SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 65
Descargar para leer sin conexión
ความหมาย 
และความเป็น 
มา 
ของปรัชญา
ความหมายของปรัชญา 
(Meanings of Philosophy) 
คำาว่า “ปรัชญา” เป็นศัพท์ที่พระเจ้าว 
รวงศ์เธอ กรมหมนื่นราธิปพงศ์ประพันธ์ 
(พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร) ทรงบัญญัติ 
ขึ้นเพื่ปอปฺใช้รฺร คปปกูั่รระะบเเสคำาสรริภาฐิฐ 
ษาอังกฤษว่า 
11.. :: “Philosophy” เป็นคำามาจากรากศัพท์ภาษา 
สันสกฤต 2 คำาคือ 
22.. ชชฺญฺญาา :: คคววาามรรู้,ู้, รรู้,ู้, เเขข้า้าใใจจ 
เมื่อรวมกันแล้ว เป็น 
“ปฺรชฺญา” (ปรัชญา) แปลว่า ความรู้ 
อันประเสริฐ เป็นวิชาที่ว่าด้วยหลัก 
แห่งความรู้และความจริง
ความหมายของปรัชญา 
(Meanings of Philosophy) ต่อ 
ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 
พ.ศ. 2525 ได้นิยามความหมายของคำาว่า 
“ปัญญา” เอาไว้ว่า “ความรู้แจ้ง, ความ 
รอบรู้, ความสุขุม, ความฉลาด” และนิยาม 
ความหมายของคำาว่า “ปรัชญา” ว่าเป็นวิชา 
ที่ว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง 
หมายความว่า ปรัชญามีหน้าที่สืบเสาะ 
หาความรู้เกี่ยวกับความจริงของสรรพสงิ่ 
ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
ยามความหมายของนักปรัชญา 
ด้วยเหตุที่ปรัชญามีลักษณะกว้างมาก 
จึงมีนักปรัชญาและนักภาษาศาสตร์หลาย 
ท่าน ตั้งแต่สมัยโบราณ จนกระทั่งปัจจุบัน ที่ 
พยายามจะนิยามความหมาย หรือให้ข้อ 
จำากัดอริคสวาโตมเติ้ขอล งคำา(Aristotle) ว่า “ปรัชกญาล่า” วว่า 
เอาไว้ 
อาทิเช่น 
“ปรัชญา เป็นศาสตร์ที่ค้นคว้าหาความ 
แท้จรเิงพขลอโงตส้ (งิ่Pทlaี่มtีอoย) โู่กดลย่าตวัววเ่าอ “งป” รัชญา คือ 
การศึกษาหาความรู้เรื่องสิ่งที่เป็นนิรันดร 
และความเป็นจริงของสิ่งเหล่านั้น
ยามความหมายของนักปรัชญา ต่อ 
วงศ์คำาจันทร์ ให้ข้อจำากัดความของปรัชญาเอาไว้ว่า 
วิชาที่ว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริงของสงิ่ต่านานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ข้อจำาเอาไว้ว่า “ปรัชญา คือวิชาที่ว่าด้วยหลักแห่งความรู้และนังสือสารานุกรมชุดเวิลด์บคุ๊ (The World Book Encyclopedia) 
มหมายว่า “ปรัชญา คือการศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติวะการดำารงอยู่ของมนุษย์ในจักรวาล”
ยามความหมายของนักปรัชญา ต่อ 
จากการนิยามความหมายหรือข้อจำากัด 
ความเหล่านี้ จะเห็นได้ว่า ปรัชญาคือหลัก 
แห่งความรู้และความจริง 
ปรัชญา จึงมีลักษณะครอบคลุมศาสตร์ 
ทั้งปวง ในปัจจุบันจึงไม่นิยมที่จะให้คำา 
จำากัดความของปรัชญา แม้จะมีอยู่ก็มี 
ลักษณะที่กว้างที่สุด เมื่อเป็นเช่นนั้น เราอาจ 
สรุปได้ว่า ปรัชญาเป็นความรู้ที่สากลและ 
จำาเป็น กล่าวคือใช้ได้กับทุกวิชา และทุก 
วิชาต้องมีหลักปรัชญาด้วย
รัชญา (Systems of Philosophy) 
1. ปรัชญาที่ไม่เป็น 
1. ปรัชญาที่ไม่เป็น 
ระบบ ได้แก่ ความคิดของ 
นักคิดคนใดคนหนึ่งเกี่ยว 
กับปรัชญาสาขาใดสาขา 
หนงึ่ เกิดขึ้นมาพร้อมกับ 
มนุษย์เริ่มมีความสงสัยใน 
สิ่งแวดล้อม หรือใน 
ธรรมชาติ 
ระบบ ได้แก่ ความคิดของ 
นักคิดคนใดคนหนึ่งเกี่ยว 
กับปรัชญาสาขาใดสาขา 
หนงึ่ เกิดขึ้นมาพร้อมกับ 
มนุษย์เริ่มมีความสงสัยใน 
สงิ่แวดล้อม หรือใน 
ธรรมชาติ 
2. ปรัชญาทเี่ป็นระบบ 
2. ปรัชญาที่เป็นระบบ 
รัชญามี 2 ลักษณะคือ 
ได้แก่ แนวความคิดทจี่ะต้อง 
ประกอบด้วยพื้นฐานปรัชญา 
และตัวปรัชญา คือจะต้อง 
ประกอบด้วยญาณวิทยาและ 
อภิปรัชญาเป็นอย่างน้อย 
ได้แก่ แนวความคิดทจี่ะต้อง 
ประกอบด้วยพนื้ฐานปรัชญา 
และตัวปรัชญา คือจะต้อง 
ประกอบด้วยญาณวิทยาและ 
อภิปรัชญาเป็นอย่างน้อย
รัชญา (Systems of Philosophy) ต่อ 
ปรัชญาที่เป็นระบบแบ่ง 
ออกเป็น 2 แบบคือ 
ปรัชญาประยุกต์ ได้แก่ปรัชญาที่สามารถนำา 
ไปปฏิบัติได้ในชีวิตประจำาวัน 
แต่การนำาไปประยุกต์ใช้นั้นต้องประกอบด้วย 
อภิปรัชญา 
ปรัชญายุกต์ ได้แก่ปรัชญาที่สามารถนำา 
ไปปฏิบัติได้ในวิตประจำาวัน 
แต่การนำาไปปกใช้นั้นองระกอบวย 
อปรัญา 
ปปรัรัชชญาญาบบริสุสุททธิ์ ธิ์ ได้ได้แก่แก่ปรัชญาที่ว่าด้วยยททฤฤษษฎี 
ฎี 
หหรืรืออแนวคควาวามคิคิดดล้ล้ววน น ๆ ๆ ไม่ไม่เกี่ยยววกักับบการนำาไป 
ปประระยุยุกต์ต์ใช้ ใช้ หหรืรืออกาการรนำานำาไปไปปปฏิฏิบับัติ ติ มี มี 2 2 สาขา 
ขา 
คืคือ อ ออปภิปภิรัปรัปชรัชรัชญาชญาญา ญา ที่เป็และและนนระระญาญาบบบณบนี้ นี้ วิวิททาททายา 
ยา 
งงตะตะวัวันนตตก ก เริ่เริ่ม 
ม 
ต้นตั้งแต่สมัยของธาเลส เป็นต้นมา 
ทางตะวันออก เริ่มต้นตั้งแต่สมัยพระเวทของ 
อินเดียโบราณ เป็นต้นมา 
ต้นตั้งแต่สมัขอธาส เป็นทางวันอเริ่ของ 
อิเดียโบราเป็นต้นมา
ชญา (Branches of Philosophy) ต่อ 
ปรัชญา เป็นวิชาที่มีเนื้อหา 
กว้างขวาง เพราะเป็นต้นตอแห่ง 
สรรพวิชา วิชาการหรือศาสตร์ต่าง ๆ 
ล้วนแล้วแต่มีปรัชญาเป็นหลักทงั้นั้น 
จึงมีนักปราชญ์จำานวนมากที่พยายาม 
จะแบ่งแยกปรัชญาออกเป็นสาขาต่าง 
ๆ เพื่อนำาไปศึกษาได้ง่ายขึ้น จะ 
อย่างไรก็ตาม แม้นักปราชญ์จะ 
พยายามแบ่งแยกอย่างไรก็คงอยู่ใน 
ขอบเขต 3 เรื่องใหญ่ ๆ ซึ่งได้แบ่ง 
แยกไว้ตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ คือ 
อภิปรัชญา ญาณวิทยาและคุณวิทยา
ชญา (Branches of Philosophy) ต่อ 
สาขาของ 
ปรัชญาที่เป็นที่ 
ยอมรับโดย 
ทั่วไป จึงมี 3 
สาขาใหญ่ ๆ 
2. ญาณวิทยา 
(Epistemology) 
3. คุณวิทยา 
(Axiology) 
คือ 
1. อภิปรัชญา (Metaphysics) หรือ 
ภววิทยา (Ontology)
ชญา (Branches of Philosophy) ต่อ 
1. อภิปรัชญา (Metaphysics) หรือภว 
วิทยา (Ontology) 
อภิปรัชญา (Metaphysics) เป็นวิชาที่ว่า 
ด้วยความแท้จริงของสรรพสงิ่ เรียกอีกอย่าง 
หนงึ่ว่า ภววิทยา (Ontology) ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ 
ว่าด้วยความมีอยู่ ความเป็นอยู่ของสรรพสงิ่ 
โดยทั่วไปแล้วถือว่า สงิ่ที่มีอยู่ย่อมเป็นสงิ่ 
แท้จริง และสงิ่แท้จริงย่อมมีอยู่ ความมีอยู่กับ 
ความแท้จริงจึงเป็นอันเดียวกัน ดังนนั้ ทั้ง 2 
คำาจึงเป็นอันเดียวกัน ต่างแต่ว่า Ontology ใช้
ชญา (Branches of Philosophy) ต่อ 
อภิปรัชญาหรือภววิทยา มีขอบข่ายใน 
การศึกษา 3 เรื่องคือ 
อภิปรัชญาหรือภววิทยาว่าด้วย 
ธรรมชาติ ศึกษาเรื่องเอกภพหรือ 
ธรรมชาติ อภิปรัชญาหรือภววิทยาว่าด้วย 
จิต หรือวิญญาณ ศึกษาเรื่อง 
อภิปธรรรัชมญชาาหตริขืออภงวววิญิทญยาาวณ่า ด้วย 
พระเจ้า หรือสงิ่สัมบูรณ์ ศึกษา 
เรื่องธรรมชาติของพระเจ้า
ชญา (Branches of Philosophy) ต่อ 
2. ญาณวิทยา 
(Epistemology) 
คือทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) 
เป็นวิชาที่ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ธรรมชาติ 
และเหตุแห่งความรู้ที่แท้จริง ซงึ่เป็นการศึกษา 
ถึงรายละเอียดของความรู้ทั้งหมด เพื่อให้เห็น 
ความเป็นไป และตัดสินได้ว่าอะไรเป็นความ 
จริงแท้ ซึ่งเกิดจากความรู้ที่แท้จริง เป็นการ 
ศึกษาสภาพทั่ว ๆ ไปของความรู้อย่างกว้าง ๆ
ชญา (Branches of Philosophy) ต่อ 
3. คุณวิทยา (Axiology) แบ่ง 
ออกเป็น 4 ประเภทคือ 
- จริยศาสตร์(Ethics) เป็นวิชาที่ว่าด้วยหลัก 
แห่งความประพฤติ กล่าวถึงความดี ความชวั่ การ 
ตัดสินความดีความชั่ว เป็นการแสวงหาความดีอัน 
สูงสุด- สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) เป็นวิชาทวี่่า 
ด้วยความดี หลักการตัดสินความงาม องค์ประกอบ 
ของความงาม เป็นเรื่องเกยี่วกับศิลปะ เป็นการ 
แสวงหาความงามอันสูงสุด - ตรรกศาสตร์ (Logic) เป็นวิชาทวี่่าด้วยการ 
ให้เหตุผล การนิยามความหมายอันแท้จริง 
เป็นการแสวงหาความจริงอันสูงสุด อันประกอบ 
ด้วยอ-ุป เนทัยว วแิทลยะนาิร(นThัยeology) เป็นเรื่องของความ 
บริสุทธิ์ทางจิตใจ กล่าวคือหลักคำาสอนทางด้าน 
ศาสนา
ชญาตะวันออก 
ปรัชญาตะวันออก หมายถึง 
รัชญาตะวันออก หมายถึง 
คิเชิงปชญาในในอดีต อายธรรมที่เจเรืองตั้งแต่โบราณแบ่กว้าง ๆ ได้ 
