SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 1
Descargar para leer sin conexión
กาหนดการเชิงเส้น (linear programming) เป็นวิธีการทางคณิตศาสตร์ประยุกต์ ซึ่งได้พัฒนาขึ้น
ตั้งแต่ก่อน พ.ศ. 2483 เพื่อช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์
สูงสุด คาว่า ทรัพยากร ในที่นี้หมายถึง เครื่องจักร กาลังคน วัตถุดิบ เวลา หรือเงินลงทุนก็ได้ วิธีการของ
กาหนดการเชิงเส้นทาให้เราทราบว่าควรตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุนอย่างไร จึงจะได้ผลกาไรสูงสุดภายใต้
ข้อจากัดและเงื่อนที่มีอยู่ ปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้วิธีการกาหนดการเชิงเส้นในหลายวงการ เช่น
ทางด้านการผลิต นาไปช่วยในการวางแผนการผลิตเพื่อให้ได้กาไรสูงสุด ในขณะที่เครื่องจักรและ
วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตมีอยู่จานวนจากัด หรือกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่า เป็นการวางแผนการผลิตเพื่อให้เกิด
ต้นทุนการผลิตต่าสุด ภายใต้ข้อจากัดของเครื่องมือและวัตถุดิบที่มีอยู่
ทางด้านโภชนาการ นาไปช่วยในการวางแผนการจัดอาหารเพื่อให้ร่างกายได้รับคุณค่าทางอาหาร
เพียงพอกับความต้องการ โดยเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด
ทางด้านการศึกษา นาไปช่วยในการวางแผนการบริหารงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดเช่น
สามารถรับนักเรียน เข้าศึกษาได้มากที่สุดภายใต้ข้อจากัดเกี่ยวกับจานวนครู และสถานที่ เป็นต้น
ทางด้านประสิทธิภาพในการทางาน นาไปช่วยในการจัดเวลาที่มีอยู่จากัดให้สามารถจัดกิจกรรมที่มี
อยู่หลาย ๆ อย่าง เกิดผลที่มีประโยชน์สูงสุด
นอกจากตัวอย่างที่กล่าวมาแล้ว กาหนดการการเชิงเส้นยังสามารถนาไปใช้ในการแก้ปัญหาทางด้าน
อื่น ๆ เช่น ทางด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ ทางด้านสังคมศาสตร์ เป็นต้น
 แบบจาลองทางคณิตศาสตร์
ความคิดพื้นฐาน และเทคนิคของกาหนดการเชิงเส้นช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรที่
มีอยู่อย่างจากัดเพื่อให้เกิดประโยชน์หรือประสิทธิภาพสูงสุดแก่ผู้ตัดสินใจนั้น แสดงว่า การแก้ปัญหา
กาหนดการเชิงเส้นจึงเกี่ยวกับการหาค่าต่าสุด หรือสูงสุดภายใต้เงื่อนไขข้อบังคับ โดยการนาเอาเงื่อนไข
ข้อบังคับมาสร้างในรูปแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น
แบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นประกอบด้วย 2 ส่วนดังนี้
1. ส่วนที่เราต้องนาไปหาค่าที่เกิดประโยชน์ หรือประสิทธิภาพสูงสุด ส่วนนี้จะอยู่ในรูปสมการ จึง
เรียกส่วนนี้ว่า “สมการจุดประสงค์” หรือ “ ฟังก์ชันจุดประสงค์ ”
2. ส่วนที่เป็นทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด ส่วนนี้อยู่ในรูปอสมการที่แสดงถึงเงื่อนไขบังคับ หรือ
ข้อจากัด “ จึงเรียกส่วนนี้ว่า ” อสมการข้อจากัด หรือ “เงื่อนไขบังคับ”

Más contenido relacionado

Similar a กำหนดการเชิงเส้น 2

โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)rapekung
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Mark'k Stk
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินtumetr1
 

Similar a กำหนดการเชิงเส้น 2 (6)

โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
 

Último

Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptxWeb_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptxnkrafacyberclub
 
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdfCryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdfnkrafacyberclub
 
