SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
Descargar para leer sin conexión
การจัดการศึกษาสู16. อัตลักษณ์ ยน
่ประชาคมอาเซี

dp

re

ss
.

co
m

/

อาเซียน หรือ ประชาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South
East Asian Nations) ปัจจุบัน มีประเทศสมาชิก 10 ประเทศ ดังนี้
1. มาเลเซีย
5 ประเทศแรกเริ่มก่อตั้งอาเซียน
2. ฟิลิปปินส์
โดยปฏิญญากรุงเทพ 8 สิงหาคม 2510
3. อินโดนีเซีย
กาหนดเปิดประชาคมอาเซียน 31 ธันวาคม 2558
4. สิงคโปร์
5. ไทย
6. บรูไน
7. เวียดนาม
8. ลาว
9. พม่า
10.กัมพูชา (เป็นประเทศที่เข้าร่วมเป็นลาดับสุดท้าย วันที่ 30 เม.ย.42)

tu

to

r.w

or

ภาคีเครือข่ายคู่เจรจา รวม 9 ประเทศ 1 องค์การภูมิภาค ได้แก่
อาเซียน + 3 ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น
อาเซียน + 6 เพิ่ม ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย
อาเซียน + 8 เพิ่ม รัสเซีย สหรัฐ
คู่เจราจร 9 ประเทศ ได้แก่ อาเซียน+8 แคนาดา และ สหภาพยุโรป

ht

tp
://
kr
u

เสาหลักของอาเซียนมี 3 เสาหลัก ได้แก่
1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security
Community)
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community)
3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community)
APSC

เสาการเมืองและความมั่นคง

AEC

เสาเศรษฐกิจ

ASCC

เสาสังคมและวัฒนธรรม
คาขวัญอาเซียน
One Vision, One Identity, One Community"
หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม
เพลงประจาอาเซียน เพลง The ASEAN WAY

ht

tp
://
kr
u

tu

to

r.w

or

dp

re

ss
.

co
m

/

สัญลักษณ์อาเซียน
“รวงข้าวสีเหลือง10 ต้นมัดรวมกันไว้” หมายถึง ประเทศในภูมิภาคเอเชี ยตะวันออก
เฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ รวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน โดยสี
ที่
ปรากฏในสัญลักษณ์ของอาเซียน เป็นสีที่สาคัญของธงชาติของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
สีนาเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า
สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์
สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
สานักเลขาธิการอาเซียน ตั้งอยู่ที่ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เป็นศูนย์กลางใน
การติดต่อระหว่างประเทศสมาชิก โดยมีเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretary-General)
เป็นหัวหน้าสานักงาน ผู้ดารงตาแหน่งคนปัจจุบัน ซึ่งมีวาระดารงตาแหน่ง 5 ปี คือ นายเลอ
เลือง มินห์ จากประเทศเวียดนาม (พ.ศ.2556-2560)
re

ss
.

co
m

/

วัตถุประสงค์หลักที่กาหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน (The ASEAN Declaration) มี 7 ประการ
ดังนี้
1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและ
วัฒนธรรม
2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค
3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์
และด้านการบริหาร
4. ส่งเสริมความร่วมมือซึงกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย
่
5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า
การคมนาคม การสื่อสาร และปรับปรุงมาตรฐานการดารงชีวิต
6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
7. ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ

ht

tp
://
kr
u

tu

to

r.w

or

dp

อาชีพหลักที่สามารถเคลื่อนย้ายแรงงานได้อย่างเสรีในอาเซียน
1. วิศวกร (Engineering Services)
2. พยาบาล (Nursing Services)
3. สถาปนิก (Architectural Services)
4. การสารวจ (Surveying Qualifications)
5. พนักงานบัญชี (Accountancy Services)
6. ทันตแพทย์ (Dental Practitioners)
7. แพทย์ (Medical Practitioners)
8. การบริการ/การท่องเที่ยว ( Tourism )
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

co
m

/

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มีการปรับปรุง 3 ฉบับ ได้แก่
1. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ประกาศใช้ 19 สิงหาคม 2542
2. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2545 ประกาศใช้ 19 ธันวาคม 2545
3. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2553) ประกาศใช้ 22 กรกฎาคม2553

tp
://
kr
u

tu

to

r.w

or

dp

re

ss
.

สรุปสาระสาคัญ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เป็นกฎหมายแม่บททางการศึกษา มี 9 หมวด 1 บทเฉพาะกาล
78 มาตรา สรุปประเด็นสาคัญ ดังนี้
หมวดที่ 1 บททั่วไป
หมวดที่ 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา
หมวดที่ 4 แนวการจัดการศึกษา
หมวดที่ 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
หมวดที่ 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
หมวดที่ 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
หมวดที่ 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
บทเฉพาะกาล

ht

ความหมายของคาที่ออกข้อสอบเป็นประจา
การศึกษา หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม
การศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง การศึกษาระดับก่อนอุดมศึกษา
การศึกษาตลอดชีวิต หมายความว่า การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษา
ในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอั ธยาศัยเพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้
อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ht

tp
://
kr
u

tu

to

r.w

or

dp

re

ss
.

co
m

/

สถานศึกษา หมายความว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน วิทยาลัย
สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษาหรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอานาจ
หน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา หมายความว่า ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์
และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง
การประกันคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง
หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษานั้น (สพฐ)
การประกันคุณภาพภายนอก หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดย สมศ.หรือบุคคลหรือที่ สมศ.
รับรอง
ผู้สอน หมายความว่า ครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่างๆ
ครู หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและการ
ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน
คณาจารย์ หมายความว่า บุคลากรซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยใน
สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน
ผู้บริหารสถานศึกษา หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษา
แต่ละแห่ง ทั้งของรัฐและเอกชน
ผู้บริหารการศึกษา หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพ*ที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษา
นอกสถานศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป
บุคลากรทางการศึกษา หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้ง
ผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทาหน้าที่ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการ
เรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่างๆ
กระทรวง หมายความว่า กระทรวงศึกษาธิการ
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
*** หมายเหตุ*** * ครู * ไม่ใช่บุคลากรทางการศึกษา
ความมุ่งหมาย ต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ (เก่ง ดี มีสุข)
หลักการจัดการศึกษา มี 3 ประการ
1. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน
2. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
3. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง

ss
.

co
m

/

สิทธิและหน้าที่
บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐต้อง
จัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสีย
ค่าใช้จ่าย

to

r.w

or

dp

re

การศึกษามี 3 รูปแบบ คือ
1. การศึกษาในระบบ (Formal Education)
2. การศึกษานอกระบบ (non-formal Education)
3. การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education)
* สถานศึกษาอาจจัดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้

tp
://
kr
u

tu

การศึกษาในระบบ
มี 2 ระดับ ขั้นพื้นฐาน,อุดมศึกษา

ht

(1) การศึกษาขันพืนฐาน
้ ้

ก่อนประถม
3 – 6 ปี

ประถม

(2) อุดมศึกษา
มัธยม

ต่ากว่า
ปริญญา

ปริญญา
โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์
Howard Gardner
ทฤษฎีพหุปัญญา

ss
.