งแนว คือ ปรัชอินเดีย และ 
รัชญาจีน 
แนวคิดเชิงปรัชญาในดินแดนเอเชีย 
ซึ่งในอดีต อารยธรรมที่เจริญ 
รุ่งเรือสสงออตั้งงอาอาแต่รโบยธรารรรรณมมที่แบ่ยิ่ยิ่งงงกใหใหว้าญ่ง ตั้ตั้ๆ งงแต่ 
ได้ 
แต่ 
สองแนว คือ ปรัชญาอินเดีย และ 
ปรัชญาจีน 
อดีตในซีกโลกตะวันออก (ทวีป 
เอเชีย) ได้แก่ อินเดียและจีน ถือ 
เป็นแหล่งกำาเนิดของภูมิปัญญา 
ตะวันออก นักปรัชญาตะวันออก 
สนใจความเป็นจริง แต่สงิ่ที่เป็น 
เอกลักษณ์สำาคัญของปรัชญาตะวัน 
ออก คือ ความสนใจต่อความเป็น 
จริงเพื่อการปฏิบัติตนมุ่งสู่การเป็น 
หนึ่งเดียวกับความเป็นจริง 
อตในซีโลกตะออก (ทเอเชี) แก่ อินเดียและจีน อ 
เป็แหล่กำาเนิดองมิญญา 
ตะวันออก นักปรัชญาตะวันออก 
สนใจวามเป็นจริง สงิ่เป็น 
เอกกษณ์สำาของปรัญาตะวัน 
อก ความต่อความน 
จริงเพื่อการปฏิบัติตนมุ่สู่การเป็หงเดียวกับความนจริง
ปรัชญา 
อินเดีย 
ชนเผ่าอารยัน (Aryan) เข้มแข็ง 
ฉลาด ได้เข้ามายึดครองดินแดนชมพู 
ทวีปที่กว้างใหญ่และมีชนพื้นเมือง 
หลายเผ่าพันธุ์ และมีการสร้าง 
อารยธรรม ซึ่งมีชอื่ “คัมภีร์พระเวท” 
มาเป็นต้นแบบและการจัดระบบการ 
ดำาเนินชีวิตในสังคม คัมภีร์พระเวทใน 
ระยะแรกมีลักษณะเป็นวิญญาณนิยม 
มีบันทึกว่ามีเทพเจ้ามากมาย แต่มีพูด 
ถึงเทพสำาคัญ สามองค์ ได้แก่ 
พระอินทร์ พระอัคนีและพระวรุณ ต่อ 
มาพัฒนาการเป็น “ตรีมูรติ” คือ พระ 
พรหม พระวิษณุ และศิวะ ในศาสนา 
บริบทและพื้นฐานของ 
บริบทและนฐานขง 
ปรัชญาอินเดีย 
รัชญาอินย
ปรัชญ 
าอินเดียทุก 
ระบบ ล้วน 
ได้รับ 
อิทธิพล 
จากคัมภีร์ 
พระเวททั้ง 
สนิ้ หลังยุค 
พระเวทเรา 
อาจแบ่ง 
ระบบ 
ปรัชญา 
กว้าง ๆ ได้ 
สองแนว 
คือ 
อินเดียทุก 
บบ ล้วน 
รับ 
ทธิล 
คัภีร์ 
ระเวททั้ง 
หลังยุระเวทเรา 
จแบ่ง 
บบ 
รัชญา 
ง ได้ 
งแนว 
อ 
ปรัชญา 
อินเดีย 
ต่อ 
ก. แนวนาสติกะ 
(Heterodox) 
ก. นาส(Heterodox) 
ข. แนวอาสติ 
กะ(Orthodox) 
. แนวอาติ 
(Orthodox)
ก. แนวนาสติกะ 
(Heterodox) 
ก. แนวนาสติกะ 
(Heterodox) 
ข. แนวอาสติ 
กะ(Orthodox) 
. แนวอาสติ 
(Orthodox) 
ปรัชญา 
อินเดีย 
ต่อ 
แนวคิดที่มี 
ลักษณะที่สอนตรงข้าม 
กับสิ่งทพี่ระเวทสอน มี 
สามแนวคิดสำาคัญคือ 
จารวาก ปรัชญาเชน 
และพุทธปรัชญา ซงึ่ 
ถือว่าได้รับอิทธิพลจาก 
พระเวทโดยอ้อม เพราะ 
ได้สร้างปรัชญาขึ้นมา 
ขัดแย้งกับพระเวท 
แนวคิดที่ดำาเนิน 
ตามและอธิบายเพิ่มเติม 
ในสิ่งทพี่ระเวทสอน 
เชื่อเรื่องพระเจ้าหรือ 
เชอื่เรื่องความขลัง 
ความศักดิ์สิทธิ์ของ 
พระเวท ประกอบด้วย 
แนวปรัชญา 6 สำานัก 
ซึ่งถือว่าได้รับอิทธิพล 
จากพระเวทโดยตรง 
คือ สางขยะ เวทานตะ 
โยคะ มีมางสา นยายะ 
ไวเศษิกะ
ปรัชญา 
อินเดีย 
ต่อ 
ลักษณะโดยรวมของปรัชญา 
อินเดีย (ปรัชญาอินเดียโบราณ) 
ลักษณะโดยรมขอรัชญา 
อิเดีย (รัชญาอินเดียโบราณ) 
ปรัชญาอินเดีย มี 
ลักษณะทั้งทฤษฏี และภาคปฏิบัติ ซึ่ง 
ควบคไู่ปด้วยกัน โดยมีพื้นฐานจาก 
ศาสนา (ยกเว้นลัทธิจารวาก) ปรัชญา 
อินเดียจึงมีลักษณะขยายความคำาสอน 
ของศาสนา โดยให้หลักเหตุผลเป็น 
เครื่องมือ จึงมีลักษณะเป็นปรัชญา 
ศาสนา ในแบบปรัชญาชีวิต
ปรัชญา 
อินเดีย 
ต่อลัลักกษษณะณะโดโดยยรรวมมขขอองปรัรัชชญา 
ญา 
อิอินเดีเดีย ย ((ปรัรัชชญาญาอิอินนเดีเดียยโบโบราราณณ) 
) 
1. ถือว่าชีวิตเป็น 
ทุก ข 2์. เน้นเรื่อง 
สัง ส3า. ร วัฏ เน้นจุดหมาย 
สูงสุดของชีวิต 
4. เน้นภาคปฏิบัติ 
5. ถือว่าอาตมัน 
หรือวิญญาณเป็นอัมตะ
ปรัชญา 
อินเดีย 
ต่อ 1. ถือว่าชีวิตเป็น 
ลักษณะโดยรวมของปรัชญา 
ษณะโดยรวมองปรัชญา 
อินเดีย (ปรัชญาอินเดียโบราณ) ต่อ 
อินย (ปรัชญาอินยโบราณ) ต่อ 
ทุกข์ ปรัชญาอินเดียถือว่า เมื่อมีชีวิต 
เกิดขึ้นมาแล้ว ก็ต้องประสบทุกข์กาย 
และทุกข์ใจนานาประการ เช่น แก่ เจ็บ 
ตาย หิวกระหาย ร้อนหวาน ปวดเจ็บ 
ความผิดหวัง และความเสียใจเป็นต้น 
ปรัชญาอินเดียถึงแม้ว่าจะสอนว่าชีวิต 
เป็นทุกข์ แต่ก็ไม่ได้สอนให้อยกูั่บความ 
ทุกข์
ปรัชญา 
อินเดีย 
ต่อ 
2. เน้นเรื่องสังสารวัฏ คือการ 
ลักษณะโดยรวมของปรัชญา 
ษณะโดยรวมองปรัชญา 
เวียนว่ายตายเกิด ปรัชญาอินเดียถือว่า 
ชีวิตไม่ใช่เพิ่งเริ่มต้นจากครรภ์มาดา 
ในชาตินี้ หากแต่ว่าได้มีมาก่อนหน้า 
นี้ เพียงแต่อาศัยครรภ์มารดาเป็น 
ปรากฏการณ์ในชาติหนงึ่เท่านนั้ ชีวิต 
ไม่ได้สิ้นสุดที่กองฟอนหรือที่หลุมฝังศพ 
เท่านนั้ และต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ 
เรื่อยไปตราบที่ยังกิเลส คนอาจเกิดเป็น 
สัตว์ สัตว์อาจเกิดเป็นคน ทั้งนกี้็ขึ้นอยู่ 
กับกรรมหรือการกระทำาของเขาเป็น 
เหตุ ทำาดีได้ดีทำาชวั่ได้ชวั่ กฎแห่งกรรม 
อินเดีย (ปรัชญาอินเดียโบราณ) ต่อ 
อินย (ปรัชญาอินยโบราณ) ต่อ
ปรัชญา 
อินเดีย 
ต่อ 
ลักษณะโดยรวมของปรัชญา 
ษณะโดยรวมองปรัชญา 
อินเดีย (ปรัชญาอินเดียโบราณ) ต่อ 
อินย (ปรัชญาอินยโบราณ) ต่อ 
3. เน้นจุดหมายสูงสุด 
ของชีวิต เมื่อชีวิตเป็นทุกข์ก็สอน 
ถึงจุดหมายสูงสุดของชีวิตได้ด้วย 
ซึ่งมีชอื่ต่างกันเช่น นิพพาน โมก 
ษะ และไกวัลยะ
ปรัชญา 
อินเดีย 
ต่อ ลักษษณะณะโดโดยยรรววมเน้มข4. นออภางงปปครัรัชปชญา 
ฏิญา 
บัติ คน 
อินเดีย (ปรัชญาอินเดียโบราณ) ต่อ 
อินย (ปรัชญาอินยโบราณ) ต่อ 
อินเดียถือว่า ปรัชญาเป็นส่วน 
สำาคัญของชีวิต เมอื่ลัทธิใดมี 
ปรัชญาอะไรขึ้นมา พวกสาวกของ 
ลัทธินนั้ ก็นำามาเป็นปรัชญาชีวิต 
เพื่อเป็นประทีปส่องทางให้แก่ชีวิต 
ของตน พวกเขาได้ช่วยกันรักษา 
ปรัชญานนั้ไว้ให้มีชีวิตอยู่ ทั้งที่ 
อนุชนรับสืบทอดต่อไป
ปรัชญา 
อินเดีย 
ต่อ 
ลักษณะโดยรวมของปรัชญา 
ษณะโดยรวมองปรัชญา 
อินเดีย (ปรัชญาอินเดียโบราณ) ต่อ 
อินย (ปรัชญาอินยโบราณ) ต่อ 
5. ถือว่าอาตมันหรือ 
วิญญาณเป็นอัมตะ วิญญาณเป็น 
อมตะไม่ตายไปตามร่างกาย เมื่อ 
ร่างกายครำ่าคราหรือชำารุดใช้ไม่ได้ 
อีกแล้ว วิญญาณก็จะออกจากร่าง 
ไปถือเอาใหม่ในภพภูมิต่อไป
ปรัชญา 
อินเดีย 
ต่อ กาการรจัจัดดปประเภททปปรัรัชชญาอิอินนเดีเดีย 
ย 
แบ่แบ่งงเป็เป็น 2 2 พพวก ก โดโดยแบ่แบ่งงตามมการ 
นันับบถืถืออเกี่เกี่ยยววกับบคัมภีภีร์พพระระเวเวท 
ท 
1.ปรัชญานาสติกะ 
โดยเป็นปรัชญาที่ไม่เชื่อ 
ในความศักดิ์สิทธิ์ของ 
คัมภีร์พระเวท 2.ปรัชญาอาสติกะ 
โดยเป็นปรัชญาที่เชื่อใน 
ความศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีร์ 
พระเวท
ปรัชญา 
อินเดีย 
ต่อ 
-ปรัชญา 
จารวาก 
-ปรัชญา 
เชน 
พุทธ 
ปรัชญา 
พุทธ 
ปรัชญา 
สำานัก 
มาธยมิ 
กะ 
พุทธ 
ปรัชญา 
สำานักไว 
ภาษิกะ 
พุทธ 
ปรัชญา 
สำานักเสา 
ตรานติกะ 
พุทธ 
ปรัชญา 
สำานักโย 
คาจาร 
ปรัชญานา 
สติกะ 
ได้แก่
ปรัชญา 
อินเดีย 
ต่อ 
ปรัชญาน 
ยายะ 
ปรัชญา 
ไวเศษิกะ 
ปรัชญา 
สางขยะ 
ปรัชญา 
โยคะ 
ปรัชญามี 
มางสา 
ปรัชญาวิ 
ศิษฏาไทฺ 
วตะ 
เวทานตะ 
ปรัชญาอ 
ไทฺวตะ 
เวทานตะ 
ปรัชญา 
เวทานตะ 
ปรัชญาอา 
สติกะ 
ได้แก่
ปรัช 
ญา 
จีน 
ปรัชญาจีนเกิดขึ้นมานานหลาย 
พันปีและมีมากมาย ทั้งนกี้็เพราะ 
ประเทศจีนเป็นประเทศใหญ่ที่สุดใน 
เอเชีย และมีประชากรมากที่สุดใน 
โลกดังกล่าวแล้ว จึงเป็นธรรมดาที่จะ 
ต้องมีนักคิดนักค้นคว้าในเรื่องต่างๆ 
อยมู่าก ประเทศจีนจึงได้ชอื่ว่าเป็น 
แหล่งอารยธรรมสำาคัญแห่งหนึ่งของ 
โลก เพราะมีความเจริญก้าวหน้าและ 
มีวิทยาการต่างๆ มากมาย เมอื่กล่าว 
ถึงปรัชญาแล้ว ปรัชญาจีนถึงแม้จะมี 
มากอย่างที่เรียกว่า ปรัชญาร้อย 
สำานัก แต่เมอื่กล่าวถึงสำานักใหญ่ๆ ที่มี 
ผลงานตกทอดมาถึงปัจจุบันก็มี 4
ปรัชญา 
จีน ต่อ 
1. สำานักปรัชญา 
เต๋า สำานักนี้มีเหลาจื้อหรือเล่าจื้อ 
เป็นหัวหน้า และนักปรัชญาอนื่ๆ ที่ 
สำาคัญของสำานักนกี้็มี 
จวงจื้อหรือจังจื้อ ปรัชญาในสำานัก 
นมีี้เต๋าเป็นจุดหมายสูงสุด เต๋าเป็น 
นามธรรม แต่ก็เป็นบ่อเกิดของ 
สรรพสงิ่ คอยหล่อเลี้ยง 
สรรพสงิ่ และเป็นจุดหมายสูงสุด 
ของสรรพสงิ่ เพราะฉะนนั้ทุกสงิ่ 
เกิดขึ้นได้เพราะเต๋า ตำารงอยู่ได้ 
เพราะเต๋า และกลับคืนสเู่ต๋าอีก
ปรัชญา 
จีน ต่อ 2. สำานักปรัชญาขงจื้อ มี 
ขงจื้อเป็นหัวหน้า นักปรัชญาที่ 
