ •แผนการตลาด •แผนการผลิต •แผนบริหารจัดการ •แผนการเงิน มีไอเดียรู้จักตนเอง มองเห็นโอกาส •ศึกษาสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ •ศึกษาและคาดการณ์ตลาด •จัดสรรทรัพยากรที่จาเป็น •ศึกษา-ทดลองการผลิต •คาดการณ์ตัวเลขและดูความ เป็นไปได้ คิดกลยุทธ์เพื่อเข้าสู่ตลาด และความยั่งยืน นาแผนสู่ความเป็นจริง 1.คิด-เขียน ขั้นตอนการ ดาเนินงาน การใช้เงิน และการ จัดสรรทรัพยากร 2.ปฏิบัติตามขั้นตอนอย่าง ระมัดระวังอย่างมีวินัยและมี ความยืดหยุ่น 3.เป็นผู้นาตนเองและทีมงานสู่ ความสาเร็จตามเป้าหมาย 4.ประเมินสถานการณ์ สถานะ ของตนเอง แล้วปรับแผนให้ เหมาะสม 5.ให้กาลังใจตนเองและทีมงาน ในทุกย่างก้าว
  • 50. ภารกิจพื้นฐานของการบริหาร(Henri Fayol) การวางแผน (Planning) คือการจัดตั้งเป้าหมายและคัดเลือกปฏิบัติการที่ จาเป็นเพื่อการบรรลุเป้าหมายที่ตั้งขึ้นนั้นในช่วงเวลาหนึ่งๆ ที่กาหนดไว้ การควบคุม (Controlling) คือการวัดผลการปฏิบัติงานเทียบกับเป้าหมาย ที่วางแผนไว้และการริเริ่มสรรหาปฏิบัติเพื่อการแก้ไขในกรณีการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตาม เป้าหมาย การเป็นผู้นา (Leading) คือการจูงใจชักนาบุคคลในองค์กรให้ทางานอย่าง ช่วยเหลือสนับสนุนและทุ่มเทเพื่อนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ การจัดการ (Organizing) คือการอานวยการและเสริมกาลังคนตาม โครงสร้างองค์กรเพื่อการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในธุรกิจ วางแผน จัดทัพ นาทัพ คุมทัพ
  • 51. ให้นักศึกษาให้ความหมายของ Exit Plan ตามแนวคิดตะวันตก (อ้างอิงRhonda Abrams) •แนวทางคาตอบ 1.เป็นแผนการลดหรืองดการอัดฉีดสภาพคล่องทางการเงินขององค์กรเพื่อ แสดงถึงระยะเวลาที่ผู้ประกอบการจะเป็นอิสระจากผู้ให้กู้ หรือนักลงทุน 2.เป็นแผนที่บอกถึงความพร้อมที่จะออกจากการกระตุ้น/อัดฉีดของผู้ลงทุน 3.เป็นแผนที่กล่าวถึงวิธีที่องค์กรจะคืนเงินลงทุนหรือเงินกู้ยืมพร้อมดอกเบี้ย ให้แก่ผู้ลงทุนผู้ให้กู้ยืม หรือธนาคาร ในขณะที่องค์กรยังสามารถรักษา สภาพคล่องทางการเงินและดาเนินกิจการต่อไปได้อย่างราบรื่น 4.แผนลดเงินกู้หรือเงินระดมทุน (Exit Plan) เป็นองค์ประกอบหนึ่งของแผน ธุรกิจเปรียบเสมือนแผนที่เดินทางที่องค์กรจะต้องคานึงถึงและวางแผน ล่วงหน้าเพื่อบรรลุเป้าหมายในระยะยาวที่องค์กรต้องการ