มาสโลว์ abraham h maslow
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ลาดับขั้นความต้องการของมนุษย์

กิลฟอร์ด Guilford
ทฤษฎีโครงสร้างทางปัญญา

เดอ โบโน Edward de Bono
ทฤษฎีหมวก 6 ใบ

บลูม Benjamin S Bloom
ทฤษฎีลาดับขั้นการเรียนรู้
พุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย

to

สกินเนอร์ BF. SKINNER
ทฤษฎีการเสริมแรง

ht

tp
://
kr
u

tu

อิลิคสัน Erik Erikson
ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการ

r.w

or

dp

re

ซิกมันด์ ฟรอยด์ Sigmund Freud
นักจิตวิทยาทฤษฎีจิตวิเคราะห์

co
m

/

นักจิตวิทยาและนักการศึกษาที่ควรรู้จัก

พาฟลอฟ I Van Pavlov
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์
ฟรอยด์ (Sigmund Freud) นักจิตวิทยาชาวออสเตรเลีย แนวคิดจิตวิเคราะห์ ดังนี้

ss
.

co
m

จิตของมนุษย์แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
1. จิตสานึก (Conscious) = รู้ตัว มีเหตุผล
2. จิตก่อนสานึก (Pre-conscious) = สะสมไว้ในใจ ไม่รู้ตัว แต่พร้อมดึงมาใช้
3. จิตไร้สานึก (Unconscious) = ไม่รู้สึกตัวเลย เก็บกด ก้าวร้าว

/

สัญชาตญาณของมนุษย์มี 2 อย่าง
1. สัญชาติญาณเพื่อการดารงชีวิต (Life instinct)
2. สัญชาติญาณเพื่อความตาย (Death instinct)

r.w

or

dp

re

องค์ประกอบของพลังจิต เป็น 3 ส่วน
1. อิด (ID) ติดตัวมาแต่กาเนิด สัญชาตญาณ ความอยาก ตัณหา ความก้าวร้าว
2. อีโก้ (EGO) เป็นส่วนที่ผ่านการเรียนรู้พยายามควบคุมการแสดงออกของ ID
3. ซุปเปอร์อีโก้ (SUPER EGO) เป็นพลังที่ดีมีคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณ

tp
://
kr
u

tu

to

พัฒนาการของมนุษย์ตามแนวคิดของฟรอยด์ แบ่งออกเป็น 5 ขั้น คือ
1. ขั้นปาก (Oral Stage) อายุ 0 – 18 เดือน
2. ขั้นทวารหนัก (Anal Stage) อายุ 18 เดือน – 3 ปี
3. ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic Stage) อายุ 3 – 5 ปี
4. ขั้นแฝง (Latence Stage) อายุ 6 – 2 ปี
5. ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (Genital Stage) อายุ 12 ปีขึ้นไป

ht

ฟรอยด์จะให้ความสาคัญกับเรื่อง แรงขับทางเพศ
เป็นอย่างมาก และอธิบายโครงสร้างทางจิตของมนุษย์
เหมือนภูเขาน้าแข็ง
ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์

ht

tp
://
kr
u

tu

to

r.w

or

dp

re

ss
.

co
m

/

มาสโลว์ กล่าวถึง ความต้องการของมนุษย์ ว่ามนุษย์มีความต้องการไม่มีที่สิ้นสุด แบ่งเป็น
ลาดับขั้น เมื่อได้รับการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานแล้ว จะมีความต้องการ ในระดับที่
สูงขึ้นไปเรื่อยๆ ลาดับขั้นความต้องการของมาสโลว แบ่งเป็น 5 ขั้น ดังนี้
1. ต้องการของร่างกาย (Physiological needs) เป็นความต้องการพื้นฐานเพื่อ
ความอยู่รอดของชีวิต เช่น อาหาร เครื่องแต่งกาย ที่อยู่อาศัย ความต้องการทางเพศ
2. ความต้องการความปลอดภัย (Safety needs) เป็นความต้องการที่เหนือกว่า
ความต้องการอยู่รอด เช่น ต้องการความมั่นคงในการทางาน ความปลอดภัยจากอันตราย
3.ความต้องการด้านสังคม (Social needs) ความต้องการความรัก ความเป็นเจ้าของ
(Love and belongingness needs)
4. ความต้องการการยกย่อง (Esteem needs) หมายถึง ความต้องการได้ รับการ
ยอมรับนับถือจากบุคคลอื่น อยากมีชื่อเสียง เกียรติยศ
5. ความต้องการประสบความสาเร็จสูงสุดในชีวิต(Self-actualization needs) เป็น
ความต้องการสูงสุดแต่ล่ะคน ที่จะทาทุกสิ่งทุกอย่างให้สาเร็จตามเป้าหมายของชีวิต เช่น อยากเป็น
ดารานักร้องซุปเปอร์สตาร์ อยากเป็นนักกีฬาทีมชาติ อยากเป็นนักวิชาการระดับโลก เป็นต้น
ตัวอย่างข้อสอบ
1.ข้อใดเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานที่ต่าที่สุดของมนุษย์
ก.ความต้องการความรัก
ข. ความต้องการทางร่างกาย
ค. ความต้องการประสบความสาเร็จ
ง. ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย

2.2. 2. ข้อใดจัดเป็นความต้องการขั้นสูงสุดของมนุษย์
ก.ความต้องการความรัก
ข. ความต้องการเกียรติยศ ชื่อเสียง
ค. ความต้องการประสบความสาเร็จ
ง. ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย
ทฤษฎีกรวยประสบการณ์ ของเอดการ์เดล

tp
://
kr
u

tu

to

r.w

or

dp

re

ss
.