สำาคัญของสำานักนี้นอกจากขงจื้อก็ 
มี เม่งจื้อ และซนุ่จื้อ ปรัชญาสำานัก 
นมีุ้่งสอนให้คนกลับสอู่ดีตเช่นกัน 
จะต่างกันก็คือแทนที่จะเน้น 
ธรรมชาติกลับเน้นจารีตประเพณี 
ดนตรีและคุณธรรมที่ 
ดีงามในอดีต
ปรัชญา 
จีน ต่อ 3. สำานักปรัชญาม่อจื้อ มี 
ม่อจื้อเป็นหัวหน้า ปรัชญาสำานักนี้ 
แตกต่างกับปรัชญาทั้งสำานักเต๋า 
และสำานักขงจื้อ เพราะทั้ง 2 สำานัก 
เน้นเรื่องอดีตดังที่กล่าวมาแล้ว 
ส่วนสำานักม่อจื้อเน้นปัจจุบันเท่านนั้ 
ม่อจื้อเชื่อว่าอดีตเป็นความผันผ่าน 
ไปแล้วก็ไม่อาจหวนกลับมาอีก 
กาลเวลาผ่านไปทุกอย่างก็ผ่านไป 
เช่นกัน
ปรัชญา 
จีน ต่อ 
4. สำานักปรัชญานิติ 
นิยม โดยมีฮนั่เฟยจื้อเป็นตัวแทน 
ปรัชญาสำานักนี้ชี้ให้เห็นว่าอำานาจ 
และกฎหมายมีความจำาเป็น และ 
สำาคัญที่สุดในการนำาความสงบสุขมา 
สบูุ่คคลและสังคม ทั้งนกี้็เพราะฮนั่ 
เฟยจื้อได้รับอิทธิพลจากปรัชญาของ 
ซุ่นจื้อซึ่งเป็นอาจารย์ของตนว่า 
ธรรมชาติแท้หรือจิตสันดานของคน 
มีแต่ความเลวร้าย จึงจำาเป็นต้องใช้ 
อำานาจและกฎหมายมาเป็นเครื่อง 
ควบคุม
ปรัชญา 
จีน ต่อ 
สำานักปรัชญาจีนถึงแม้จะมีมาก แต่ 
เมอื่กล่าวถึงสำานักทสี่ำาคัญก็มีเพียง 4 
สำานักดังกล่าวแล้ว หรือเมอื่กล่าวถึงนัก 
ปรัชญาทสี่ำาคัญก็มี 8 คน จากสำานักทงั้ 4 
นนั้ก็มี เหลาจื้อ ขงจอื้ ม่อจื้อ หยางจื้อ 
เม่งจื้อ จวงจื้อ ซุ่นจื้อ และฮั่นเฟ่ยจื้อ 
ปรัชญาทงั้ 4 สำานักเกิดขึ้นในสมัยราช 
วงศ์โจว ซงึ่นักปรัชญาถือว่าเป็นสมัยทอง 
แห่งปรัชญา ส่วนปรัชญาสำานักอื่นๆ ทเี่กิด 
ขึ้นภายหลัง ต่างก็อ้างปรัชญาในสมัยราช 
วงศ์โจวเป็นหลักด้วยกันทงั้นนั้ เพราะ 
ฉะนั้นปรัชญาทงั้ 4 สำานักจึงเป็นสายธาร 
ใหญ่ที่แตกตัวออกไปเป็นลำาธารสาขา 
ต่างๆ
ปรัชญา 
จีน ต่อ 
ปรัชญาทั้ง 4 สำานักถึงแม้จะขัด 
แย้งกัน แต่ในที่สุดก็ช่วยกันหล่อ 
หลอมเป็นลักษณะปรัชญาจีนขึ้นมา 
นั่นก็คือเน้นภาคปฏิบัติมากกว่าภาค 
ทฤษฎี เน้นจริยศาสตร์มากกว่าสติ 
ปัญญา เน้นรูปธรรมมากกว่า 
นามธรรม เน้นชาตินมี้ากกว่าชาติ 
หน้า เน้นการเป็นปรัชญามากกว่า 
เป็นศาสนา
ปรัชญา 
จีน ต่อ 
ปรัชญาจีนทั้ง 4 สำานัก ได้เจริญ 
รุ่งเรืองตลอดมา จะตกตำ่าบ้างก็บาง 
คราว แต่ที่ต้องมาตกอับมากที่สุดก็ 
ในรัชสมัยของ 
พระเจ้าจิ๋นซีอ๊วง เพราะพระองค์มี 
พระราชโองการให้เผาคัมภีร์และ 
ทำาลายล้างนักปราชญ์ต่างๆ ดังกล่าว 
แล้ว แต่หลังจากนนั้แล้วปรัชญาบาง 
สำานักก็เริ่มฟื้นตัวขึ้น โดยมาในรูป 
ใหม่เพราะผสมผสานกับปรัชญา 
ต่างๆ ทั้งในและนอกประเทศ สำานัก 
ที่สำาคัญก็มี 
สำานักเต๋าใหม่ และสำานักขงจื้อใหม่
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ปรัชญาตะวันตก หมายถึง 
ตะนตหมายถึง 
แนวคควาวามคิคิด ด หลัลักกกาการ ร คควาวามมรู้ทาง 
ปรัชญาที่ที่เกิเกิดดขึ้ขึ้นนในในซีซีกกโลโลกกตะตะวัวัน 
น 
ตกทั้งงหหมมด 
ด 
ซึ่งนันักกปรัรัชชญาญาเมเมธีธีเชเชอื้อื้ชาชาตินนั้นั้นๆ ๆ ทาง 
ซีกโลโลกกตะตะวัวันนตตกกได้ 
ได้ 
คิดค้ค้นขึ้ขึ้น น ก่ก่ออให้ให้เกิเกิดดขึ้ขึ้นนหหรืรืออตั้ตั้ง 
ง 
สำานักกขึ้ขึ้น น โดยยปกติแล้ววมัมักจะ 
จะ 
ถืออกันนว่า ว่า ปปรัรัชชญาญาตะตะวัวันนตตกกเริ่เริ่มมก่ก่อ 
อ 
ตัวขึ้ขนนึ้ปประระมามาณ ณ 600 600 ปี 
ก่ออนคริริสสต์ต์ศัศักกราราช และเมเมื่อื่อเกิดดขึ้น 
น 
ก็ได้ได้มีมีควาวามเจเจริญ วิวิวัวัฒฒนานากาการรทาง 
ง 
ด้านนคควาวามมรู้ รู้ คความคิคิดดเรื่เรื่ออยมาจน 
น 
กระระทั่งงปัปัจจจุบัน
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
ปรัชญาตะวันตกแบ่ง 
ยุคได้ดังนี้ 
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ยุคกลาง 
ปรัชญา 
ตะวันตก 
สมัยใหม่ 
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ยุค 
โบราณ 
ปรัชญา 
ตะวันตก 
สมัย 
ปัจจุบัน
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ จากการศึกษาย้อนหลัง ไปอย่าง 
ปรัชญาตะวัน 
ตก ยุคโบราณ 
น้อยที่สุดในศตวรรษที่ 4 
ก่อนคริสต์ศักราชต่อเนื่องกันมาจนถึง 
ปัจจุบันต้องถือว่านักปรัชญา 
คนแรกของกรีซ คือ ธาเลส เหตุผลที่ 
ส่งให้เป็นปรัชญาคนแรกของกรีก ก็ 
เพราะว่าเป็นคนแรกที่อธิบายเรื่อง 
จุดกำาเนิดของโลกโดยใช้เหตุผลตาม 
ธรรมชาติ ไม่มีเรื่องของเทววิทยาเข้า 
มาเกี่ยวข้อง
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
โดยธาเลส กล่าวว่า ทุกสงิ่ทุก 
ปรัชญาตะวัน 
ตก ยุคโบราณ 
อย่างเกิดจากนำ้า ซึ่งเป็นคำาอธิบายที่ 
วางพื้นฐานอยู่ที่การค้นหาซากสัตว์ 
ทะเล กลายเป็นหิน ที่เขาค้นพบใน 
บริเวณพื้นดินอยู่ห่างจากฝั่งทะเล 
มาก 
ลูกศิษย์ของธาเลสผู้สร้างทฤษฎี 
ต่อจากเขาคือ 
อแนกซิแมนเดอร์ แห่งไมเลตุส เป็นผู้ 
พยายามให้คำาอธิบายเรื่อง 
จุดกำาเนิดและพัฒนาการของโลก 
อย่างละเอียด
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ ทฤษฎีของ อแนกซิแมนเดอร์ 
ปรัชญาตะวัน 
ตก ยุคโบราณ 
ล่าวว่าโลกพัฒนามาจาก 
อไพรอน ซึ่งมีสภาวะเป็นทั้งอนันต์ 
และนิรันดร อแนกซิแมนเดอร์สร้าง 
ทฤษฎีพัฒนาการของสิ่งมีชีวิตอย่าง 
ละเอียดยิ่งขึ้นไปอีก 
ทฤษฎีของอแนกซิแมนเดอร์ กล่าวว่า 
“ชีวิตมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ 
ความชื้นและมีจุดกำาเนิดอยู่ในท้อง 
ทะเล”
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ นักปรัชญาสื่อต่อจากอแนกซิแมนเดอร์ คือ 
ปรัชญาตะวัน 
ตก ยุคโบราณ 
อแนกซิมีนิส กล่าวว่า อากาศ คือ จุดกำาเนิดของ 
ทุกสิ่งทุกอย่างและยังกล่าวต่อไปอีกว่า มีสสาร 
ชนิดหนงึ่เกิดขึ้นในอากาศเพราะการกลั่นตัว 
โดยวิธีนี้ คือสิ่งทธี่าเลสถือว่าเป็นจุดเริ่มต้น 
กลายเป็นกฎพื้นฐาน ซึ่งยังคงมีความสำาคัญอยู่ 
อย่างเดิมของพัฒนาการของชีวิต และพื้นฐาน 
ลึกลงไป จึงมีกฎอนุรักษ์คือ “กฎดำารงไว้ของ 
สสาร แรง และพลังงาน” ว่าไม่มีการสูญหายไป 
จากโลกนี้ และกลายเป็นกฎขนั้พนื้ฐานในการ 
พัฒนา วิชาฟิสิกส์ในเวลาต่อมา
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ ปรัชญาปรัตะชญาวันตะตก 
วันตกยุคกลางหรือสมัย 
ยุคกลาง 
กลางเป็นลักษณะของปรัชญาที่ 
ประนีประนอมคริสต์ศาสนากับปรัชญา 
กรีก ในครึ่งแรกแห่งยุคก็ประนีประนอม 
โดยใช้ปรัชญาของเพลโตอธิบายคำาสอน 
แนวคิดศาสนา ได้ชื่อลัทธิว่า ปรัชญา 
ปิตาจารย์ หรือลัทธิปิตาจารย์นิยม ใน 
ครึ่งหลังแห่งยุค 
นักปรัชญาหันมานิยมใช้ปรัชญาของ 
อริสโตเติลอธิบาย ได้ชื่อลัทธิว่า ปรัชญา 
อัสมาจารย์ หรือลัทธิอัสมาจารย์นิยม 
ครึ่งหลังนี้มีการพยายามใช้ตรรกวิทยา 
สร้างระบบความคิดกันอย่างจริงจัง
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ กลุ่มลัทธิปรัชญาที่สำาคัญใน 
1. ปรัชญาปิตาจารย์ มีระยะ 
เวสลามัยถึกงลาคริง สได้ต์ศแก่ 
ตวรรษ 
ที่ 8 นักปรัชญาสมัยนเี้ป็นพระ 
นักบุญที่ประชาชนนับถือว่าเป็น 
ท่านพ่อ ซึ่งได้พยายามนำาเอา 
หลักปรัชญากรีกมาอธิบายตาม 
หลักศาสนาเพื่อสนับสนุนความ 
เชื่อถือเทวนิยมใน 
ศาสนาคริสต์ 
เซนต์ ออกัสติน เป็นนักปรัชญา 
คนสำาคัญ
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ กลุ่มลัทธิปรัชญาที่สำาคัญใน 
สมัยก2ล. าปงรัชไดญ้แากอั่สมาจารย์ อยู่ 
ในระยะเวลาคริสต์ศตวรรษ ที่ 9- 
15 นักปรัชญากลุ่มนี้ล้วนเป็น 
นักบวชคนสำาคัญ เช่น เซนต์ 
โธมัส อโควนัส ส่วนใหญ่ 
เป็นการใช้ปรัชญาอริสโตเติล 
อธิบายศาสนาคริสต์ตามหลัก 
เหตุผล
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ กลุ่มลัทธิปรัชญาที่สำาคัญใน 
สมัย3ก. ลปารงัช ไญดา้แอกิส่ลาม อยใู่น 
ระหว่างเวลาคริสต์ศตวรรษ 
ที่ 10 -11 มีลักษณะเป็นการนำา 
เอาปรัชญาเพลโตและอริสโตเติล 
มาอธิบายหลักศาสนาอิสลาม นัก 
ปรัชญาที่สำาคัญ ได้แก่ อิบเบิน ซี 
นา หรือ อวีเซนนา อิบเบิน รูชด์ 
หรือ อเวอร์โรเอส
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ 
ปรัชญาตะวันตก 
(ค.ศ. 1600 - 1700 ) เริ่มขึ้นด้วย 
การคัดค้านแนสมัวคยใหวามม่ 
คิดทาง 
ปรัชญาของสมัยกลางที่เน้นหนัก 
ในเรื่องศรัทธาในพระเจ้าของ 
