SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
ครั้งที่ 6
กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่บัญญัติว่าด้วยความผิดและกาหนด
โทษไว้
ความมุ่งหมายของกฎหมายอาญาก็เพื่อควบคุมความประพฤติ
ของบุคคลให้อยู่ในสังคมด้วยความเรียบร้อย เพื่อที่จะคุ้มครองความ
ปลอดภัยของสังคม กล่าวคือ กฎหมายอาญาทาหน้าที่รักษาโครงสร้าง
ของสังคมให้มั่นคง และรักษาความสงบสุขของสมาชิกของสังคมโดย
ส่วนรวม และในการที่จะบรรลุจุดมุ่งหมาย รัฐได้ใช้โทษทางอาญาเป็น
เครื่องมือจัดการกับผู้กระทาผิด
ลักษณะของกฎหมายอาญา
1. เป็นกฎหมายมหาชน
2. ว่าด้วยความผิดและโทษทางอาญา
3. ตามปกติบังคับเฉพาะการกระทาในราชอาณาจักร
4. การกระทานั้นต้องมีกฎหมายกาหนดไว้ชัดแจ้ง
5 โทษที่ลงต้องเป็นโทษที่กฎหมายกาหนดไว้
6. กฎหมายอาญาต้องตีความโดยเคร่งครัด
7. ไม่มีผลย้อนหลังในทางเป็นโทษ
ความผิดทางอาญา
1 ความผิดต่อแผ่นดิน คือ ความผิดที่มีผลกระทบต่อผู้ที่ถูกกระทา
แล้วยังมีผลกระทบต่อสังคม รัฐจึงต้องเข้าดาเนินการเอาตัวผู้กระทาผิดมา
ลงโทษให้ได้ แม้ผู้ที่ถูกกระทาจะไม่ติดใจเอาความกับผู้กระทาผิดต่อไปแล้วก็
ตาม เพื่อป้ องกันสังคม
2 ความผิดต่อส่วนตัว คือ ความผิดที่มีผลกระทบต่อผู้ที่ถูกกระทา
แต่ไม่มีผลกระทบต่อสังคมโดยตรง ดังนั้น เมื่อผู้ที่ถูกกระทาจะไม่ติดใจเอาความ
กับผู้กระทาผิดต่อไปแล้ว รัฐก็ไม่จาต้องเข้ไปดาเนินคดีกับผู้กระทาความผิดอีก
ต่อไป
การกระทาความผิดใดเป็นความผิดต่อแผ่นดินและความผิดต่อส่วนตัว
นั้นมีหลักอยู่ว่า ความผิดใดเป็นความผิดต่อส่วนตัวต้องมีกฎหมายกาหนดไว้
โดยชัดแจ้ง ความผิดนอกจากนั้นถือเป็นความผิดต่อแผ่นดิน
โทษอาญา
วัตถุประสงค์ของการลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมายอาญา
1. เพื่อปราบปรามอาชญากรรม
2. เพื่อป้ องกันสังคม โดยตัดผู้กระทาผิดออกจากสังคม
3. เพื่อแก้ไขผู้กระทาผิด
4. เพื่อตอบแทนหรือชดใช้สิ่งที่กระทาผิด
โทษอาญาที่ใช้ลงแก่ผู้กระทาผิดมี ๕ ประการเท่านั้น คือ
- ประหารชีวิต
- จาคุก
- กักขัง
- ปรับ
- ริบทรัพย์
• บุคคลต้องรับโทษในทางอาญา
1 กระทาการอันกฎหมายที่ใช้ในขณะกระทาบัญญัติเป็นความผิด ตาม
หลัก “ไม่มีความผิดโดยปราศจากกฎหมาย”
2 กฎหมายที่ใช้ในขณะกระทากาหนดโทษไว้ด้วย
บุคคลต้องรับผิดในทางอาญา และรับโทษในทางอาญาเมื่อใด
บุคคลต้องรับผิดในทางอาญา
1 ต้องมีการกระทา = การเคลื่อนไหวหรือไม่เคลื่อนไหวร่างกายโดยรู้สานึกในการที่กระทา
2 การกระทาต้องครบองค์ประกอบ
- การกระทาครบองค์ประกอบภายนอก = ผู้กระทา การกระทา วัตถุที่มุ่งหมายกระทา
ต่อ
- การกระทาครบองค์ประกอบภายใน
เป็นการกระทาโดยเจตนา = กระทาโดยรู้สานึกในการที่กระทาและใน
ขณะเดียวกันผู้กระทาประสงค์ต่อผลหรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทานั้น
หลักบุคคลจะต้องรับผิดทางอาญาเมื่อได้กระทาโดยเจตนาเท่านั้น เว้นแต่มีกฎหมายไว้ว่า
แม้ไม่ได้กระทาโดยเจตนาก็เป็นความผิด
กระทาความผิดโดยประมาท กระทาความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทาโดย
ปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจะต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และ
ผู้กระทาอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาใช้ให้เพียงพอไม่
กระทาความผิดมิใช่โดยเจตนา ความผิดลหุโทษ
3 ไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิด
• เหตุยกเว้นความผิด
- การป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
- ผู้เสียหายยินยอมให้กระทา
- มีกฎหมายอื่นให้อานาจกระทาได้
• เหตุยกเว้นโทษ
- การกระทาความผิดด้วยความจาเป็น
- การกระทาความผิดเพราะความบกพร่องทางจิต
- การกระทาความผิดเพราะความมึนเมา
- การกระทาตามคาสั่งของเจ้าพนักงาน
- สามี ภริยา กระทาความผิดต่อกันในเรื่องทรัพย์
- เด็กอายุไม่เกิน 15 ปี กระทาความผิด
• เหตุลดหย่อนโทษ เป็นเหตุที่ศาลอาจลงโทษสถานเบาได้
• ศาลเชื่อว่าบุคคลนั้นไม่รู้กฎหมาย
• การกระทาโดยบันดาลโทสะ
• บุพการีกับผู้สืบสันดาน หรือพี่น้องที่การกระทาความผิดเกี่ยวกับ
ทรัพย์
• เด็กและเยาวชนที่กระทาความผิด
• เด็กและเยาวชนที่กระทาความผิดอาจกระทาไปเพราะขาดความสานึกเท่า
ผู้ใหญ่ โทษสาหรับเด็กจึงต้องแตกต่างกับผู้ใหญ่โดยแบ่งออก เป็น 4 ระดับ
คือ
• อายุ ไม่เกิน 10 ปี ไม่ต้องรับโทษ
• อายุกว่า 10 ปี แต่ไม่เกิน 15 ปี ไม่ต้องรับโทษ แต่ศาลอาจว่ากล่าว
ตักเตือนและวางข้อกาหนดให้บิดามารดาปฏิบัติหรือส่งเด็กไปให้หน่วยงาน
ของรัฐ (บ้านเมตตา)ดูแลอบรมสั่งสอนจนอายุครบ 18 ปี
• อายุกว่า 15 ปี แต่ไม่เกิน 18 ปี อาจใช้วิธีการดังกล่าวข้างต้นหรือลงโทษ
เช่นเดียวกับผู้ใหญ่แต่ลดมาตราส่วนโทษลงกึ่งหนึ่ง
• อายุกว่า 18 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี ลงโทษเช่นเดียวกับผู้ใหญ่แต่ลดมาตรา
ส่วนโทษลง 1 ใน 3 หรือ กึ่งหนึ่ง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)Siririn Noiphang
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกKanin Wongyai
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพัน พัน
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือหุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือssuser5adb53
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์pavinee2515
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบChanthawan Suwanhitathorn
 