co
m

/

เอดการ์เดล (Edgar Dale) ได้นาเสนอ แนวคิดกรวยประสบการณ์ ว่าการจั ดการเรียนรู้
หรือ การถ่ายทอดประสบการณ์สาหรับนั กเรียน มีลาดับของความสามารถในการรับรู้จากลาดับที่
สามารถทาให้นักเรียนเข้าใจได้น้อยที่สุดไปถึงมากที่สุด ตั้งเป็นรูปกรวยเริ่มตั้งแต่นามธรรมไปจนถึง
รูปธรรม ดังนี้

ht

ตัวอย่างข้อสอบ
1.การจัดการเรียนรู้โดยผ่านประสบการณ์แบบใดที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้น้อยที่สุด
ก. ประสบการณ์ตรง
ข. การบรรยาย
ค. การให้ดูภาพ
ง. การชมนิทรรศการ
2.การจัดการเรียนรู้แบบวัจนสัญลักษณ์ หมายถึงอะไร
ก. การพูด การบรรยาย
ข. การให้ดูสื่อการสอน ภาพถ่าย
ค. การสาธิต ลงมือทา
ง. การศึกษานอกสถานที่
สมรรถนะวิชาชีพครู

co
m

/

สมรรถนะ เป็นคุณลักษณะพื้นฐานของบุคคล ซึ่งมีความสัมพันธ์ต่อการปฏิบัติงานที่มี
ประสิทธิผลหรือเป็นไปตามเกณฑ์ หรือการมีผลงานที่โดดเด่นกว่าในการทางานหรือสถานการณ์
นั้น
สมรรถนะครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา (Teachers
and
personnel
competency) หมายถึง พฤติกรรมซึ่งเกิดจากการรวมความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill)
คุณลักษณะ(Character) ทัศนคติ (Attitude) และแรงจูงใจ (Motivation) ของบุคคล และส่งผล
ต่อความสาเร็จในการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างโดดเด่น

dp

re

ss
.

สมรรถนะ มีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ
1. ความรู้ (Knowledge)
2. ทักษะ (Skills)
3. คุณลักษณะส่วนบุคคล (Attributes)

r.w

or

สมรรถนะ มี 2 ประเภท คือ
1. สมรรถนะหลัก (Core Competency)
2. สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency)

ht

tp
://
kr
u

tu

to

สมรรถนะวิชาชีพครูตามเกณฑ์ของ ก.ค.ศ.
1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) ประกอบด้วย 4 สมรรถนะ
1.1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์
1.2. การบริการที่ดี
1.3. การพัฒนาตนเอง
1.4. การทางานเป็นทีม
2. สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ
2.1. การออกแบบการเรียนรู้
2.2. การพัฒนาผู้เรียน
2.3. การบริหารจัดการชั้นเรียน
2.4. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัย
2.5. การสร้างความร่วมมือกับชุมชน
r.w

or

dp

re

ss
.

co
m

/

สมรรถนะวิชาชีพครู ตามเกณฑ์ของ สพฐ.
1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ
1.1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน
1.2 การบริการที่ดี
1.3 การพัฒนาตนเอง
1.4 การทางานเป็นทีม
1.5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู
2. สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ
2.1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
2.2 การพัฒนาผู้เรียน
2.3 การบริหารจัดการชั้นเรียน
2.4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
2.5 ภาวะผู้นาครู
2.6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้

tp
://
kr
u

tu

to

คะแนนการประเมินสมรรถนะมี 4 ระดับ
ระดับ 1
หมายถึง
น้อย หรือต้องปรับปรุง (ต่ากว่า 60%)
ระดับ 2
หมายถึง
พอใช้ หรือ ปานกลาง (ต่ากว่า 60 - 69%)
ระดับ 3
หมายถึง
ดี หรือ สูง (ต่ากว่า 70 - 79%)
ระดับ 4
หมายถึง
ดีมาก หรือ สูงมาก ( 80% ขึ้นไป)

ht

แผนพัฒนาตนเอง (Individual Development Plan = ID – Plan)
หมายถึง แผนทีบุคคลได้กาหนดขึ้นเป็นแนวทางในการเสริมสร้างหรือเพิ่มพูนสมรรถนะ
่
คุณลักษณะที่จาเป็นในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมุ่งสู่คุณภาพ ระดับสูง และบรรลุ
เป้าหมายวิชาชีพของตน
คุณธรรมสาหรับครู

dp

re

ss
.

พรหมวิหาร 4 (ธรรมอันประเสริฐ ธรรมของผู้เป็นใหญ่)
1. เมตตา = ความรัก ความปรารถนาให้ผู้อื่นมีความสุข
2. กรุณา = ความสงสาร อยากช่วยผู้อื่นให้พ้นทุกข์
3. มุฑิตา = ความยินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุข
4. อุเบกขา = วางใจเป็นกลาง

co
m

/

สังคหวัตถุ 4 (ธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจคน)
1. ทาน
= การให้ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
2. ปิยวาจา = การเจรจาด้วยถ้อยคาสุภาพ อ่อนหวาน
3. อัตถจริยา = การประพฤติแต่สิ่งที่ดี มีประโยชน์ต่อกัน
4. สมานัตตา = การทาตน เสมอต้น เสมอปลาย

tp
://
kr
u

tu

to

r.w

or

อิทธิบาท 4 (ธรรมสาหรับการทางาน)
1. ฉันทะ = ความยินดี พอใจในสิ่งที่ทา
2. วิริยะ
= ความเพียรพยายาม
3. จิตตะ = การตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่กระทา
4. วิมังสา = การไตร่ตรอง ใช้ปัญญาพิจารณาใคร่ครวญ

ht

ฆราวาสธรรม 4 (ธรรมสาหรับผู้ครองเรือน)
1. สัจจะ
= ความจริงใจต่อตนเอง
2. ทมะ
= การฝึกตน ข่มใจ บังคับตน
3. ขันติ
= การอดทน อดกลั้น
4. จาคะ
= ความเสียสละ
สุจริต 3
1. กายสุจริต = ประพฤติชอบทางกาย
2. วจีสุจริต = ประพฤติชอบทางวาจา
3. มโนสุจริต = ประพฤติชอบทางใจ
แนวข้อสอบวิชาการศึกษา

ht

tp
://
kr
u

tu

to

r.w

or

dp

re

ss
.