ศาสนาคริสต์ 
ที่มุ่งการประนีประนอม ความเชื่อ 
หรือศรัทธาในคริสต์ศาสนา ซึ่ง 
ในตอนนั้นได้พยายามเอาปรัชญา 
ของเพลโตมาอธิบายคำาสอน 
ศาสนาคริสต์ และต่อมาได้นำาเอา 
ปรัชญาของอริสโตเติลมาอธิบาย 
คำาสอนของศาสนาคริสต์
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
ปรัชญาตะวันตก 
เรื่องทนีั่กสปมรััชยญใหาสมมั่ยใหม่สนใจ 
ก็คือ วิธีหาความจริงตามแบบ 
ตรรกวิทยา และระบบใหม่ทาง 
วิทยาศาสตร์ วิวัฒนาการเริ่มจากยุค 
ฟื้นฟูศิลปวิทยาโดยพระเจ้าชาร์ 
ลมาลย์ ได้หยิบยกปัญหาใหม่ที่ควรได้ 
ตอบโดยวิธีการทางตรรกวิทยา และ 
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา 
ในสมัยนี้ได้ยำ้าเป็นพิเศษในเรื่อง 
ประสบการณ์ และความสมบูรณ์ของ 
วิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งปัญหาทั้งสองนี้ 
นักปรัชญาในสมัยกลางได้มองข้ามไป
ปรัชญาตะวันตก 
ระบบแนวความคิดแบบ 
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
สมัยใหม่ 
วิทยาศาสตร์ เป็นวิธีการอาศัย 
ประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสเป็น 
หลักในการตัดสินแบบวิทยาศาสตร์ 
เป็นวิธีการอาศัยประสบการณ์ทาง 
ประสาทสัมผัสเป็นหลักในการตัดสิน 
ความรู้ระบบนี้ เรื่องว่า 
ประสบการณ์นิยม มีจอห์น ลอค , 
จอร์จ บาร์คลีย์ , เดวิด ฮิวม์ 
เป็นผู้สนับสนุนทฤษฎีนี้
ปรัชญาตะวันตก 
แนวความคิดระบบคณิตศาสตร์ 
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
สมัยใหม่ 
เป็นวิธีที่จะหาความจริงได้อย่างถูก 
ต้อง แม่นยำา และแน่นอน กว่าของ 
ฝ่ายประสบการณ์นิยม เพราะวิธีการ 
ของคณิตศาสตร์สามารถดำาเนินไป 
เป็นชนั้ๆ อย่างมีเหตุผล จากง่ายไป 
หายาก ให้ความจริงสากลระบบนี้ 
เรียกว่า เหตุผลนิยม มี เดการ์ต 
เป็นผนู้ำา 
สปิโนชา ไลบ์นิช เป็นผู้สนับสนุน
ปรัชญาตะวันตก 
สมัยใหม่ 
มานูอิมเอ็ล ค้านท์ ได้ค้นพบข้อ 
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
บกพร่องของปรัชญาทั้งสอง (แบบ 
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์) จึง 
วางแนวความคิดใหม่ โดยพยายาม 
ประนีประนอมปรัชญาทั้งสองสาย 
โดยชี้ให้เป็นความบกพร่องของวิธี 
การทั้งสองสายและประสานปรัชญา 
ทั้งสองนั้นเข้าด้วยกันอย่างมีเหตุผล
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
ปรัชญาตะวันตก สมัย 
ปัจจุบันเริ่มต้นหลังจากปีที่ ค้า 
นท์สิ้นชีวิต เป็นต้นมาจนถึง 
ปัจจุบัน ปรากฏว่าแนวความคิด 
ของค้านท์มีอิทธิพลต่อนัก 
ปรัชญาสมัยนี้มาก แทบทุกคน 
จะเชื่อทฤษฎีของค้านท์ที่ว่า 
สมรรถภาพในการคิดของทุก 
คนมีกลไกคล้ายคลึงกัน จึงได้ 
รับความรู้คล้ายๆกัน
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
1. อัชฌัตติกญาณนิยม เชื่อว่า 
ความรู้ที่ได้รับประสาทสัมผัสและจาก 
การคิดหาเหตุผลนั้นไม่ถูกต้องเที่ยง 
ตรงเสมอไป ความรู้ที่เกิดจากการ 
หยงั่รู้เป็นความรู้ที่ แน่นอน อัชฌัตติก 
ญาณ เป็นสิ่งเดียวกับเหตุผลเชิงปฏิบัติ 
ของค้านท์ ซงึ่จะต้องได้รับการฝึกฝน 
จนถึง 
ขั้นสมบูรณ์แบบจึงจะใช้การได้ คือ 
สามารถมองเห็นความเป็นจริงได้
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
1. จิตนิยมแบบ 
เยอรมัน 
 นักปรัชญาคนสำาคัญ 
ได้แก่ เอเกล 
2. ชีวิตนิยม 
 นักปรัชญาคนสำาคัญ 
ได้แก่ แบร์กซอง 
3. สสารนิยมและปฏิ 
พัฒนา 
 นักปรัชญาคนสำาคัญ
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
2. ปฏิบัตินิยม ลัทธินี้ยึดถือ 
ว่าปัจจุบันสำาคัญกว่าอนาคต สิ่ง 
ที่ปฏิบัติแล้วได้ผลดีถือว่าถูก 
ต้อง ถ้าปฏิบัติแล้วไม่ดีก็ต้อง 
ปรับปรุงให้ดีขึ้นนักปรัชญาคน 
สำาคัญ เช่น 
วิลเลียม เจมส์ จอห์น ดิวอี้
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
3. ปฏิฐานนิยม ลัทธินี้ 
ยึดสิ่งที่เป็นความจริงคือ สิ่ง 
ที่เรารู้ได้ด้วยวิธีการทาง 
วิทยาศาสตร์ ความรู้ทาง 
ศาสนาและปรัชญาเป็นสิ่งไม่ 
จริง นักปรัชญาคนสำาคัญ 
ได้แก่ กองต์
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
4. ปฏิฐานนิยมใหม่ ลัทธินี้ 
ยึดถือสิ่งที่สามารถทดสอบถือว่า 
เป็นจริงสามารถทดสอบได้ด้วยวิธี 
การทางฟิสิกส์ถือว่าเป็นจริง นัก 
ปรัชญาคนสำาคัญ คือชลิก 
5. อัตถิภาวนิยม ลัทธินยีึ้ดถือ 
มนุษย์ว่ามีเสรีภาพที่จะคิดอะไรได้ 
โดยไม่ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลอะไร 
เลย นักปรัชญาคนสำาคัญได้แก่ 
ชาร์ตร์ ไฮเด็กเกอร์
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
6. สัจนิยมใหม่ ลัทธินี้ยึดถือว่า 
ปัจจุบันมนุษย์ไม่ประจักษ์ชัดว่ากลไก 
ของสมองทำางานอย่างไร จึงยังไม่ 
แน่ใจว่าความรู้จากประสาทสัมผัสกับ 
การคิดหาเหตุผลอันไหนถูกต้อง ฉะนั้น 
ควรยึดหลักผสมผสานระหว่างประสาท 
สัมผัสกับการคิดหาเหตุผลไปก่อน นั้น 
ก็คือหลักของทฤษฎีอนุมานนิยมของค้า 
นท์นนั่เอง นักปรัชญาคนสำาคัญ คือ 
มัวร์ 
รัสเซล เป็นต้น
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
7. อัสมาจารย์นิยมใหม่ 
ลัทธินี้ยึดถือ 
ปรัชญาอัสมาจารย์สมัยกลาง 
หลอมแนวคิดปรัชญาทั้งทาง 
ตะวันตกและตะวันออกเข้าด้วย 
กัน เป็นปรัชญาใหม่ที่สมบูรณ์ 
ที่สุด เรียกว่า ปรัชญาสากล นัก 
ปรัชญาคนสำาคัญได้แก่ มารีแตง
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
8. ปรัชญาวิเคราะห์ ลัทธินี้ 
ยึดถือว่าความขัดแย้งในเรื่อง 
ทัศนะทางปรัชญาโบราณ ซึ่งเกิด 
จากความบกพร่องในด้านภาษาที่ 
ใช้ กับความบกพร่องในด้าน 
กระบวนการดำาเนินเหตุผล ถ้า 
ขจัดปัญหา 2 ประการนี้ ความยงุ่ 
ยากในแวดวงปรัชญาก็จะหมดไป 
นักปรัชญาคนสำาคัญ ได้แก่ 
วิตเกน สไตน์
ปรัชญา 
ตะวันตก 
ต่อ 
ดังนั้น ความเชื่อของมนุษย์เมื่อ 
ประมาณสองพันกว่าปีมานี้ เริ่มหันเหความ 
คิดออกจากเรื่องพระเจ้าสร้างสิ่งต่างๆ โดย 
ตั้งสมมติฐานใหม่ว่า สรรพสิ่งในโลกเกิดจาก 
ดิน นำ้า ลม ไฟ อากาศ ปรมาณู เป็นต้น 
แนวความคิดนี้คือจุดเริ่มต้นของปรัชญาสมัย 
แรก และมีการพัฒนาจนถึงปัจจุบัน ทำาให้ 
แนวความคิดแยกออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 
จิตนิยม กับ วัตถุนิยม และเห็นว่าความ 
แท้จริงมีนามธรรมกับรูปธรรม นามธรรม 
สัมผัสได้ด้วยจิตหรือความคิด เท่านนั้ ส่วน 
รูปธรรมจะสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
อ้างอิง 
บ้านจอมยุทธ. (2543). ความหมายและความเป็นมาของวิชา 
ปรัชญา. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม, 2557, 
จาก 
http://www.baanjomyut.com/library_2/extension3/history_of_phi 
losophy/01.html 
พิม แว่นทิพย์. (2552). ปรัชญาจีน-อินเดีย. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 
สิงหาคม, 2557, จาก http://www.gotoknow.org/posts/274231 
พิม แว่นทิพย์. (2552). ปรัชญาตะวันออก. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 
สิงหาคม, 2557, จาก http://www.gotoknow.org/posts/274231 
ศรีรักษ์ เรืองรัตน์. (2553). สรุปปรัชญาตะวันตก. สืบค้นเมื่อวันที่ 
3 สิงหาคม, 2557, 
จาก http://www.l3nr.org/posts/390097
คณะผู้ 
จัดทำา 
1. ประภสัสร โนนทราย รหัสนักศึกษา 
2. 56182400106 
นางสาวรมณ บูรณ์เจริญ รหสันักศึกษา 
56182400109 
3. นางสาวรุ่งนภา จุไร รหัสนักศึกษา 
45.6 น18า2ง4ส0า0ว1ก1ติ2ติยา เรืองประคำา รหสันักศึกษา 
55.6 น18า2ง4ส0า0ว1อ1ัญ4ญารักษ์ มะลิวงศ์ รหัสนักศึกษา 
56.6 น18า2ย4ว0ีร0ะ1ศ1ัก6ดิ์ ทรงกลด รหสันักศึกษา 
57.6 น18า2ย4ส0ิท0ธ1ิศ23ักดิ์ ฤกษ์ศรี รหสันักศึกษา 
58.6 น18า2ง4ส0า0ว1อ2ภ4ดิา จันทร์ทอง รหสันักศึกษา 
59.6 น18า2ง4ส0า0ว1พ2ัฒ6น์นรี บุญมา รหสันักศึกษา 
56182400131 
สาขา วท.บ.สถิติประยุกต์ ควบ ค.บ.คณิตศาสตร์ หมู่1
ขอบคุณครับ/ค่ะ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกPadvee Academy
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนsupphawan
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 

