SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 57
Descargar para leer sin conexión
Fundamental of Bolt & Nut 
ความรู้เบื้องต้นเรื่องสลักเกลียว นอต และการใช้งาน
•To knowledge and understand the fundamental of Stud Bolt & Nut, Type , Material, Practice, application and Selection for usage 
•To be able to analyze and trouble shoot the basic problems of Bolt& Nut 
Objective
การจับยึดชิ้นงานรูปแบบต่าง ๆ 
1 
คาศัพท์ที่เกี่ยวกับเกลียว 
2 
มาตรฐานเกลียว 
3 
การสร้างเกลียวนอกและเกลียวใน 
4 
5 
การใช้งานสลักเกลียวและแป้นเกลียว 
Contents 
การเขียนแบบ stud and bolt ด้วยโปรแกรม Solidworks 
6
การจับยึดชิ้นงานรูปแบบต่าง ๆ
การจับยึดชิ้นงานรูปแบบต่าง ๆ 
การจับยึดได้ 2 แบบใหญ่ ๆ คือ การจับยึดแบบถาวร และการจับ ยึดแบบชั่วคราว 
สาหรับตัวอย่างการจับยึดแบบถาวรนั้นได้แก่ การเชื่อม การจับ ยึดด้วยกาว หรือการใช้ rivet ดังแสดงในรูป 
การจับยึดชิ้นงานแบบถาวร
การจับยึดชิ้นงานรูปแบบต่าง ๆ 
ส่วนการจับยึดแบบชั่วคราวได้แก่ การจับยึดที่ใช้เกลียว ซึ่ง ประกอบไปด้วย bolt, nut, stud และ screw ดังตัวอย่างที่แสดง ในรูป 
Stud bolt 
Screw 
Bolt nut
การจับยึดชิ้นงานรูปแบบต่าง ๆ Bolt and Nut 
รูปทรงของหัว Bolt และ Nut อาจมีได้ในหลายลักษณะขึ้นกับ วัตถุประสงค์การใช้งาน ลักษณะที่พบเสมอคือ Bolt และ Nut ที่มีหัวหกเหลี่ยม(Hexagon) และ สี่เหลี่ยม(Square)
การจับยึดชิ้นงานรูปแบบต่าง ๆ Cap Screw 
โดยทั่วไปจะใช้งานสาหรับการยึดจับชิ้นงานที่ต้องการความ แม่นยาสูง 
ลักษณะหัวของ Cap Screw
การจับยึดชิ้นงานรูปแบบต่าง ๆ Set Screw 
ใช้งานเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการ เคลื่อนที่ระหว่างชิ้นส่วน เครื่องจักรกล เช่น ใช้ Set Screw เพื่อไม่ให้มู่เล่เคลื่อนที่ตามเพลาหมุน เป็นต้น 
ลักษณะหัวของ Set Screw
การจับยึดชิ้นงานรูปแบบต่าง ๆ สลักเกลียวยึดชิ้นงานอื่นๆ
คาศัพท์ที่เกี่ยวกับเกลียว
คาศัพท์ที่ใช้การเกลียว 
Major diameter (d) = เส้นผ่าน ศูนย์กลางที่ใหญ่ที่สุดของ เกลียว 
Minor diameter(dr ) = เส้นผ่าน ศูนย์กลางที่เล็กสุดของเกลียว 
Mean diameter = เส้นผ่าน ศูนย์กลางเฉลี่ยของเกลียว 
Pitch(P) = ระยะที่วัดจากสัน เกลียวหนึ่งถึงสันเกลียวถัดไป 
Root = รากเกลียว 
Crest = ยอดเกลียว 
Thread angle = มุมเกลียว 
Major diameter 
Minor diameter 
Mean diameter 
Pitch 
Root 
Crest 
Thread angle
คาศัพท์ที่ใช้การเกลียว 
Lead (L) = ระยะที่ nut เคลื่อนที่ตามแนวแกนของเกลียวเมื่อ nut หมุนครบ 1 รอบ 
ตัวอย่างเกลียวที่มีระยะ pitch และ Lead ต่างๆกัน
คาศัพท์ที่ใช้การเกลียว 
เกลียวนอก (external thread) หรือบางครั้งเรียกว่า เกลียวตัวผู้ จะมีลักษณะเป็นเกลียวที่อยู่บนผิวนอกของทรงกระบอก เกลียวใน (internal thread) หรือบางครั้งเรียกว่า เกลียวตัวเมีย จะมีลักษณะเป็นเกลียวที่อยู่บนผิวภายในของรู 