co
m

/

1. ปรัชญา หมายถึง ข้อใด
ก. การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์
ข. ความรักในความรู้
ค. การค้นพบทางแห่งความจริง
ง. ความฉลาดปราดเปรื่อง
2. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเรียนตามความสนใจของตนเอง คือ ปรัชญาใด
ก. อัตถิภาวะนิยม
ข. จิตนิยม
ค. ประสบการณ์นิยม
ง. พิพัฒนาการนิยม
3. Learning by doing เป็นแนวคิดของใคร
ก. อริสโตเติล
ข. จอห์นดิวอี้
ค. เพลโต
ง. ฟรอยด์
4. นักจิตวิทยาที่ให้ความสาคัญกับแรงขับทางเพศ คือ ใคร
ก. ฟรอยด์
ข. มาสโลว
ค. บรุนเนอร์
ง. การ์ดเนอร์
5. ทฤษฎีการสริมแรง เกิดจากแนวคิดของนักการศึกษาคนใด
ก. พลาฟลอฟ
ข. วัตสัน
ค. สกินเนอร์
ง. ธอร์นไดค์
6. บิดาแห่งจิตวิทยาการศึกษา คือ ใคร
ก. สกินเนอร์
ข. ฟรอยด์
ค. ธอนร์ไดค์
ง. บรุนเนอร์
7. โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ ได้ค้นพบแนวคิดทฤษฎีใด
ก. พหุปัญญา
ข. การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
ค. 4 MAT
ง. หมวก 6 ใบ
8. การเรียนแบบเน้นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย คือ แนวคิดกลุ่มใด
ก. พฤติกรรมนิยม
ข. เกสตัลท์
ค. สัมพันธ์เชื่อมโยง
ง. การวางเงื่อนไข
9. ครูคนใดใช้แนวคิดการเรียนแบบเสริมแรงทางบวก
ก. ครูอ้อยลงโทษนักเรียนที่ไม่ส่งงาน
ข. ครูไก่ตาหนินักเรียนที่ผิดระเบียบ
ค. ครูดาวกล่าวชื่นชมนักเรียนหน้าเสาธง
ง. ครูสมศรีเพิกเฉยกับนักเรียนที่ขาดเรียน
10. การนาสิ่งทีเรียนรู้แล้วในอดีตมาใช้แก้ปัญหากับสภาพการณ์ใหม่ๆ ในปัจจุบันหรืออนาคต คืออะไร
่
ก. การถ่ายโยงการเรียนรู้
ข. สถานการณ์จาลอง
ค. การเสริมแรง
ง. แรงจูงใจ
ht

tp
://
kr
u

tu

to

r.w

or

dp

re

ss
.

/

co
m

11. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญมีความหมายตรงกับข้อใด
ก. การส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง
ค. ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองอย่างเต็มที่
ข. ตอบสนองความความต้องการของผู้เรียน
ง. ทุกข้อที่กล่าวมา
12. เทคนิคการจัดเรียนการสอน ที่เรียกว่า การเรียนแบบสืบค้น คือข้อใด
ก. Inquiry
ข. Discovery
ค. Questioning
ง. Case Study
13. เทคนิคการจัดวิธีการจัดการเรียนการสอน ที่เรียกว่า การเรียนแบบการค้นพบ คือ ข้อใด
ก. Inquiry
ข. Discovery
ค. Questioning
ง. Case Study
14. เทคนิคการจัดวิธีการจัดการเรียนการสอน ที่เรียกว่า การเรียนแบบใช้กรณีศึกษา คือ ข้อใด
ก. Inquiry
ข. Discovery
ค. Questioning
ง. Case Study
15. เทคนิคการจัดวิธีการจัดการเรียนการสอน แบบแก้ปัญหา คือ ข้อใด
ก. Problem Solving
ข. Concept mapping
ค. Decision making
ง. Case Study
16. PBL หมายถึง อะไร
ก. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
ข. การสอนการคิด
ค. การสอนแบบค้นพบ
ง. การสอนแบบบูรณาการ
17. หลักการสอนโดยทั่วไปแบบใดจะเกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีที่สุด
ก. เรียนจากง่ายไปหายาก
ข. เรียนปนเล่น
ค. เรียนสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว
ง. เรียนโดยการลงมือปฏิบัติ
18. องค์ประกอบของจุดมุ่งหมายทางการศึกษาของบลูม คือ ข้อใด
ก. พุทธฺพิสัย อัตพิสัย จิตพิสัย
ข. พุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย
ค. ปัญญาพิสัย พุทธิพิสะน ทักษะพิสัย
ง. อัตถจริยา สมนัตตา ปัญญา
19. ข้อใดเป็นทักษะการคิดขั้นสูง
ก. ความรู้ ความจา
ข. ความเข้าใจ
ค. การนาไปใช้
ง. การสังเคราะห์
20. วิธีสอนแบบใดจัดว่าเป็นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญมากกว่าวิธีอื่นๆ
ก. การบรรยาย
ข. การสอนแบบโครงงาน
ข. การดูวีดีทัศน์
ง. การระดมพลังสมอง

Más contenido relacionado

Más de Pakornkrits

การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่
การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่
การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่Pakornkrits
 
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความคู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความPakornkrits
 
15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯ
15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯ15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯ
15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯPakornkrits
 
รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556
รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556
รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556Pakornkrits
 
หลักสูตรสอบปี 56
หลักสูตรสอบปี 56หลักสูตรสอบปี 56
หลักสูตรสอบปี 56Pakornkrits
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556Pakornkrits
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556Pakornkrits
 
แนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุด
แนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุดแนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุด
แนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุดPakornkrits
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556Pakornkrits
 
รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์
รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์
รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์Pakornkrits
 
สมัคร และการใช้งาน Google drive
สมัคร และการใช้งาน Google driveสมัคร และการใช้งาน Google drive
สมัคร และการใช้งาน Google drivePakornkrits
 
หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1
หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1
หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1Pakornkrits
 
การแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯ
การแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯการแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯ
การแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯPakornkrits
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
คู่มือ Twitter V2
คู่มือ Twitter V2คู่มือ Twitter V2
คู่มือ Twitter V2Pakornkrits
 