La actualidad más candente (20)

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนน
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 

Similar a ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก

9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349CUPress
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา solarcell2
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Jirakit Meroso
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สินSorasak Tongon
 
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สินSorasak Tongon
 

Similar a ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก (20)

9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
6.3
6.36.3
6.3
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
 
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
 

ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก

  • 2. ความหมายของปรัชญา (Meanings of Philosophy) คำาว่า “ปรัชญา” เป็นศัพท์ที่พระเจ้าว รวงศ์เธอ กรมหมนื่นราธิปพงศ์ประพันธ์ (พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร) ทรงบัญญัติ ขึ้นเพื่ปอปฺใช้รฺร คปปกูั่รระะบเเสคำาสรริภาฐิฐ ษาอังกฤษว่า 11.. :: “Philosophy” เป็นคำามาจากรากศัพท์ภาษา สันสกฤต 2 คำาคือ 22.. ชชฺญฺญาา :: คคววาามรรู้,ู้, รรู้,ู้, เเขข้า้าใใจจ เมื่อรวมกันแล้ว เป็น “ปฺรชฺญา” (ปรัชญา) แปลว่า ความรู้ อันประเสริฐ เป็นวิชาที่ว่าด้วยหลัก แห่งความรู้และความจริง
  • 3. ความหมายของปรัชญา (Meanings of Philosophy) ต่อ ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้นิยามความหมายของคำาว่า “ปัญญา” เอาไว้ว่า “ความรู้แจ้ง, ความ รอบรู้, ความสุขุม, ความฉลาด” และนิยาม ความหมายของคำาว่า “ปรัชญา” ว่าเป็นวิชา ที่ว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง หมายความว่า ปรัชญามีหน้าที่สืบเสาะ หาความรู้เกี่ยวกับความจริงของสรรพสงิ่ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
  • 4. ยามความหมายของนักปรัชญา ด้วยเหตุที่ปรัชญามีลักษณะกว้างมาก จึงมีนักปรัชญาและนักภาษาศาสตร์หลาย ท่าน ตั้งแต่สมัยโบราณ จนกระทั่งปัจจุบัน ที่ พยายามจะนิยามความหมาย หรือให้ข้อ จำากัดอริคสวาโตมเติ้ขอล งคำา(Aristotle) ว่า “ปรัชกญาล่า” วว่า เอาไว้ อาทิเช่น “ปรัชญา เป็นศาสตร์ที่ค้นคว้าหาความ แท้จรเิงพขลอโงตส้ (งิ่Pทlaี่มtีอoย) โู่กดลย่าตวัววเ่าอ “งป” รัชญา คือ การศึกษาหาความรู้เรื่องสิ่งที่เป็นนิรันดร และความเป็นจริงของสิ่งเหล่านั้น
  • 5. ยามความหมายของนักปรัชญา ต่อ วงศ์คำาจันทร์ ให้ข้อจำากัดความของปรัชญาเอาไว้ว่า วิชาที่ว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริงของสงิ่ต่านานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ข้อจำาเอาไว้ว่า “ปรัชญา คือวิชาที่ว่าด้วยหลักแห่งความรู้และนังสือสารานุกรมชุดเวิลด์บคุ๊ (The World Book Encyclopedia) มหมายว่า “ปรัชญา คือการศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติวะการดำารงอยู่ของมนุษย์ในจักรวาล”
  • 6. ยามความหมายของนักปรัชญา ต่อ จากการนิยามความหมายหรือข้อจำากัด ความเหล่านี้ จะเห็นได้ว่า ปรัชญาคือหลัก แห่งความรู้และความจริง ปรัชญา จึงมีลักษณะครอบคลุมศาสตร์ ทั้งปวง ในปัจจุบันจึงไม่นิยมที่จะให้คำา จำากัดความของปรัชญา แม้จะมีอยู่ก็มี ลักษณะที่กว้างที่สุด เมื่อเป็นเช่นนั้น เราอาจ สรุปได้ว่า ปรัชญาเป็นความรู้ที่สากลและ จำาเป็น กล่าวคือใช้ได้กับทุกวิชา และทุก วิชาต้องมีหลักปรัชญาด้วย
  • 7. รัชญา (Systems of Philosophy) 1. ปรัชญาที่ไม่เป็น 1. ปรัชญาที่ไม่เป็น ระบบ ได้แก่ ความคิดของ นักคิดคนใดคนหนึ่งเกี่ยว กับปรัชญาสาขาใดสาขา หนงึ่ เกิดขึ้นมาพร้อมกับ มนุษย์เริ่มมีความสงสัยใน สิ่งแวดล้อม หรือใน ธรรมชาติ ระบบ ได้แก่ ความคิดของ นักคิดคนใดคนหนึ่งเกี่ยว กับปรัชญาสาขาใดสาขา หนงึ่ เกิดขึ้นมาพร้อมกับ มนุษย์เริ่มมีความสงสัยใน สงิ่แวดล้อม หรือใน ธรรมชาติ 2. ปรัชญาทเี่ป็นระบบ 2. ปรัชญาที่เป็นระบบ รัชญามี 2 ลักษณะคือ ได้แก่ แนวความคิดทจี่ะต้อง ประกอบด้วยพื้นฐานปรัชญา และตัวปรัชญา คือจะต้อง ประกอบด้วยญาณวิทยาและ อภิปรัชญาเป็นอย่างน้อย ได้แก่ แนวความคิดทจี่ะต้อง ประกอบด้วยพนื้ฐานปรัชญา และตัวปรัชญา คือจะต้อง ประกอบด้วยญาณวิทยาและ อภิปรัชญาเป็นอย่างน้อย
  • 8. รัชญา (Systems of Philosophy) ต่อ ปรัชญาที่เป็นระบบแบ่ง ออกเป็น 2 แบบคือ ปรัชญาประยุกต์ ได้แก่ปรัชญาที่สามารถนำา ไปปฏิบัติได้ในชีวิตประจำาวัน แต่การนำาไปประยุกต์ใช้นั้นต้องประกอบด้วย อภิปรัชญา ปรัชญายุกต์ ได้แก่ปรัชญาที่สามารถนำา ไปปฏิบัติได้ในวิตประจำาวัน แต่การนำาไปปกใช้นั้นองระกอบวย อปรัญา ปปรัรัชชญาญาบบริสุสุททธิ์ ธิ์ ได้ได้แก่แก่ปรัชญาที่ว่าด้วยยททฤฤษษฎี ฎี หหรืรืออแนวคควาวามคิคิดดล้ล้ววน น ๆ ๆ ไม่ไม่เกี่ยยววกักับบการนำาไป ปประระยุยุกต์ต์ใช้ ใช้ หหรืรืออกาการรนำานำาไปไปปปฏิฏิบับัติ ติ มี มี 2 2 สาขา ขา คืคือ อ ออปภิปภิรัปรัปชรัชรัชญาชญาญา ญา ที่เป็และและนนระระญาญาบบบณบนี้ นี้ วิวิททาททายา ยา งงตะตะวัวันนตตก ก เริ่เริ่ม ม ต้นตั้งแต่สมัยของธาเลส เป็นต้นมา ทางตะวันออก เริ่มต้นตั้งแต่สมัยพระเวทของ อินเดียโบราณ เป็นต้นมา ต้นตั้งแต่สมัขอธาส เป็นทางวันอเริ่ของ อิเดียโบราเป็นต้นมา
  • 9. ชญา (Branches of Philosophy) ต่อ ปรัชญา เป็นวิชาที่มีเนื้อหา กว้างขวาง เพราะเป็นต้นตอแห่ง สรรพวิชา วิชาการหรือศาสตร์ต่าง ๆ ล้วนแล้วแต่มีปรัชญาเป็นหลักทงั้นั้น จึงมีนักปราชญ์จำานวนมากที่พยายาม จะแบ่งแยกปรัชญาออกเป็นสาขาต่าง ๆ เพื่อนำาไปศึกษาได้ง่ายขึ้น จะ อย่างไรก็ตาม แม้นักปราชญ์จะ พยายามแบ่งแยกอย่างไรก็คงอยู่ใน ขอบเขต 3 เรื่องใหญ่ ๆ ซึ่งได้แบ่ง แยกไว้ตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ คือ อภิปรัชญา ญาณวิทยาและคุณวิทยา
  • 10. ชญา (Branches of Philosophy) ต่อ สาขาของ ปรัชญาที่เป็นที่ ยอมรับโดย ทั่วไป จึงมี 3 สาขาใหญ่ ๆ 2. ญาณวิทยา (Epistemology) 3. คุณวิทยา (Axiology) คือ 1. อภิปรัชญา (Metaphysics) หรือ ภววิทยา (Ontology)
  • 11. ชญา (Branches of Philosophy) ต่อ 1. อภิปรัชญา (Metaphysics) หรือภว วิทยา (Ontology) อภิปรัชญา (Metaphysics) เป็นวิชาที่ว่า ด้วยความแท้จริงของสรรพสงิ่ เรียกอีกอย่าง หนงึ่ว่า ภววิทยา (Ontology) ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ ว่าด้วยความมีอยู่ ความเป็นอยู่ของสรรพสงิ่ โดยทั่วไปแล้วถือว่า สงิ่ที่มีอยู่ย่อมเป็นสงิ่ แท้จริง และสงิ่แท้จริงย่อมมีอยู่ ความมีอยู่กับ ความแท้จริงจึงเป็นอันเดียวกัน ดังนนั้ ทั้ง 2 คำาจึงเป็นอันเดียวกัน ต่างแต่ว่า Ontology ใช้
  • 12. ชญา (Branches of Philosophy) ต่อ อภิปรัชญาหรือภววิทยา มีขอบข่ายใน การศึกษา 3 เรื่องคือ อภิปรัชญาหรือภววิทยาว่าด้วย ธรรมชาติ ศึกษาเรื่องเอกภพหรือ ธรรมชาติ อภิปรัชญาหรือภววิทยาว่าด้วย จิต หรือวิญญาณ ศึกษาเรื่อง อภิปธรรรัชมญชาาหตริขืออภงวววิญิทญยาาวณ่า ด้วย พระเจ้า หรือสงิ่สัมบูรณ์ ศึกษา เรื่องธรรมชาติของพระเจ้า
  • 13. ชญา (Branches of Philosophy) ต่อ 2. ญาณวิทยา (Epistemology) คือทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) เป็นวิชาที่ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ธรรมชาติ และเหตุแห่งความรู้ที่แท้จริง ซงึ่เป็นการศึกษา ถึงรายละเอียดของความรู้ทั้งหมด เพื่อให้เห็น ความเป็นไป และตัดสินได้ว่าอะไรเป็นความ จริงแท้ ซึ่งเกิดจากความรู้ที่แท้จริง เป็นการ ศึกษาสภาพทั่ว ๆ ไปของความรู้อย่างกว้าง ๆ