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionTeerawutSavangboon
 
inverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formularinverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formularTeerawutSavangboon
 
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมWannisaThongnoi1
 
Tree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and ImplementationTree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and ImplementationPaulSombat
 

Último (7)

Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptxWeb_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
 
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdfCryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
 
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
 
inverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formularinverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formular
 
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
 
Tree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and ImplementationTree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and Implementation
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
 

กำหนดการเชิงเส้น 2

  • 1. กาหนดการเชิงเส้น (linear programming) เป็นวิธีการทางคณิตศาสตร์ประยุกต์ ซึ่งได้พัฒนาขึ้น ตั้งแต่ก่อน พ.ศ. 2483 เพื่อช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์ สูงสุด คาว่า ทรัพยากร ในที่นี้หมายถึง เครื่องจักร กาลังคน วัตถุดิบ เวลา หรือเงินลงทุนก็ได้ วิธีการของ กาหนดการเชิงเส้นทาให้เราทราบว่าควรตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุนอย่างไร จึงจะได้ผลกาไรสูงสุดภายใต้ ข้อจากัดและเงื่อนที่มีอยู่ ปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้วิธีการกาหนดการเชิงเส้นในหลายวงการ เช่น ทางด้านการผลิต นาไปช่วยในการวางแผนการผลิตเพื่อให้ได้กาไรสูงสุด ในขณะที่เครื่องจักรและ วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตมีอยู่จานวนจากัด หรือกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่า เป็นการวางแผนการผลิตเพื่อให้เกิด ต้นทุนการผลิตต่าสุด ภายใต้ข้อจากัดของเครื่องมือและวัตถุดิบที่มีอยู่ ทางด้านโภชนาการ นาไปช่วยในการวางแผนการจัดอาหารเพื่อให้ร่างกายได้รับคุณค่าทางอาหาร เพียงพอกับความต้องการ โดยเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ทางด้านการศึกษา นาไปช่วยในการวางแผนการบริหารงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดเช่น สามารถรับนักเรียน เข้าศึกษาได้มากที่สุดภายใต้ข้อจากัดเกี่ยวกับจานวนครู และสถานที่ เป็นต้น ทางด้านประสิทธิภาพในการทางาน นาไปช่วยในการจัดเวลาที่มีอยู่จากัดให้สามารถจัดกิจกรรมที่มี อยู่หลาย ๆ อย่าง เกิดผลที่มีประโยชน์สูงสุด นอกจากตัวอย่างที่กล่าวมาแล้ว กาหนดการการเชิงเส้นยังสามารถนาไปใช้ในการแก้ปัญหาทางด้าน อื่น ๆ เช่น ทางด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ ทางด้านสังคมศาสตร์ เป็นต้น  แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ ความคิดพื้นฐาน และเทคนิคของกาหนดการเชิงเส้นช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรที่ มีอยู่อย่างจากัดเพื่อให้เกิดประโยชน์หรือประสิทธิภาพสูงสุดแก่ผู้ตัดสินใจนั้น แสดงว่า การแก้ปัญหา กาหนดการเชิงเส้นจึงเกี่ยวกับการหาค่าต่าสุด หรือสูงสุดภายใต้เงื่อนไขข้อบังคับ โดยการนาเอาเงื่อนไข ข้อบังคับมาสร้างในรูปแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น แบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นประกอบด้วย 2 ส่วนดังนี้ 1. ส่วนที่เราต้องนาไปหาค่าที่เกิดประโยชน์ หรือประสิทธิภาพสูงสุด ส่วนนี้จะอยู่ในรูปสมการ จึง เรียกส่วนนี้ว่า “สมการจุดประสงค์” หรือ “ ฟังก์ชันจุดประสงค์ ” 2. ส่วนที่เป็นทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด ส่วนนี้อยู่ในรูปอสมการที่แสดงถึงเงื่อนไขบังคับ หรือ ข้อจากัด “ จึงเรียกส่วนนี้ว่า ” อสมการข้อจากัด หรือ “เงื่อนไขบังคับ”