คู่มือ Facebook ฉบับ 2
คู่มือ Facebook ฉบับ 2คู่มือ Facebook ฉบับ 2
คู่มือ Facebook ฉบับ 2Pakornkrits
 
คู่มือ Facebook
คู่มือ Facebookคู่มือ Facebook
คู่มือ FacebookPakornkrits
 
คู่มือ Twitter
คู่มือ Twitterคู่มือ Twitter
คู่มือ TwitterPakornkrits
 
ผลงาน 4.2
ผลงาน 4.2ผลงาน 4.2
ผลงาน 4.2Pakornkrits
 
7. ความหมายของสี ชุด 2
7. ความหมายของสี ชุด 27. ความหมายของสี ชุด 2
7. ความหมายของสี ชุด 2Pakornkrits
 

Más de Pakornkrits (20)

การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่
การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่
การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่
 
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความคู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
 
15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯ
15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯ15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯ
15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯ
 
รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556
รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556
รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556
 
หลักสูตรสอบปี 56
หลักสูตรสอบปี 56หลักสูตรสอบปี 56
หลักสูตรสอบปี 56
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
แนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุด
แนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุดแนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุด
แนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุด
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์
รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์
รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์
 
สมัคร และการใช้งาน Google drive
สมัคร และการใช้งาน Google driveสมัคร และการใช้งาน Google drive
สมัคร และการใช้งาน Google drive
 
หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1
หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1
หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1
 
การแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯ
การแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯการแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯ
การแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯ
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
คู่มือ Twitter V2
คู่มือ Twitter V2คู่มือ Twitter V2
คู่มือ Twitter V2
 
คู่มือ Facebook ฉบับ 2
คู่มือ Facebook ฉบับ 2คู่มือ Facebook ฉบับ 2
คู่มือ Facebook ฉบับ 2
 
คู่มือ Facebook
คู่มือ Facebookคู่มือ Facebook
คู่มือ Facebook
 
คู่มือ Twitter
คู่มือ Twitterคู่มือ Twitter
คู่มือ Twitter
 
ผลงาน 4.2
ผลงาน 4.2ผลงาน 4.2
ผลงาน 4.2
 
7. ความหมายของสี ชุด 2
7. ความหมายของสี ชุด 27. ความหมายของสี ชุด 2
7. ความหมายของสี ชุด 2
 