  • 14. ชญา (Branches of Philosophy) ต่อ 3. คุณวิทยา (Axiology) แบ่ง ออกเป็น 4 ประเภทคือ - จริยศาสตร์(Ethics) เป็นวิชาที่ว่าด้วยหลัก แห่งความประพฤติ กล่าวถึงความดี ความชวั่ การ ตัดสินความดีความชั่ว เป็นการแสวงหาความดีอัน สูงสุด- สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) เป็นวิชาทวี่่า ด้วยความดี หลักการตัดสินความงาม องค์ประกอบ ของความงาม เป็นเรื่องเกยี่วกับศิลปะ เป็นการ แสวงหาความงามอันสูงสุด - ตรรกศาสตร์ (Logic) เป็นวิชาทวี่่าด้วยการ ให้เหตุผล การนิยามความหมายอันแท้จริง เป็นการแสวงหาความจริงอันสูงสุด อันประกอบ ด้วยอ-ุป เนทัยว วแิทลยะนาิร(นThัยeology) เป็นเรื่องของความ บริสุทธิ์ทางจิตใจ กล่าวคือหลักคำาสอนทางด้าน ศาสนา
  • 15. ชญาตะวันออก ปรัชญาตะวันออก หมายถึง รัชญาตะวันออก หมายถึง คิเชิงปชญาในในอดีต อายธรรมที่เจเรืองตั้งแต่โบราณแบ่กว้าง ๆ ได้ งแนว คือ ปรัชอินเดีย และ รัชญาจีน แนวคิดเชิงปรัชญาในดินแดนเอเชีย ซึ่งในอดีต อารยธรรมที่เจริญ รุ่งเรือสสงออตั้งงอาอาแต่รโบยธรารรรรณมมที่แบ่ยิ่ยิ่งงงกใหใหว้าญ่ง ตั้ตั้ๆ งงแต่ ได้ แต่ สองแนว คือ ปรัชญาอินเดีย และ ปรัชญาจีน อดีตในซีกโลกตะวันออก (ทวีป เอเชีย) ได้แก่ อินเดียและจีน ถือ เป็นแหล่งกำาเนิดของภูมิปัญญา ตะวันออก นักปรัชญาตะวันออก สนใจความเป็นจริง แต่สงิ่ที่เป็น เอกลักษณ์สำาคัญของปรัชญาตะวัน ออก คือ ความสนใจต่อความเป็น จริงเพื่อการปฏิบัติตนมุ่งสู่การเป็น หนึ่งเดียวกับความเป็นจริง อตในซีโลกตะออก (ทเอเชี) แก่ อินเดียและจีน อ เป็แหล่กำาเนิดองมิญญา ตะวันออก นักปรัชญาตะวันออก สนใจวามเป็นจริง สงิ่เป็น เอกกษณ์สำาของปรัญาตะวัน อก ความต่อความน จริงเพื่อการปฏิบัติตนมุ่สู่การเป็หงเดียวกับความนจริง
  • 16. ปรัชญา อินเดีย ชนเผ่าอารยัน (Aryan) เข้มแข็ง ฉลาด ได้เข้ามายึดครองดินแดนชมพู ทวีปที่กว้างใหญ่และมีชนพื้นเมือง หลายเผ่าพันธุ์ และมีการสร้าง อารยธรรม ซึ่งมีชอื่ “คัมภีร์พระเวท” มาเป็นต้นแบบและการจัดระบบการ ดำาเนินชีวิตในสังคม คัมภีร์พระเวทใน ระยะแรกมีลักษณะเป็นวิญญาณนิยม มีบันทึกว่ามีเทพเจ้ามากมาย แต่มีพูด ถึงเทพสำาคัญ สามองค์ ได้แก่ พระอินทร์ พระอัคนีและพระวรุณ ต่อ มาพัฒนาการเป็น “ตรีมูรติ” คือ พระ พรหม พระวิษณุ และศิวะ ในศาสนา บริบทและพื้นฐานของ บริบทและนฐานขง ปรัชญาอินเดีย รัชญาอินย
  • 17. ปรัชญ าอินเดียทุก ระบบ ล้วน ได้รับ อิทธิพล จากคัมภีร์ พระเวททั้ง สนิ้ หลังยุค พระเวทเรา อาจแบ่ง ระบบ ปรัชญา กว้าง ๆ ได้ สองแนว คือ อินเดียทุก บบ ล้วน รับ ทธิล คัภีร์ ระเวททั้ง หลังยุระเวทเรา จแบ่ง บบ รัชญา ง ได้ งแนว อ ปรัชญา อินเดีย ต่อ ก. แนวนาสติกะ (Heterodox) ก. นาส(Heterodox) ข. แนวอาสติ กะ(Orthodox) . แนวอาติ (Orthodox)
  • 18. ก. แนวนาสติกะ (Heterodox) ก. แนวนาสติกะ (Heterodox) ข. แนวอาสติ กะ(Orthodox) . แนวอาสติ (Orthodox) ปรัชญา อินเดีย ต่อ แนวคิดที่มี ลักษณะที่สอนตรงข้าม กับสิ่งทพี่ระเวทสอน มี สามแนวคิดสำาคัญคือ จารวาก ปรัชญาเชน และพุทธปรัชญา ซงึ่ ถือว่าได้รับอิทธิพลจาก พระเวทโดยอ้อม เพราะ ได้สร้างปรัชญาขึ้นมา ขัดแย้งกับพระเวท แนวคิดที่ดำาเนิน ตามและอธิบายเพิ่มเติม ในสิ่งทพี่ระเวทสอน เชื่อเรื่องพระเจ้าหรือ เชอื่เรื่องความขลัง ความศักดิ์สิทธิ์ของ พระเวท ประกอบด้วย แนวปรัชญา 6 สำานัก ซึ่งถือว่าได้รับอิทธิพล จากพระเวทโดยตรง คือ สางขยะ เวทานตะ โยคะ มีมางสา นยายะ ไวเศษิกะ
  • 19. ปรัชญา อินเดีย ต่อ ลักษณะโดยรวมของปรัชญา อินเดีย (ปรัชญาอินเดียโบราณ) ลักษณะโดยรมขอรัชญา อิเดีย (รัชญาอินเดียโบราณ) ปรัชญาอินเดีย มี ลักษณะทั้งทฤษฏี และภาคปฏิบัติ ซึ่ง ควบคไู่ปด้วยกัน โดยมีพื้นฐานจาก ศาสนา (ยกเว้นลัทธิจารวาก) ปรัชญา อินเดียจึงมีลักษณะขยายความคำาสอน ของศาสนา โดยให้หลักเหตุผลเป็น เครื่องมือ จึงมีลักษณะเป็นปรัชญา ศาสนา ในแบบปรัชญาชีวิต
  • 20. ปรัชญา อินเดีย ต่อลัลักกษษณะณะโดโดยยรรวมมขขอองปรัรัชชญา ญา อิอินเดีเดีย ย ((ปรัรัชชญาญาอิอินนเดีเดียยโบโบราราณณ) ) 1. ถือว่าชีวิตเป็น ทุก ข 2์. เน้นเรื่อง สัง ส3า. ร วัฏ เน้นจุดหมาย สูงสุดของชีวิต 4. เน้นภาคปฏิบัติ 5. ถือว่าอาตมัน หรือวิญญาณเป็นอัมตะ
  • 21. ปรัชญา อินเดีย ต่อ 1. ถือว่าชีวิตเป็น ลักษณะโดยรวมของปรัชญา ษณะโดยรวมองปรัชญา อินเดีย (ปรัชญาอินเดียโบราณ) ต่อ อินย (ปรัชญาอินยโบราณ) ต่อ ทุกข์ ปรัชญาอินเดียถือว่า เมื่อมีชีวิต เกิดขึ้นมาแล้ว ก็ต้องประสบทุกข์กาย และทุกข์ใจนานาประการ เช่น แก่ เจ็บ ตาย หิวกระหาย ร้อนหวาน ปวดเจ็บ ความผิดหวัง และความเสียใจเป็นต้น ปรัชญาอินเดียถึงแม้ว่าจะสอนว่าชีวิต เป็นทุกข์ แต่ก็ไม่ได้สอนให้อยกูั่บความ ทุกข์
  • 22. ปรัชญา อินเดีย ต่อ 2. เน้นเรื่องสังสารวัฏ คือการ ลักษณะโดยรวมของปรัชญา ษณะโดยรวมองปรัชญา เวียนว่ายตายเกิด ปรัชญาอินเดียถือว่า ชีวิตไม่ใช่เพิ่งเริ่มต้นจากครรภ์มาดา ในชาตินี้ หากแต่ว่าได้มีมาก่อนหน้า นี้ เพียงแต่อาศัยครรภ์มารดาเป็น ปรากฏการณ์ในชาติหนงึ่เท่านนั้ ชีวิต ไม่ได้สิ้นสุดที่กองฟอนหรือที่หลุมฝังศพ เท่านนั้ และต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ เรื่อยไปตราบที่ยังกิเลส คนอาจเกิดเป็น สัตว์ สัตว์อาจเกิดเป็นคน ทั้งนกี้็ขึ้นอยู่ กับกรรมหรือการกระทำาของเขาเป็น เหตุ ทำาดีได้ดีทำาชวั่ได้ชวั่ กฎแห่งกรรม อินเดีย (ปรัชญาอินเดียโบราณ) ต่อ อินย (ปรัชญาอินยโบราณ) ต่อ
  • 23. ปรัชญา อินเดีย ต่อ ลักษณะโดยรวมของปรัชญา ษณะโดยรวมองปรัชญา อินเดีย (ปรัชญาอินเดียโบราณ) ต่อ อินย (ปรัชญาอินยโบราณ) ต่อ 3. เน้นจุดหมายสูงสุด ของชีวิต เมื่อชีวิตเป็นทุกข์ก็สอน ถึงจุดหมายสูงสุดของชีวิตได้ด้วย ซึ่งมีชอื่ต่างกันเช่น นิพพาน โมก ษะ และไกวัลยะ
  • 24. ปรัชญา อินเดีย ต่อ ลักษษณะณะโดโดยยรรววมเน้มข4. นออภางงปปครัรัชปชญา ฏิญา บัติ คน อินเดีย (ปรัชญาอินเดียโบราณ) ต่อ อินย (ปรัชญาอินยโบราณ) ต่อ อินเดียถือว่า ปรัชญาเป็นส่วน สำาคัญของชีวิต เมอื่ลัทธิใดมี ปรัชญาอะไรขึ้นมา พวกสาวกของ ลัทธินนั้ ก็นำามาเป็นปรัชญาชีวิต เพื่อเป็นประทีปส่องทางให้แก่ชีวิต ของตน พวกเขาได้ช่วยกันรักษา ปรัชญานนั้ไว้ให้มีชีวิตอยู่ ทั้งที่ อนุชนรับสืบทอดต่อไป
  • 25. ปรัชญา อินเดีย ต่อ ลักษณะโดยรวมของปรัชญา ษณะโดยรวมองปรัชญา อินเดีย (ปรัชญาอินเดียโบราณ) ต่อ อินย (ปรัชญาอินยโบราณ) ต่อ 5. ถือว่าอาตมันหรือ วิญญาณเป็นอัมตะ วิญญาณเป็น อมตะไม่ตายไปตามร่างกาย เมื่อ ร่างกายครำ่าคราหรือชำารุดใช้ไม่ได้ อีกแล้ว วิญญาณก็จะออกจากร่าง ไปถือเอาใหม่ในภพภูมิต่อไป
  • 26. ปรัชญา อินเดีย ต่อ กาการรจัจัดดปประเภททปปรัรัชชญาอิอินนเดีเดีย ย แบ่แบ่งงเป็เป็น 2 2 พพวก ก โดโดยแบ่แบ่งงตามมการ นันับบถืถืออเกี่เกี่ยยววกับบคัมภีภีร์พพระระเวเวท ท 1.ปรัชญานาสติกะ โดยเป็นปรัชญาที่ไม่เชื่อ ในความศักดิ์สิทธิ์ของ คัมภีร์พระเวท 2.ปรัชญาอาสติกะ โดยเป็นปรัชญาที่เชื่อใน ความศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีร์ พระเวท
  • 27. ปรัชญา อินเดีย ต่อ -ปรัชญา จารวาก -ปรัชญา เชน พุทธ ปรัชญา พุทธ ปรัชญา สำานัก มาธยมิ กะ พุทธ ปรัชญา สำานักไว ภาษิกะ พุทธ ปรัชญา สำานักเสา ตรานติกะ พุทธ ปรัชญา สำานักโย คาจาร ปรัชญานา สติกะ ได้แก่
  • 28. ปรัชญา อินเดีย ต่อ ปรัชญาน ยายะ ปรัชญา ไวเศษิกะ ปรัชญา สางขยะ ปรัชญา โยคะ ปรัชญามี มางสา ปรัชญาวิ ศิษฏาไทฺ วตะ เวทานตะ ปรัชญาอ ไทฺวตะ เวทานตะ ปรัชญา เวทานตะ ปรัชญาอา สติกะ ได้แก่
  • 29. ปรัช ญา จีน ปรัชญาจีนเกิดขึ้นมานานหลาย พันปีและมีมากมาย ทั้งนกี้็เพราะ ประเทศจีนเป็นประเทศใหญ่ที่สุดใน เอเชีย และมีประชากรมากที่สุดใน โลกดังกล่าวแล้ว จึงเป็นธรรมดาที่จะ ต้องมีนักคิดนักค้นคว้าในเรื่องต่างๆ อยมู่าก ประเทศจีนจึงได้ชอื่ว่าเป็น แหล่งอารยธรรมสำาคัญแห่งหนึ่งของ โลก เพราะมีความเจริญก้าวหน้าและ มีวิทยาการต่างๆ มากมาย เมอื่กล่าว ถึงปรัชญาแล้ว ปรัชญาจีนถึงแม้จะมี มากอย่างที่เรียกว่า ปรัชญาร้อย สำานัก แต่เมอื่กล่าวถึงสำานักใหญ่ๆ ที่มี ผลงานตกทอดมาถึงปัจจุบันก็มี 4