La actualidad más candente (20)

Korat
KoratKorat
Korat
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือหุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ
 
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคมปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 

Destacado

กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2 AJ Por
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนAJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10AJ Por
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันAJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4AJ Por
 
Minerva: A Companion Robot
Minerva: A Companion RobotMinerva: A Companion Robot
Minerva: A Companion RobotCelso Furukawa
 
Biomedical Precision Engineering Lab.
Biomedical Precision Engineering Lab.Biomedical Precision Engineering Lab.
Biomedical Precision Engineering Lab.Celso Furukawa
 
Listas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. BimestreListas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. Bimestreaquileoagustin
 

Destacado (20)

กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
 
Minerva: A Companion Robot
Minerva: A Companion RobotMinerva: A Companion Robot
Minerva: A Companion Robot
 
Biomedical Precision Engineering Lab.
Biomedical Precision Engineering Lab.Biomedical Precision Engineering Lab.
Biomedical Precision Engineering Lab.
 
Listas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. BimestreListas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. Bimestre
 

Similar a ครั้งที่ 6

กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปKanin Wongyai
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปKanin Wongyai
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2Andy Hung
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นMac Legendlaw
 
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdfjn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdfPawachMetharattanara
 

Similar a ครั้งที่ 6 (18)

41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
low basic
low basiclow basic
low basic
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
 
Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdfjn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
 
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
 
คำถาม PH law group 6
คำถาม PH law group 6คำถาม PH law group 6
คำถาม PH law group 6
 

ครั้งที่ 6