ตัวอย่างเอกสารเตรียมสอบครูผู้ช่วย ข้อสอบครูผู้ช่วย

  • 1. การจัดการศึกษาสู16. อัตลักษณ์ ยน ่ประชาคมอาเซี dp re ss . co m / อาเซียน หรือ ประชาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) ปัจจุบัน มีประเทศสมาชิก 10 ประเทศ ดังนี้ 1. มาเลเซีย 5 ประเทศแรกเริ่มก่อตั้งอาเซียน 2. ฟิลิปปินส์ โดยปฏิญญากรุงเทพ 8 สิงหาคม 2510 3. อินโดนีเซีย กาหนดเปิดประชาคมอาเซียน 31 ธันวาคม 2558 4. สิงคโปร์ 5. ไทย 6. บรูไน 7. เวียดนาม 8. ลาว 9. พม่า 10.กัมพูชา (เป็นประเทศที่เข้าร่วมเป็นลาดับสุดท้าย วันที่ 30 เม.ย.42) tu to r.w or ภาคีเครือข่ายคู่เจรจา รวม 9 ประเทศ 1 องค์การภูมิภาค ได้แก่ อาเซียน + 3 ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น อาเซียน + 6 เพิ่ม ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย อาเซียน + 8 เพิ่ม รัสเซีย สหรัฐ คู่เจราจร 9 ประเทศ ได้แก่ อาเซียน+8 แคนาดา และ สหภาพยุโรป ht tp :// kr u เสาหลักของอาเซียนมี 3 เสาหลัก ได้แก่ 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community) 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community) APSC เสาการเมืองและความมั่นคง AEC เสาเศรษฐกิจ ASCC เสาสังคมและวัฒนธรรม
  • 2. คาขวัญอาเซียน One Vision, One Identity, One Community" หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม เพลงประจาอาเซียน เพลง The ASEAN WAY ht tp :// kr u tu to r.w or dp re ss . co m / สัญลักษณ์อาเซียน “รวงข้าวสีเหลือง10 ต้นมัดรวมกันไว้” หมายถึง ประเทศในภูมิภาคเอเชี ยตะวันออก เฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ รวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน โดยสี ที่ ปรากฏในสัญลักษณ์ของอาเซียน เป็นสีที่สาคัญของธงชาติของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน สีนาเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สานักเลขาธิการอาเซียน ตั้งอยู่ที่ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เป็นศูนย์กลางใน การติดต่อระหว่างประเทศสมาชิก โดยมีเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretary-General) เป็นหัวหน้าสานักงาน ผู้ดารงตาแหน่งคนปัจจุบัน ซึ่งมีวาระดารงตาแหน่ง 5 ปี คือ นายเลอ เลือง มินห์ จากประเทศเวียดนาม (พ.ศ.2556-2560)
  • 3. re ss . co m / วัตถุประสงค์หลักที่กาหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน (The ASEAN Declaration) มี 7 ประการ ดังนี้ 1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและ วัฒนธรรม 2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค 3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และด้านการบริหาร 4. ส่งเสริมความร่วมมือซึงกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย ่ 5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การสื่อสาร และปรับปรุงมาตรฐานการดารงชีวิต 6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 7. ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ ht tp :// kr u tu to r.w or dp อาชีพหลักที่สามารถเคลื่อนย้ายแรงงานได้อย่างเสรีในอาเซียน 1. วิศวกร (Engineering Services) 2. พยาบาล (Nursing Services) 3. สถาปนิก (Architectural Services) 4. การสารวจ (Surveying Qualifications) 5. พนักงานบัญชี (Accountancy Services) 6. ทันตแพทย์ (Dental Practitioners) 7. แพทย์ (Medical Practitioners) 8. การบริการ/การท่องเที่ยว ( Tourism )
  • 4. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ co m / พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มีการปรับปรุง 3 ฉบับ ได้แก่ 1. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ประกาศใช้ 19 สิงหาคม 2542 2. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2545 ประกาศใช้ 19 ธันวาคม 2545 3. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2553) ประกาศใช้ 22 กรกฎาคม2553 tp :// kr u tu to r.w or dp re ss . สรุปสาระสาคัญ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เป็นกฎหมายแม่บททางการศึกษา มี 9 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 78 มาตรา สรุปประเด็นสาคัญ ดังนี้ หมวดที่ 1 บททั่วไป หมวดที่ 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา หมวดที่ 4 แนวการจัดการศึกษา หมวดที่ 5 การบริหารและการจัดการศึกษา หมวดที่ 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา หมวดที่ 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา หมวดที่ 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา บทเฉพาะกาล ht ความหมายของคาที่ออกข้อสอบเป็นประจา การศึกษา หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม การศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง การศึกษาระดับก่อนอุดมศึกษา การศึกษาตลอดชีวิต หมายความว่า การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษา ในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอั ธยาศัยเพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
  • 5. ht tp :// kr u tu to r.w or dp re ss . co m / สถานศึกษา หมายความว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษาหรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอานาจ หน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา มาตรฐานการศึกษา หมายความว่า ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง การประกันคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษานั้น (สพฐ) การประกันคุณภาพภายนอก หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดย สมศ.หรือบุคคลหรือที่ สมศ. รับรอง ผู้สอน หมายความว่า ครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่างๆ ครู หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและการ ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน คณาจารย์ หมายความว่า บุคลากรซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยใน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน ผู้บริหารสถานศึกษา หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษา แต่ละแห่ง ทั้งของรัฐและเอกชน ผู้บริหารการศึกษา หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพ*ที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษา นอกสถานศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป บุคลากรทางการศึกษา หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้ง ผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทาหน้าที่ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการ เรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่างๆ กระทรวง หมายความว่า กระทรวงศึกษาธิการ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ *** หมายเหตุ*** * ครู * ไม่ใช่บุคลากรทางการศึกษา ความมุ่งหมาย ต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ (เก่ง ดี มีสุข)