  • 30. ปรัชญา จีน ต่อ 1. สำานักปรัชญา เต๋า สำานักนี้มีเหลาจื้อหรือเล่าจื้อ เป็นหัวหน้า และนักปรัชญาอนื่ๆ ที่ สำาคัญของสำานักนกี้็มี จวงจื้อหรือจังจื้อ ปรัชญาในสำานัก นมีี้เต๋าเป็นจุดหมายสูงสุด เต๋าเป็น นามธรรม แต่ก็เป็นบ่อเกิดของ สรรพสงิ่ คอยหล่อเลี้ยง สรรพสงิ่ และเป็นจุดหมายสูงสุด ของสรรพสงิ่ เพราะฉะนนั้ทุกสงิ่ เกิดขึ้นได้เพราะเต๋า ตำารงอยู่ได้ เพราะเต๋า และกลับคืนสเู่ต๋าอีก
  • 31. ปรัชญา จีน ต่อ 2. สำานักปรัชญาขงจื้อ มี ขงจื้อเป็นหัวหน้า นักปรัชญาที่ สำาคัญของสำานักนี้นอกจากขงจื้อก็ มี เม่งจื้อ และซนุ่จื้อ ปรัชญาสำานัก นมีุ้่งสอนให้คนกลับสอู่ดีตเช่นกัน จะต่างกันก็คือแทนที่จะเน้น ธรรมชาติกลับเน้นจารีตประเพณี ดนตรีและคุณธรรมที่ ดีงามในอดีต
  • 32. ปรัชญา จีน ต่อ 3. สำานักปรัชญาม่อจื้อ มี ม่อจื้อเป็นหัวหน้า ปรัชญาสำานักนี้ แตกต่างกับปรัชญาทั้งสำานักเต๋า และสำานักขงจื้อ เพราะทั้ง 2 สำานัก เน้นเรื่องอดีตดังที่กล่าวมาแล้ว ส่วนสำานักม่อจื้อเน้นปัจจุบันเท่านนั้ ม่อจื้อเชื่อว่าอดีตเป็นความผันผ่าน ไปแล้วก็ไม่อาจหวนกลับมาอีก กาลเวลาผ่านไปทุกอย่างก็ผ่านไป เช่นกัน
  • 33. ปรัชญา จีน ต่อ 4. สำานักปรัชญานิติ นิยม โดยมีฮนั่เฟยจื้อเป็นตัวแทน ปรัชญาสำานักนี้ชี้ให้เห็นว่าอำานาจ และกฎหมายมีความจำาเป็น และ สำาคัญที่สุดในการนำาความสงบสุขมา สบูุ่คคลและสังคม ทั้งนกี้็เพราะฮนั่ เฟยจื้อได้รับอิทธิพลจากปรัชญาของ ซุ่นจื้อซึ่งเป็นอาจารย์ของตนว่า ธรรมชาติแท้หรือจิตสันดานของคน มีแต่ความเลวร้าย จึงจำาเป็นต้องใช้ อำานาจและกฎหมายมาเป็นเครื่อง ควบคุม
  • 34. ปรัชญา จีน ต่อ สำานักปรัชญาจีนถึงแม้จะมีมาก แต่ เมอื่กล่าวถึงสำานักทสี่ำาคัญก็มีเพียง 4 สำานักดังกล่าวแล้ว หรือเมอื่กล่าวถึงนัก ปรัชญาทสี่ำาคัญก็มี 8 คน จากสำานักทงั้ 4 นนั้ก็มี เหลาจื้อ ขงจอื้ ม่อจื้อ หยางจื้อ เม่งจื้อ จวงจื้อ ซุ่นจื้อ และฮั่นเฟ่ยจื้อ ปรัชญาทงั้ 4 สำานักเกิดขึ้นในสมัยราช วงศ์โจว ซงึ่นักปรัชญาถือว่าเป็นสมัยทอง แห่งปรัชญา ส่วนปรัชญาสำานักอื่นๆ ทเี่กิด ขึ้นภายหลัง ต่างก็อ้างปรัชญาในสมัยราช วงศ์โจวเป็นหลักด้วยกันทงั้นนั้ เพราะ ฉะนั้นปรัชญาทงั้ 4 สำานักจึงเป็นสายธาร ใหญ่ที่แตกตัวออกไปเป็นลำาธารสาขา ต่างๆ
  • 35. ปรัชญา จีน ต่อ ปรัชญาทั้ง 4 สำานักถึงแม้จะขัด แย้งกัน แต่ในที่สุดก็ช่วยกันหล่อ หลอมเป็นลักษณะปรัชญาจีนขึ้นมา นั่นก็คือเน้นภาคปฏิบัติมากกว่าภาค ทฤษฎี เน้นจริยศาสตร์มากกว่าสติ ปัญญา เน้นรูปธรรมมากกว่า นามธรรม เน้นชาตินมี้ากกว่าชาติ หน้า เน้นการเป็นปรัชญามากกว่า เป็นศาสนา
  • 36. ปรัชญา จีน ต่อ ปรัชญาจีนทั้ง 4 สำานัก ได้เจริญ รุ่งเรืองตลอดมา จะตกตำ่าบ้างก็บาง คราว แต่ที่ต้องมาตกอับมากที่สุดก็ ในรัชสมัยของ พระเจ้าจิ๋นซีอ๊วง เพราะพระองค์มี พระราชโองการให้เผาคัมภีร์และ ทำาลายล้างนักปราชญ์ต่างๆ ดังกล่าว แล้ว แต่หลังจากนนั้แล้วปรัชญาบาง สำานักก็เริ่มฟื้นตัวขึ้น โดยมาในรูป ใหม่เพราะผสมผสานกับปรัชญา ต่างๆ ทั้งในและนอกประเทศ สำานัก ที่สำาคัญก็มี สำานักเต๋าใหม่ และสำานักขงจื้อใหม่
  • 37. ปรัชญา ตะวันตก ปรัชญาตะวันตก หมายถึง ตะนตหมายถึง แนวคควาวามคิคิด ด หลัลักกกาการ ร คควาวามมรู้ทาง ปรัชญาที่ที่เกิเกิดดขึ้ขึ้นนในในซีซีกกโลโลกกตะตะวัวัน น ตกทั้งงหหมมด ด ซึ่งนันักกปรัรัชชญาญาเมเมธีธีเชเชอื้อื้ชาชาตินนั้นั้นๆ ๆ ทาง ซีกโลโลกกตะตะวัวันนตตกกได้ ได้ คิดค้ค้นขึ้ขึ้น น ก่ก่ออให้ให้เกิเกิดดขึ้ขึ้นนหหรืรืออตั้ตั้ง ง สำานักกขึ้ขึ้น น โดยยปกติแล้ววมัมักจะ จะ ถืออกันนว่า ว่า ปปรัรัชชญาญาตะตะวัวันนตตกกเริ่เริ่มมก่ก่อ อ ตัวขึ้ขนนึ้ปประระมามาณ ณ 600 600 ปี ก่ออนคริริสสต์ต์ศัศักกราราช และเมเมื่อื่อเกิดดขึ้น น ก็ได้ได้มีมีควาวามเจเจริญ วิวิวัวัฒฒนานากาการรทาง ง ด้านนคควาวามมรู้ รู้ คความคิคิดดเรื่เรื่ออยมาจน น กระระทั่งงปัปัจจจุบัน
  • 38. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ ปรัชญาตะวันตกแบ่ง ยุคได้ดังนี้ ปรัชญา ตะวันตก ยุคกลาง ปรัชญา ตะวันตก สมัยใหม่ ปรัชญา ตะวันตก ยุค โบราณ ปรัชญา ตะวันตก สมัย ปัจจุบัน
  • 39. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ จากการศึกษาย้อนหลัง ไปอย่าง ปรัชญาตะวัน ตก ยุคโบราณ น้อยที่สุดในศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราชต่อเนื่องกันมาจนถึง ปัจจุบันต้องถือว่านักปรัชญา คนแรกของกรีซ คือ ธาเลส เหตุผลที่ ส่งให้เป็นปรัชญาคนแรกของกรีก ก็ เพราะว่าเป็นคนแรกที่อธิบายเรื่อง จุดกำาเนิดของโลกโดยใช้เหตุผลตาม ธรรมชาติ ไม่มีเรื่องของเทววิทยาเข้า มาเกี่ยวข้อง
  • 40. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ โดยธาเลส กล่าวว่า ทุกสงิ่ทุก ปรัชญาตะวัน ตก ยุคโบราณ อย่างเกิดจากนำ้า ซึ่งเป็นคำาอธิบายที่ วางพื้นฐานอยู่ที่การค้นหาซากสัตว์ ทะเล กลายเป็นหิน ที่เขาค้นพบใน บริเวณพื้นดินอยู่ห่างจากฝั่งทะเล มาก ลูกศิษย์ของธาเลสผู้สร้างทฤษฎี ต่อจากเขาคือ อแนกซิแมนเดอร์ แห่งไมเลตุส เป็นผู้ พยายามให้คำาอธิบายเรื่อง จุดกำาเนิดและพัฒนาการของโลก อย่างละเอียด
  • 41. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ ทฤษฎีของ อแนกซิแมนเดอร์ ปรัชญาตะวัน ตก ยุคโบราณ ล่าวว่าโลกพัฒนามาจาก อไพรอน ซึ่งมีสภาวะเป็นทั้งอนันต์ และนิรันดร อแนกซิแมนเดอร์สร้าง ทฤษฎีพัฒนาการของสิ่งมีชีวิตอย่าง ละเอียดยิ่งขึ้นไปอีก ทฤษฎีของอแนกซิแมนเดอร์ กล่าวว่า “ชีวิตมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ ความชื้นและมีจุดกำาเนิดอยู่ในท้อง ทะเล”
  • 42. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ นักปรัชญาสื่อต่อจากอแนกซิแมนเดอร์ คือ ปรัชญาตะวัน ตก ยุคโบราณ อแนกซิมีนิส กล่าวว่า อากาศ คือ จุดกำาเนิดของ ทุกสิ่งทุกอย่างและยังกล่าวต่อไปอีกว่า มีสสาร ชนิดหนงึ่เกิดขึ้นในอากาศเพราะการกลั่นตัว โดยวิธีนี้ คือสิ่งทธี่าเลสถือว่าเป็นจุดเริ่มต้น กลายเป็นกฎพื้นฐาน ซึ่งยังคงมีความสำาคัญอยู่ อย่างเดิมของพัฒนาการของชีวิต และพื้นฐาน ลึกลงไป จึงมีกฎอนุรักษ์คือ “กฎดำารงไว้ของ สสาร แรง และพลังงาน” ว่าไม่มีการสูญหายไป จากโลกนี้ และกลายเป็นกฎขนั้พนื้ฐานในการ พัฒนา วิชาฟิสิกส์ในเวลาต่อมา
  • 43. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ ปรัชญาปรัตะชญาวันตะตก วันตกยุคกลางหรือสมัย ยุคกลาง กลางเป็นลักษณะของปรัชญาที่ ประนีประนอมคริสต์ศาสนากับปรัชญา กรีก ในครึ่งแรกแห่งยุคก็ประนีประนอม โดยใช้ปรัชญาของเพลโตอธิบายคำาสอน แนวคิดศาสนา ได้ชื่อลัทธิว่า ปรัชญา ปิตาจารย์ หรือลัทธิปิตาจารย์นิยม ใน ครึ่งหลังแห่งยุค นักปรัชญาหันมานิยมใช้ปรัชญาของ อริสโตเติลอธิบาย ได้ชื่อลัทธิว่า ปรัชญา อัสมาจารย์ หรือลัทธิอัสมาจารย์นิยม ครึ่งหลังนี้มีการพยายามใช้ตรรกวิทยา สร้างระบบความคิดกันอย่างจริงจัง
  • 44. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ กลุ่มลัทธิปรัชญาที่สำาคัญใน 1. ปรัชญาปิตาจารย์ มีระยะ เวสลามัยถึกงลาคริง สได้ต์ศแก่ ตวรรษ ที่ 8 นักปรัชญาสมัยนเี้ป็นพระ นักบุญที่ประชาชนนับถือว่าเป็น ท่านพ่อ ซึ่งได้พยายามนำาเอา หลักปรัชญากรีกมาอธิบายตาม หลักศาสนาเพื่อสนับสนุนความ เชื่อถือเทวนิยมใน ศาสนาคริสต์ เซนต์ ออกัสติน เป็นนักปรัชญา คนสำาคัญ
  • 45. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ กลุ่มลัทธิปรัชญาที่สำาคัญใน สมัยก2ล. าปงรัชไดญ้แากอั่สมาจารย์ อยู่ ในระยะเวลาคริสต์ศตวรรษ ที่ 9- 15 นักปรัชญากลุ่มนี้ล้วนเป็น นักบวชคนสำาคัญ เช่น เซนต์ โธมัส อโควนัส ส่วนใหญ่ เป็นการใช้ปรัชญาอริสโตเติล อธิบายศาสนาคริสต์ตามหลัก เหตุผล
  • 46. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ กลุ่มลัทธิปรัชญาที่สำาคัญใน สมัย3ก. ลปารงัช ไญดา้แอกิส่ลาม อยใู่น ระหว่างเวลาคริสต์ศตวรรษ ที่ 10 -11 มีลักษณะเป็นการนำา เอาปรัชญาเพลโตและอริสโตเติล มาอธิบายหลักศาสนาอิสลาม นัก ปรัชญาที่สำาคัญ ได้แก่ อิบเบิน ซี นา หรือ อวีเซนนา อิบเบิน รูชด์ หรือ อเวอร์โรเอส