  • 52. การพัฒนา (Development) ผลงานที่ต้องการในแต่ละช่วงเวลา (Milestones) แผนลด เงินกู้/เงินระดมทุน (Exit Plan) •การพัฒนาธุรกิจ (Development) การกาหนดผลงานที่ต้องการในแต่ละ ช่วงเวลา (Milestones) •และแผนลดเงินกู้หรือเงินระดมทุน (ExitPlan) เป็นองค์ประกอบหนึ่งของแผนธุรกิจ เปรียบเสมือนแผนที่เดินทางที่องค์กร จะต้องคานึงถึงและวางแผนล่วงหน้า เพื่อบรรลุเป้าหมายในระยะยาวที่ องค์กรต้องการ Rhonda Abrams
  • 53. การพัฒนา (Development) ผลงานที่ต้องการในแต่ละช่วงเวลา (Milestones) แผนลด เงินกู้/เงินระดมทุน (Exit Plan) •ก่อนจะกาหนดExit Planเพื่อลดหรืองด การอัดฉีดสภาพคล่องทางการเงินของ องค์กร จะต้องพิจารณาอย่างถี่ถ้วนถึง ผลงานที่จะบรรลุเป้าหมายระยะสั้นว่ามี ประสิทธิภาพเพียงใด เพราะหากสามารถ บรรลุเป้าหมายระยะสั้นได้ ก็น่าจะมี ศักยภาพที่จะบรรลุเป้าหมายระยะยาวและ สามารถดาเนินตาม Exit Plan ได้อย่าง ราบรื่น •ในการกาหนด Exit Plan องค์กรจะต้อง ปรึกษาหารือกับผู้ลงทุน ผู้ให้กู้ยืม หรือ ธนาคารที่องค์กรขอกู้เงินมาเป็นทุนทา ธุรกิจเสียก่อน Rhonda Abrams
  • 54. การพัฒนา (Development) ผลงานที่ต้องการในแต่ละช่วงเวลา (Milestones) แผนลด เงินกู้/เงินระดมทุน (Exit Plan) •หากแผนธุรกิจมีเป้าหมายเพื่อสร้าง กาไรตอบสนองผู้ลงทุนเป็นหลัก ใน การกาหนด Exit Plan องค์กรจะต้อง มุ่งสร้างผลงานที่ต้องการในแต่ละ ช่วงเวลาเป็นสาคัญ เพราะจะเป็นจุด พิสูจน์ว่าองค์กรสามารถสร้างผลงาน ที่ได้กาไรมาตอบแทนผู้ลงทุนได้ โดยเร็ว และพร้อมที่จะออกจากการ กระตุ้น/อัดฉีดของผู้ลงทุนจากนี้ไป Rhonda Abrams
  • 55. การพัฒนา (Development) ผลงานที่ต้องการในแต่ละช่วงเวลา (Milestones) แผนลด เงินกู้/เงินระดมทุน (Exit Plan) •หากแผนธุรกิจมีเป้าหมายเพื่อใช้เป็น ทิศทางบริหารจัดการองค์กรเป็นหลัก ในการกาหนด Exit Plan องค์กร จะต้องมุ่งเป้าหมายระยะยาว สร้างกลยุทธ์และสร้างผลงานในแต่ละ ช่วงเวลาที่ตอบสนองเป้าหมายระยะ ยาวที่องค์กรต้องการ จากนั้นองค์กร จึงจะออกจากการกระตุ้น/อัดฉีดทาง การเงิน Rhonda Abrams
  • 56. กลยุทธ์ (Strategies) •การระบุเป้าหมายระยะยาวในแผน ธุรกิจ องค์กรต้องกาหนดกลยุทธ์ที่ เชื่อได้ว่าจะนาพาองค์กรให้บรรลุ เป้าหมายที่ต้องการนั้นได้ Rhonda Abrams
  • 57. กลยุทธ์ (Strategies) กลยุทธ์ที่กาหนดขึ้นเพื่อบรรลุเป้าหมายระยะยาว ที่องค์กรต้องการนั้น ต้องมีองค์ประกอบดังนี้ 1.วิธีแทรกแซงตลาดในสินค้าที่วางจาหน่ายอยู่แล้ว เพื่อกระตุ้นการซื้อให้มากขึ้น 2.วิธีส่งเสริมและสนับสนุนการตลาด ส่งเสริมและ สนับสนุนการขาย 3.วิธีขยายตลาดทั้งตลาดเดิมและตลาดใหม่ 4.การพัฒนาหรือสร้างนวัตกรรมสินค้า (กรณีมุ่งสินค้า Product Focus) 5.การศึกษาค้นหาความต้องการใหม่ของลูกค้า (กรณีมุ่งลูกค้า Customer Focus) 6.การสร้างความแตกต่างจากคู่แข่ง 7.การทบทวนและปรับหรือเปลี่ยนมุมมองทางธุรกิจ ทางตลาดให้คมชัดอยู่เสมอ Rhonda Abrams