  • 6. หลักการจัดการศึกษา มี 3 ประการ 1. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน 2. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 3. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ss . co m / สิทธิและหน้าที่ บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐต้อง จัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย to r.w or dp re การศึกษามี 3 รูปแบบ คือ 1. การศึกษาในระบบ (Formal Education) 2. การศึกษานอกระบบ (non-formal Education) 3. การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) * สถานศึกษาอาจจัดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ tp :// kr u tu การศึกษาในระบบ มี 2 ระดับ ขั้นพื้นฐาน,อุดมศึกษา ht (1) การศึกษาขันพืนฐาน ้ ้ ก่อนประถม 3 – 6 ปี ประถม (2) อุดมศึกษา มัธยม ต่ากว่า ปริญญา ปริญญา
  • 7. โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ Howard Gardner ทฤษฎีพหุปัญญา ss . มาสโลว์ abraham h maslow ทฤษฎีแรงจูงใจ ลาดับขั้นความต้องการของมนุษย์ กิลฟอร์ด Guilford ทฤษฎีโครงสร้างทางปัญญา เดอ โบโน Edward de Bono ทฤษฎีหมวก 6 ใบ บลูม Benjamin S Bloom ทฤษฎีลาดับขั้นการเรียนรู้ พุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย to สกินเนอร์ BF. SKINNER ทฤษฎีการเสริมแรง ht tp :// kr u tu อิลิคสัน Erik Erikson ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการ r.w or dp re ซิกมันด์ ฟรอยด์ Sigmund Freud นักจิตวิทยาทฤษฎีจิตวิเคราะห์ co m / นักจิตวิทยาและนักการศึกษาที่ควรรู้จัก พาฟลอฟ I Van Pavlov ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
  • 8. ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) นักจิตวิทยาชาวออสเตรเลีย แนวคิดจิตวิเคราะห์ ดังนี้ ss . co m จิตของมนุษย์แบ่งออกเป็น 3 ส่วน 1. จิตสานึก (Conscious) = รู้ตัว มีเหตุผล 2. จิตก่อนสานึก (Pre-conscious) = สะสมไว้ในใจ ไม่รู้ตัว แต่พร้อมดึงมาใช้ 3. จิตไร้สานึก (Unconscious) = ไม่รู้สึกตัวเลย เก็บกด ก้าวร้าว / สัญชาตญาณของมนุษย์มี 2 อย่าง 1. สัญชาติญาณเพื่อการดารงชีวิต (Life instinct) 2. สัญชาติญาณเพื่อความตาย (Death instinct) r.w or dp re องค์ประกอบของพลังจิต เป็น 3 ส่วน 1. อิด (ID) ติดตัวมาแต่กาเนิด สัญชาตญาณ ความอยาก ตัณหา ความก้าวร้าว 2. อีโก้ (EGO) เป็นส่วนที่ผ่านการเรียนรู้พยายามควบคุมการแสดงออกของ ID 3. ซุปเปอร์อีโก้ (SUPER EGO) เป็นพลังที่ดีมีคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณ tp :// kr u tu to พัฒนาการของมนุษย์ตามแนวคิดของฟรอยด์ แบ่งออกเป็น 5 ขั้น คือ 1. ขั้นปาก (Oral Stage) อายุ 0 – 18 เดือน 2. ขั้นทวารหนัก (Anal Stage) อายุ 18 เดือน – 3 ปี 3. ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic Stage) อายุ 3 – 5 ปี 4. ขั้นแฝง (Latence Stage) อายุ 6 – 2 ปี 5. ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (Genital Stage) อายุ 12 ปีขึ้นไป ht ฟรอยด์จะให้ความสาคัญกับเรื่อง แรงขับทางเพศ เป็นอย่างมาก และอธิบายโครงสร้างทางจิตของมนุษย์ เหมือนภูเขาน้าแข็ง
  • 9. ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์ ht tp :// kr u tu to r.w or dp re ss . co m / มาสโลว์ กล่าวถึง ความต้องการของมนุษย์ ว่ามนุษย์มีความต้องการไม่มีที่สิ้นสุด แบ่งเป็น ลาดับขั้น เมื่อได้รับการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานแล้ว จะมีความต้องการ ในระดับที่ สูงขึ้นไปเรื่อยๆ ลาดับขั้นความต้องการของมาสโลว แบ่งเป็น 5 ขั้น ดังนี้ 1. ต้องการของร่างกาย (Physiological needs) เป็นความต้องการพื้นฐานเพื่อ ความอยู่รอดของชีวิต เช่น อาหาร เครื่องแต่งกาย ที่อยู่อาศัย ความต้องการทางเพศ 2. ความต้องการความปลอดภัย (Safety needs) เป็นความต้องการที่เหนือกว่า ความต้องการอยู่รอด เช่น ต้องการความมั่นคงในการทางาน ความปลอดภัยจากอันตราย 3.ความต้องการด้านสังคม (Social needs) ความต้องการความรัก ความเป็นเจ้าของ (Love and belongingness needs) 4. ความต้องการการยกย่อง (Esteem needs) หมายถึง ความต้องการได้ รับการ ยอมรับนับถือจากบุคคลอื่น อยากมีชื่อเสียง เกียรติยศ 5. ความต้องการประสบความสาเร็จสูงสุดในชีวิต(Self-actualization needs) เป็น ความต้องการสูงสุดแต่ล่ะคน ที่จะทาทุกสิ่งทุกอย่างให้สาเร็จตามเป้าหมายของชีวิต เช่น อยากเป็น ดารานักร้องซุปเปอร์สตาร์ อยากเป็นนักกีฬาทีมชาติ อยากเป็นนักวิชาการระดับโลก เป็นต้น ตัวอย่างข้อสอบ 1.ข้อใดเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานที่ต่าที่สุดของมนุษย์ ก.ความต้องการความรัก ข. ความต้องการทางร่างกาย ค. ความต้องการประสบความสาเร็จ ง. ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย 2.2. 2. ข้อใดจัดเป็นความต้องการขั้นสูงสุดของมนุษย์ ก.ความต้องการความรัก ข. ความต้องการเกียรติยศ ชื่อเสียง ค. ความต้องการประสบความสาเร็จ ง. ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย
  • 10. ทฤษฎีกรวยประสบการณ์ ของเอดการ์เดล tp :// kr u tu to r.w or dp re ss . co m / เอดการ์เดล (Edgar Dale) ได้นาเสนอ แนวคิดกรวยประสบการณ์ ว่าการจั ดการเรียนรู้ หรือ การถ่ายทอดประสบการณ์สาหรับนั กเรียน มีลาดับของความสามารถในการรับรู้จากลาดับที่ สามารถทาให้นักเรียนเข้าใจได้น้อยที่สุดไปถึงมากที่สุด ตั้งเป็นรูปกรวยเริ่มตั้งแต่นามธรรมไปจนถึง รูปธรรม ดังนี้ ht ตัวอย่างข้อสอบ 1.การจัดการเรียนรู้โดยผ่านประสบการณ์แบบใดที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้น้อยที่สุด ก. ประสบการณ์ตรง ข. การบรรยาย ค. การให้ดูภาพ ง. การชมนิทรรศการ 2.การจัดการเรียนรู้แบบวัจนสัญลักษณ์ หมายถึงอะไร ก. การพูด การบรรยาย ข. การให้ดูสื่อการสอน ภาพถ่าย ค. การสาธิต ลงมือทา ง. การศึกษานอกสถานที่
  • 11. สมรรถนะวิชาชีพครู co m / สมรรถนะ เป็นคุณลักษณะพื้นฐานของบุคคล ซึ่งมีความสัมพันธ์ต่อการปฏิบัติงานที่มี ประสิทธิผลหรือเป็นไปตามเกณฑ์ หรือการมีผลงานที่โดดเด่นกว่าในการทางานหรือสถานการณ์ นั้น สมรรถนะครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา (Teachers and personnel competency) หมายถึง พฤติกรรมซึ่งเกิดจากการรวมความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) คุณลักษณะ(Character) ทัศนคติ (Attitude) และแรงจูงใจ (Motivation) ของบุคคล และส่งผล ต่อความสาเร็จในการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างโดดเด่น dp re ss . สมรรถนะ มีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ 1. ความรู้ (Knowledge) 2. ทักษะ (Skills) 3. คุณลักษณะส่วนบุคคล (Attributes) r.w or สมรรถนะ มี 2 ประเภท คือ 1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) 2. สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) ht tp :// kr u tu to สมรรถนะวิชาชีพครูตามเกณฑ์ของ ก.ค.ศ. 1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) ประกอบด้วย 4 สมรรถนะ 1.1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 1.2. การบริการที่ดี 1.3. การพัฒนาตนเอง 1.4. การทางานเป็นทีม 2. สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ 2.1. การออกแบบการเรียนรู้ 2.2. การพัฒนาผู้เรียน 2.3. การบริหารจัดการชั้นเรียน 2.4. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัย 2.5. การสร้างความร่วมมือกับชุมชน