  • 47. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ ปรัชญาตะวันตก (ค.ศ. 1600 - 1700 ) เริ่มขึ้นด้วย การคัดค้านแนสมัวคยใหวามม่ คิดทาง ปรัชญาของสมัยกลางที่เน้นหนัก ในเรื่องศรัทธาในพระเจ้าของ ศาสนาคริสต์ ที่มุ่งการประนีประนอม ความเชื่อ หรือศรัทธาในคริสต์ศาสนา ซึ่ง ในตอนนั้นได้พยายามเอาปรัชญา ของเพลโตมาอธิบายคำาสอน ศาสนาคริสต์ และต่อมาได้นำาเอา ปรัชญาของอริสโตเติลมาอธิบาย คำาสอนของศาสนาคริสต์
  • 48. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ ปรัชญาตะวันตก เรื่องทนีั่กสปมรััชยญใหาสมมั่ยใหม่สนใจ ก็คือ วิธีหาความจริงตามแบบ ตรรกวิทยา และระบบใหม่ทาง วิทยาศาสตร์ วิวัฒนาการเริ่มจากยุค ฟื้นฟูศิลปวิทยาโดยพระเจ้าชาร์ ลมาลย์ ได้หยิบยกปัญหาใหม่ที่ควรได้ ตอบโดยวิธีการทางตรรกวิทยา และ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา ในสมัยนี้ได้ยำ้าเป็นพิเศษในเรื่อง ประสบการณ์ และความสมบูรณ์ของ วิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งปัญหาทั้งสองนี้ นักปรัชญาในสมัยกลางได้มองข้ามไป
  • 49. ปรัชญาตะวันตก ระบบแนวความคิดแบบ ปรัชญา ตะวันตก ต่อ สมัยใหม่ วิทยาศาสตร์ เป็นวิธีการอาศัย ประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสเป็น หลักในการตัดสินแบบวิทยาศาสตร์ เป็นวิธีการอาศัยประสบการณ์ทาง ประสาทสัมผัสเป็นหลักในการตัดสิน ความรู้ระบบนี้ เรื่องว่า ประสบการณ์นิยม มีจอห์น ลอค , จอร์จ บาร์คลีย์ , เดวิด ฮิวม์ เป็นผู้สนับสนุนทฤษฎีนี้
  • 50. ปรัชญาตะวันตก แนวความคิดระบบคณิตศาสตร์ ปรัชญา ตะวันตก ต่อ สมัยใหม่ เป็นวิธีที่จะหาความจริงได้อย่างถูก ต้อง แม่นยำา และแน่นอน กว่าของ ฝ่ายประสบการณ์นิยม เพราะวิธีการ ของคณิตศาสตร์สามารถดำาเนินไป เป็นชนั้ๆ อย่างมีเหตุผล จากง่ายไป หายาก ให้ความจริงสากลระบบนี้ เรียกว่า เหตุผลนิยม มี เดการ์ต เป็นผนู้ำา สปิโนชา ไลบ์นิช เป็นผู้สนับสนุน
  • 51. ปรัชญาตะวันตก สมัยใหม่ มานูอิมเอ็ล ค้านท์ ได้ค้นพบข้อ ปรัชญา ตะวันตก ต่อ บกพร่องของปรัชญาทั้งสอง (แบบ วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์) จึง วางแนวความคิดใหม่ โดยพยายาม ประนีประนอมปรัชญาทั้งสองสาย โดยชี้ให้เป็นความบกพร่องของวิธี การทั้งสองสายและประสานปรัชญา ทั้งสองนั้นเข้าด้วยกันอย่างมีเหตุผล
  • 52. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ ปรัชญาตะวันตก สมัย ปัจจุบันเริ่มต้นหลังจากปีที่ ค้า นท์สิ้นชีวิต เป็นต้นมาจนถึง ปัจจุบัน ปรากฏว่าแนวความคิด ของค้านท์มีอิทธิพลต่อนัก ปรัชญาสมัยนี้มาก แทบทุกคน จะเชื่อทฤษฎีของค้านท์ที่ว่า สมรรถภาพในการคิดของทุก คนมีกลไกคล้ายคลึงกัน จึงได้ รับความรู้คล้ายๆกัน
  • 53. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ 1. อัชฌัตติกญาณนิยม เชื่อว่า ความรู้ที่ได้รับประสาทสัมผัสและจาก การคิดหาเหตุผลนั้นไม่ถูกต้องเที่ยง ตรงเสมอไป ความรู้ที่เกิดจากการ หยงั่รู้เป็นความรู้ที่ แน่นอน อัชฌัตติก ญาณ เป็นสิ่งเดียวกับเหตุผลเชิงปฏิบัติ ของค้านท์ ซงึ่จะต้องได้รับการฝึกฝน จนถึง ขั้นสมบูรณ์แบบจึงจะใช้การได้ คือ สามารถมองเห็นความเป็นจริงได้
  • 54. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ 1. จิตนิยมแบบ เยอรมัน  นักปรัชญาคนสำาคัญ ได้แก่ เอเกล 2. ชีวิตนิยม  นักปรัชญาคนสำาคัญ ได้แก่ แบร์กซอง 3. สสารนิยมและปฏิ พัฒนา  นักปรัชญาคนสำาคัญ
  • 55. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ 2. ปฏิบัตินิยม ลัทธินี้ยึดถือ ว่าปัจจุบันสำาคัญกว่าอนาคต สิ่ง ที่ปฏิบัติแล้วได้ผลดีถือว่าถูก ต้อง ถ้าปฏิบัติแล้วไม่ดีก็ต้อง ปรับปรุงให้ดีขึ้นนักปรัชญาคน สำาคัญ เช่น วิลเลียม เจมส์ จอห์น ดิวอี้
  • 56. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ 3. ปฏิฐานนิยม ลัทธินี้ ยึดสิ่งที่เป็นความจริงคือ สิ่ง ที่เรารู้ได้ด้วยวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ ความรู้ทาง ศาสนาและปรัชญาเป็นสิ่งไม่ จริง นักปรัชญาคนสำาคัญ ได้แก่ กองต์
  • 57. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ 4. ปฏิฐานนิยมใหม่ ลัทธินี้ ยึดถือสิ่งที่สามารถทดสอบถือว่า เป็นจริงสามารถทดสอบได้ด้วยวิธี การทางฟิสิกส์ถือว่าเป็นจริง นัก ปรัชญาคนสำาคัญ คือชลิก 5. อัตถิภาวนิยม ลัทธินยีึ้ดถือ มนุษย์ว่ามีเสรีภาพที่จะคิดอะไรได้ โดยไม่ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลอะไร เลย นักปรัชญาคนสำาคัญได้แก่ ชาร์ตร์ ไฮเด็กเกอร์
  • 58. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ 6. สัจนิยมใหม่ ลัทธินี้ยึดถือว่า ปัจจุบันมนุษย์ไม่ประจักษ์ชัดว่ากลไก ของสมองทำางานอย่างไร จึงยังไม่ แน่ใจว่าความรู้จากประสาทสัมผัสกับ การคิดหาเหตุผลอันไหนถูกต้อง ฉะนั้น ควรยึดหลักผสมผสานระหว่างประสาท สัมผัสกับการคิดหาเหตุผลไปก่อน นั้น ก็คือหลักของทฤษฎีอนุมานนิยมของค้า นท์นนั่เอง นักปรัชญาคนสำาคัญ คือ มัวร์ รัสเซล เป็นต้น
  • 59. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ 7. อัสมาจารย์นิยมใหม่ ลัทธินี้ยึดถือ ปรัชญาอัสมาจารย์สมัยกลาง หลอมแนวคิดปรัชญาทั้งทาง ตะวันตกและตะวันออกเข้าด้วย กัน เป็นปรัชญาใหม่ที่สมบูรณ์ ที่สุด เรียกว่า ปรัชญาสากล นัก ปรัชญาคนสำาคัญได้แก่ มารีแตง
  • 60. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ 8. ปรัชญาวิเคราะห์ ลัทธินี้ ยึดถือว่าความขัดแย้งในเรื่อง ทัศนะทางปรัชญาโบราณ ซึ่งเกิด จากความบกพร่องในด้านภาษาที่ ใช้ กับความบกพร่องในด้าน กระบวนการดำาเนินเหตุผล ถ้า ขจัดปัญหา 2 ประการนี้ ความยงุ่ ยากในแวดวงปรัชญาก็จะหมดไป นักปรัชญาคนสำาคัญ ได้แก่ วิตเกน สไตน์
  • 61. ปรัชญา ตะวันตก ต่อ ดังนั้น ความเชื่อของมนุษย์เมื่อ ประมาณสองพันกว่าปีมานี้ เริ่มหันเหความ คิดออกจากเรื่องพระเจ้าสร้างสิ่งต่างๆ โดย ตั้งสมมติฐานใหม่ว่า สรรพสิ่งในโลกเกิดจาก ดิน นำ้า ลม ไฟ อากาศ ปรมาณู เป็นต้น แนวความคิดนี้คือจุดเริ่มต้นของปรัชญาสมัย แรก และมีการพัฒนาจนถึงปัจจุบัน ทำาให้ แนวความคิดแยกออกเป็น 2 ลักษณะ คือ จิตนิยม กับ วัตถุนิยม และเห็นว่าความ แท้จริงมีนามธรรมกับรูปธรรม นามธรรม สัมผัสได้ด้วยจิตหรือความคิด เท่านนั้ ส่วน รูปธรรมจะสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5
  • 63. อ้างอิง บ้านจอมยุทธ. (2543). ความหมายและความเป็นมาของวิชา ปรัชญา. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม, 2557, จาก http://www.baanjomyut.com/library_2/extension3/history_of_phi losophy/01.html พิม แว่นทิพย์. (2552). ปรัชญาจีน-อินเดีย. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม, 2557, จาก http://www.gotoknow.org/posts/274231 พิม แว่นทิพย์. (2552). ปรัชญาตะวันออก. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม, 2557, จาก http://www.gotoknow.org/posts/274231 ศรีรักษ์ เรืองรัตน์. (2553). สรุปปรัชญาตะวันตก. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม, 2557, จาก http://www.l3nr.org/posts/390097
  • 64. คณะผู้ จัดทำา 1. ประภสัสร โนนทราย รหัสนักศึกษา 2. 56182400106 นางสาวรมณ บูรณ์เจริญ รหสันักศึกษา 56182400109 3. นางสาวรุ่งนภา จุไร รหัสนักศึกษา 45.6 น18า2ง4ส0า0ว1ก1ติ2ติยา เรืองประคำา รหสันักศึกษา 55.6 น18า2ง4ส0า0ว1อ1ัญ4ญารักษ์ มะลิวงศ์ รหัสนักศึกษา 56.6 น18า2ย4ว0ีร0ะ1ศ1ัก6ดิ์ ทรงกลด รหสันักศึกษา 57.6 น18า2ย4ส0ิท0ธ1ิศ23ักดิ์ ฤกษ์ศรี รหสันักศึกษา 58.6 น18า2ง4ส0า0ว1อ2ภ4ดิา จันทร์ทอง รหสันักศึกษา 59.6 น18า2ง4ส0า0ว1พ2ัฒ6น์นรี บุญมา รหสันักศึกษา 56182400131 สาขา วท.บ.สถิติประยุกต์ ควบ ค.บ.คณิตศาสตร์ หมู่1