  • 58. ผลงานที่ต้องการในแต่ละช่วงเวลา (Milestones) •การระบุถึงผลงานที่ต้องการในแต่ละ ช่วงเวลาในแผนธุรกิจ องค์กรต้อง ทบทวนโดยเทียบเคียงผลงานที่ผ่านมา ในอดีตกับผลงานที่ต้องการในอนาคต เน้นผลงานที่ต้องการในอนาคตเป็น สาคัญ •ผลงานที่ต้องการในอนาคตควร เชื่อมโยง สอดคล้อง สนับสนุนซึ่งกันและ กัน เพื่อส่งเสริมนาพาองค์กรให้เข้าใกล้ เป้าหมายที่ต้องการบรรลุ ดังนั้น ผลงาน ที่ได้ต้องถูกบันทึกลงวันที่พร้อมข้อมูล ประกอบอย่างละเอียดชัดเจนมากที่สุด Rhonda Abrams
  • 59. แผนถอนตัว/ออกจากการกระตุ้นทางการเงิน (Exit Plan) •แผนถอนตัว/ออกจากการกระตุ้นทาง การเงิน หรือ Exit Plan เป็นส่วนหนึ่ง ของแผนธุรกิจ กล่าวถึงวิธีที่องค์กรจะ คืนเงินลงทุนหรือเงินกู้ยืมพร้อม ดอกเบี้ยให้แก่ผู้ลงทุน ผู้ให้กู้ยืม หรือ ธนาคาร ในขณะที่องค์กรยังสามารถ รักษาสภาพคล่องทางการเงินและ ดาเนินกิจการต่อไปได้อย่างราบรื่น Rhonda Abrams
  • 60. สำเหตุของกำรออกจำกธุรกิจ รู้สึกว่าอิ่มตัว เบื่อหน่าย ไม่เห็นว่ามี อะไรท้าทาย เห็นโอกาสในธุรกิจใหม่ที่ตัวเองชอบ (พบสิ่งที่ใช่) สร้างธุรกิจไว้เพื่อขาย เกินกาลังที่จะดาเนินต่อไปได้ มอง อนาคตแล้วต้องใช้ปรับตัวอย่างมาก จึงจะอยู่ได้ เป็นธุรกิจที่อยู่ในอุตสาหกรรมขาลง (sunset industry) ความสามารถหลักของธุรกิจหมด ความสาคัญต่อการแข่งขัน
  • 61. กลยุทธ์เตรียมพร้อมออกจำกธุรกิจ •กลยุทธ์แนวใหม่ที่น้อยคนในบ้านเราจะกล่าวถึง นั่น คือ Exit Strategy หรือกลยุทธ์การออกจากธุรกิจ ซึ่งมีความหมายว่า ผู้ประกอบการที่เป็นเจ้าของ เริ่มต้นพัฒนาธุรกิจมาตั้งแต่ต้น นอกจากจะร่าง แผนธุรกิจที่มุ่งเน้นในการกาหนดทิศทาง และ แข่งขันของกิจการ แต่ควรต้องมีการพิจารณา หาวิธีในการที่จะออกจากธุรกิจที่ตนเองกาลัง นั่งบริหารและดูแลอยู่ http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q1/article2005march23p7.htm รศ.ดร.ธีรยุสวัฒนาศุภโชค
  • 62. กลยุทธ์เตรียมพร้อมออกจำกธุรกิจ •นอกจากจะมองภาพของธุรกิจในระยะยาวจริงๆ ว่าหลังจากที่ได้ดาเนินงานไปในระยะหนึ่ง จนธุรกิจ ประสบความสาเร็จในการดาเนินงานตามที่ต้องการ แล้ว จะมีแนวทางอย่างไรต่อไป •จะยังรักษาอานาจดาเนินการทั้งหมดอยู่ที่ตนเอง กับภายในครอบครัว หรือจะหาทางออกจาก ธุรกิจ เพื่อเข้าไปริเริ่มพัฒนาในธุรกิจอื่นที่มี ศักยภาพหรืออัตราเติบโตสูง เพื่อสร้าง ผลตอบแทนที่ดีกว่าและมีความท้าทายมากกว่า http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q1/article2005march23p7.htm รศ.ดร.ธีรยุสวัฒนาศุภโชค