  • 12. r.w or dp re ss . co m / สมรรถนะวิชาชีพครู ตามเกณฑ์ของ สพฐ. 1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ 1.1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน 1.2 การบริการที่ดี 1.3 การพัฒนาตนเอง 1.4 การทางานเป็นทีม 1.5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู 2. สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ 2.1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 2.2 การพัฒนาผู้เรียน 2.3 การบริหารจัดการชั้นเรียน 2.4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน 2.5 ภาวะผู้นาครู 2.6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ tp :// kr u tu to คะแนนการประเมินสมรรถนะมี 4 ระดับ ระดับ 1 หมายถึง น้อย หรือต้องปรับปรุง (ต่ากว่า 60%) ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ หรือ ปานกลาง (ต่ากว่า 60 - 69%) ระดับ 3 หมายถึง ดี หรือ สูง (ต่ากว่า 70 - 79%) ระดับ 4 หมายถึง ดีมาก หรือ สูงมาก ( 80% ขึ้นไป) ht แผนพัฒนาตนเอง (Individual Development Plan = ID – Plan) หมายถึง แผนทีบุคคลได้กาหนดขึ้นเป็นแนวทางในการเสริมสร้างหรือเพิ่มพูนสมรรถนะ ่ คุณลักษณะที่จาเป็นในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมุ่งสู่คุณภาพ ระดับสูง และบรรลุ เป้าหมายวิชาชีพของตน
  • 13. คุณธรรมสาหรับครู dp re ss . พรหมวิหาร 4 (ธรรมอันประเสริฐ ธรรมของผู้เป็นใหญ่) 1. เมตตา = ความรัก ความปรารถนาให้ผู้อื่นมีความสุข 2. กรุณา = ความสงสาร อยากช่วยผู้อื่นให้พ้นทุกข์ 3. มุฑิตา = ความยินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุข 4. อุเบกขา = วางใจเป็นกลาง co m / สังคหวัตถุ 4 (ธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจคน) 1. ทาน = การให้ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 2. ปิยวาจา = การเจรจาด้วยถ้อยคาสุภาพ อ่อนหวาน 3. อัตถจริยา = การประพฤติแต่สิ่งที่ดี มีประโยชน์ต่อกัน 4. สมานัตตา = การทาตน เสมอต้น เสมอปลาย tp :// kr u tu to r.w or อิทธิบาท 4 (ธรรมสาหรับการทางาน) 1. ฉันทะ = ความยินดี พอใจในสิ่งที่ทา 2. วิริยะ = ความเพียรพยายาม 3. จิตตะ = การตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่กระทา 4. วิมังสา = การไตร่ตรอง ใช้ปัญญาพิจารณาใคร่ครวญ ht ฆราวาสธรรม 4 (ธรรมสาหรับผู้ครองเรือน) 1. สัจจะ = ความจริงใจต่อตนเอง 2. ทมะ = การฝึกตน ข่มใจ บังคับตน 3. ขันติ = การอดทน อดกลั้น 4. จาคะ = ความเสียสละ สุจริต 3 1. กายสุจริต = ประพฤติชอบทางกาย 2. วจีสุจริต = ประพฤติชอบทางวาจา 3. มโนสุจริต = ประพฤติชอบทางใจ
  • 14. แนวข้อสอบวิชาการศึกษา ht tp :// kr u tu to r.w or dp re ss . co m / 1. ปรัชญา หมายถึง ข้อใด ก. การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ ข. ความรักในความรู้ ค. การค้นพบทางแห่งความจริง ง. ความฉลาดปราดเปรื่อง 2. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเรียนตามความสนใจของตนเอง คือ ปรัชญาใด ก. อัตถิภาวะนิยม ข. จิตนิยม ค. ประสบการณ์นิยม ง. พิพัฒนาการนิยม 3. Learning by doing เป็นแนวคิดของใคร ก. อริสโตเติล ข. จอห์นดิวอี้ ค. เพลโต ง. ฟรอยด์ 4. นักจิตวิทยาที่ให้ความสาคัญกับแรงขับทางเพศ คือ ใคร ก. ฟรอยด์ ข. มาสโลว ค. บรุนเนอร์ ง. การ์ดเนอร์ 5. ทฤษฎีการสริมแรง เกิดจากแนวคิดของนักการศึกษาคนใด ก. พลาฟลอฟ ข. วัตสัน ค. สกินเนอร์ ง. ธอร์นไดค์ 6. บิดาแห่งจิตวิทยาการศึกษา คือ ใคร ก. สกินเนอร์ ข. ฟรอยด์ ค. ธอนร์ไดค์ ง. บรุนเนอร์ 7. โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ ได้ค้นพบแนวคิดทฤษฎีใด ก. พหุปัญญา ข. การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค ค. 4 MAT ง. หมวก 6 ใบ 8. การเรียนแบบเน้นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย คือ แนวคิดกลุ่มใด ก. พฤติกรรมนิยม ข. เกสตัลท์ ค. สัมพันธ์เชื่อมโยง ง. การวางเงื่อนไข 9. ครูคนใดใช้แนวคิดการเรียนแบบเสริมแรงทางบวก ก. ครูอ้อยลงโทษนักเรียนที่ไม่ส่งงาน ข. ครูไก่ตาหนินักเรียนที่ผิดระเบียบ ค. ครูดาวกล่าวชื่นชมนักเรียนหน้าเสาธง ง. ครูสมศรีเพิกเฉยกับนักเรียนที่ขาดเรียน 10. การนาสิ่งทีเรียนรู้แล้วในอดีตมาใช้แก้ปัญหากับสภาพการณ์ใหม่ๆ ในปัจจุบันหรืออนาคต คืออะไร ่ ก. การถ่ายโยงการเรียนรู้ ข. สถานการณ์จาลอง ค. การเสริมแรง ง. แรงจูงใจ
  • 15. ht tp :// kr u tu to r.w or dp re ss . / co m 11. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญมีความหมายตรงกับข้อใด ก. การส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ค. ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองอย่างเต็มที่ ข. ตอบสนองความความต้องการของผู้เรียน ง. ทุกข้อที่กล่าวมา 12. เทคนิคการจัดเรียนการสอน ที่เรียกว่า การเรียนแบบสืบค้น คือข้อใด ก. Inquiry ข. Discovery ค. Questioning ง. Case Study 13. เทคนิคการจัดวิธีการจัดการเรียนการสอน ที่เรียกว่า การเรียนแบบการค้นพบ คือ ข้อใด ก. Inquiry ข. Discovery ค. Questioning ง. Case Study 14. เทคนิคการจัดวิธีการจัดการเรียนการสอน ที่เรียกว่า การเรียนแบบใช้กรณีศึกษา คือ ข้อใด ก. Inquiry ข. Discovery ค. Questioning ง. Case Study 15. เทคนิคการจัดวิธีการจัดการเรียนการสอน แบบแก้ปัญหา คือ ข้อใด ก. Problem Solving ข. Concept mapping ค. Decision making ง. Case Study 16. PBL หมายถึง อะไร ก. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ข. การสอนการคิด ค. การสอนแบบค้นพบ ง. การสอนแบบบูรณาการ 17. หลักการสอนโดยทั่วไปแบบใดจะเกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีที่สุด ก. เรียนจากง่ายไปหายาก ข. เรียนปนเล่น ค. เรียนสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว ง. เรียนโดยการลงมือปฏิบัติ 18. องค์ประกอบของจุดมุ่งหมายทางการศึกษาของบลูม คือ ข้อใด ก. พุทธฺพิสัย อัตพิสัย จิตพิสัย ข. พุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย ค. ปัญญาพิสัย พุทธิพิสะน ทักษะพิสัย ง. อัตถจริยา สมนัตตา ปัญญา 19. ข้อใดเป็นทักษะการคิดขั้นสูง ก. ความรู้ ความจา ข. ความเข้าใจ ค. การนาไปใช้ ง. การสังเคราะห์ 20. วิธีสอนแบบใดจัดว่าเป็นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญมากกว่าวิธีอื่นๆ ก. การบรรยาย ข. การสอนแบบโครงงาน ข. การดูวีดีทัศน์ ง. การระดมพลังสมอง