  • 63. กลยุทธ์เตรียมพร้อมออกจำกธุรกิจ •คาถามที่เกิดขึ้นว่า การกาหนด Exit Strategy มีความจาเป็นต้องระบุอยู่ในแผนธุรกิจ ปกติหรือไม่ ลองมาดูสถิติของธุรกิจในสหรัฐ •ซึ่งในปัจจุบันปรากฏว่า 1 ล้านธุรกิจใหม่ เกิดขึ้นในแต่ละปี 40% ของธุรกิจต้องล้มเหลว ตั้งแต่ในปีแรก •และพวกที่เหลืออยู่ 60% นั้นครึ่งหนึ่งเลิก ดาเนินการภายในห้าปี http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q1/article2005march23p7.htm รศ.ดร.ธีรยุสวัฒนาศุภโชค  60  40 ปีที่ 1 ปีที่ 2-5  30  30  100
  • 64. กลยุทธ์เตรียมพร้อมออกจำกธุรกิจ •พวกที่เหลือรอดจากปีที่ห้า อีก 80% เลิก กิจการก่อนปีที่สิบของการดาเนินงาน โดยสรุป คือ อัตราการอยู่รอดของการตั้งธุรกิจใหม่ใน ปัจจุบันจะมีประมาณ 6% เท่านั้นภายในหนึ่ง ทศวรรษ •เมื่อมีการเลิกกิจการมากมายก็ต้องมีการขาย และชาระบัญชีของกิจการ ซึ่งเกือบทั้งหมดของ กิจการที่ขาย ต้องขายที่ราคาต่ากว่าราคา ตลาดที่เหมาะสม เนื่องจากไม่ได้มีการเตรียม ความพร้อมไว้ ทาให้ต้องรีบทาการชาระบัญชี เร่งด่วน ส่งผลถึงอานาจต่อรองของกิจการ จน ทาให้ราคาที่ได้ต่ามากจนไม่คุ้มค่าการลงทุน http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q1/article2005march23p7.htm รศ.ดร.ธีรยุสวัฒนาศุภโชค ปีที่ 10  30  6  24 100  40  30
  • 65. กลยุทธ์เตรียมพร้อมออกจำกธุรกิจ •จึงเกิดแนวคิดเตรียมความพร้อมมาก ขึ้นว่า หากดาเนินธุรกิจไปถึงระดับหนึ่ง และเกิดเหตุการณ์ที่ทาให้ผู้เป็นเจ้าของ ไม่ต้องการจะดาเนินงานต่อไป ควรจะมี กลยุทธ์ออกจากธุรกิจนั้นอย่างสง่างาม และคุ้มค่าในเชิงธุรกิจ •โดยการออกจากธุรกิจนั้นไม่จาเป็น ว่าธุรกิจต้องประสบความล้มเหลว เสมอไป http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q1/article2005march23p7.htm รศ.ดร.ธีรยุสวัฒนาศุภโชค ปีที่ 10  30  6  24 100  40  30
  • 66. กลยุทธ์เตรียมพร้อมออกจำกธุรกิจ แผนธุรกิจจึงมีส่วน Exit Strategy เข้ามามีบทบาท โดยจะมีการ พิจารณาได้ในหลายทางเลือก ประกอบด้วย •ทางเลือกที่หนึ่ง คือจะไม่มีการออกจากธุรกิจไม่ว่าเหตุการณ์ ใดจะเกิดขึ้นก็ตาม จะดารงความเป็นเจ้าของทั้งหมดไว้ใน ครอบครัว เหตุผลก็อาจจะมาจากที่ว่า เป็นธุรกิจสัมปทานที่ มั่นคง ความเสี่ยงต่า สามารถสร้างกระแสเงินสดกลับมาอย่าง คงที่ รวมถึงอาจเป็นธุรกิจต้นตระกูลที่ต้องรักษาไว้ •ทางเลือกที่สอง คือ การที่ต้องการออกจากธุรกิจที่ดาเนินงาน อยู่ แต่ยังต้องการถือหุ้นบางส่วน ซึ่งอาจจะเป็นเพียงแค่ หุ้นส่วนน้อยเพื่อรอรับปันผล หรือจะยังคงเป็นหุ้นใหญ่ที่คง อานาจการบริหารไว้ http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q1/article2005march23p7.htm รศ.ดร.ธีรยุสวัฒนาศุภโชค
  • 67. กลยุทธ์เตรียมพร้อมออกจำกธุรกิจ •ทางเลือกที่สาม คือ เมื่อถึงจุดที่ต้องการ จะออกจากธุรกิจนั้นทั้งหมด เพื่อโยกย้ายทรัพย์สินไปดาเนินงานอื่นแทน โดยผู้ประกอบการจะต้องมา พิจารณาความเหมาะสมของกลยุทธ์ในการออกจากกิจการต่อไปว่า มีทางใดที่เหมาะสม กลยุทธ์แรก คือ ขายกิจการกับนักลงทุนทั่วไป ที่มองการเข้าซื้อกิจการ เหมือนกับการลงทุนในทรัพย์สินทางการเงินอย่างหนึ่ง กลยุทธ์ที่สอง คือ การขายกิจการออกไปยังบริษัทอื่นๆ อาจจะอยู่ใน อุตสาหกรรมเดียวกันหรือไม่ก็ได้ กลยุทธ์ที่สาม คือ การขายหุ้นไปยังบุคลากรของกิจการเดิม ซึ่งอาจเป็น ผู้บริหารหลักของกิจการ ซึ่งทาให้การเปลี่ยนมือเจ้าของไม่กระทบกับแนวทาง ในการดาเนินธุรกิจนัก กลยุทธ์ท้ายสุด คือ การแปลงเป็นบริษัทมหาชนและเข้าตลาดหลักทรัพย์ การเตรียมความพร้อมในการออกจากธุรกิจ ซึ่งถือเป็นแง่มุมหนึ่งของกลยุทธ์ ควรต้องคานึงหลักจริยธรรมด้วยว่า เมื่อตนออกจากธุรกิจแล้ว กิจการนั้นต้อง สามารถเดินหน้าได้ต่อไปมั่นคงในระยะยาว http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q1/article2005march23p7.htm รศ.ดร.ธีรยุสวัฒนาศุภโชค
  • 68. “ในวงสังคมนั้นเล่า ท่านจะต้องรักษา มารยาทอันดีงาม สาหรับสุภาพชน รู้จัก สัมมาคารวะ ไม่แข็งกระด้าง มีความ อ่อนโยนแต่ไม่อ่อนแอ พร้อมจะเสียสละ ประโยชน์ส่วนตนเพื่อส่วนรวม” ที่มา: http://www.heritage.thaigov.net/ พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 25มิถุนายน 2496
  • 69. อ้ำงอิงจำก... •Thomas A. Pollack, Strategic Information Systems Planning, Duquesne University http://www.ascue.org/files/proceedings/2010/047.pdf12/10/2010 •SomendraPant and Cheng Hsu, Strategic Information Systems Planning: A Review http://viu.eng.rpi.edu/publications/strpaper.pdf12/10/2010 •รศ.ดร.บวร ปภัสราทร สารสนเทศเพื่อการบริหาร และการวางแผนยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศ http://www2.oae.go.th/zone9/KM/new4.pdf •Katie Ficken, STRATEGIC MANAGEMENT IN ACTIONIntroducing the concepts