ลักษณะของเกลียวนอก และเกลียวใน
คาศัพท์ที่ใช้การเกลียว 
เกลียวขวา (right-hand thread) คือเกลียวที่ถ้าถูกหมุนใน ทิศทางตามเข็มนาฬิกาแล้วจะเป็นการขันเกลียวให้แน่นเป็น ชนิดที่พบได้บ่อย เกลียวซ้าย (left-hand thread) คือเกลียวที่ถ้าถูกหมุนใน ทิศทางทวนเข็มนาฬิกาแล้วจะเป็นการขันเกลียวให้แน่น 
ลักษณะของเกลียวขวา และเกลียวซ้าย
Turnbuckle ที่มีทั้งเกลียวซ้าย และเกลียวขวา 
คาศัพท์ที่ใช้การเกลียว
คาศัพท์ที่ใช้การเกลียว ประเภทเกลียว 
Single threads คือ เกลียวที่มีระยะที่ Nut หมุนเคลื่อนที่ ครบ 1 รอบ เท่ากับ ระยะจากสันเกลียวหนึ่งถึงสันเกลียว ถัดไป 
Lead(L) = Pitch(P) Multiple Thread 
Double - Thread (L = 2P) 
Triple - Thread (L = 3P)
มาตรฐานเกลียว
มาตรฐานเกลียว 
เกลียวเมตริก (Metric thread) 
เกลียวยูนิไฟล (Unified thread) 
แบ่งตามความละเอียดของเกลียว เช่นกันคือ เกลียวหยาบ (Coarse - Pitch Series) , เกลียวละเอียด (Fine - Pitch Series)
มาตรฐานเกลียว ยูนิไฟล 
เกลียวยูนิไฟล อาจแบ่งตามลักษณะของโคนฟันเป็น 2 แบบ คือ 
1. UN คือ เกลียวที่มีโคนฟันแบนราบ 
2. UNR คือ เกลียวที่โคนฟันโค้ง 
UN Threads 
r 
UNR Threads
มาตรฐานเกลียว 
ยูนิไฟล 
1. Nominal major diameter 
 
8 
5 
2. จา นวนเกลียวต่อความยาว 1 นิ้ว 
18 
3. ชนิดเกลียว (Thread series) 
UNR F 
หมายถึง เกลียวที่มี d = 5/8 นิ้ว 
จา นวนเกลียว 18 เกลียวต่อ 
ความยาว 1 นิ้ว และเป็นชนิด 
UNR ชนิดละเอียด(F)
มาตรฐานเกลียว เมตริก 
มีรูปร่างเช่นเดียวกับเกลียว ยูนิไฟล 
แตกต่างกับเกลียวยูนิไฟล คือเกลียวชนิดนี้ใช้หน่วย มิลลิเมตร แทนที่จะเป็นหน่วยนิ้ว 
เกลียวเมตริก แบ่งประเภทตามลักษณะของเกลียวเป็น 2 ประเภท คือ 
1. M Profiles คือ เกลียวทามุมเอียง 60 องศา 
2. MJ Profiles คือ ที่รากเกลียว(Root) มีลักษณะโค้งมน
มาตรฐานเกลียว เมตริก 
การระบุเกลียวเมตริกทาได้โดย 
1. บ่งบอกว่าเป็นเกลียวเมตริก 
M 
2. Major diameter 
3. ระยะพิท 
1.75 
12 
x 
หมายถึง เกลียวเมตริกที่มี ขนาด Major Diameter 12 mm ระยะพิท 1.75 mm
การสร้างเกลียวนอกและเกลียวใน
การสร้างเกลียวนอก 
อุปกรณ์สาหรับการสร้างเกลียวนอกนั้นประกอบไปด้วย thread die และ die stock ดังแสดงในรูป 
Thread die 
Die stock
การสร้างเกลียวนอก 
นา thread die ใส่เข้าไปใน die stock แล้วล็อคให้แน่นจากนั้น นาไปสวมไว้ที่ปลายทรงกระบอกที่ต้องการสร้างเกลียวนอก แล้ว หมุน die และ die stockโดยใช้มือจับไปที่ด้ามจับดังแสดงในรูป การหมุนจะทาให้ฟันที่อยู่ด้านในของ die กัดเนื้อทรงกระบอกให้ เป็นเกลียวตามที่ต้องการ 
การใช้ Die และ Die stock ในการสร้างเกลียวนอก
การสร้างเกลียวใน 
อุปกรณ์ในการสร้างเกลียวในประกอบไปด้วย สว่าน, ดอกสว่าน (drill bit), tap และ tap wrench ดังแสดงในรูป 
ดอกสว่าน 
Tap 
Tap wrench
การสร้างเกลียวใน 
ใช้สว่านเจาะรูบนวัตถุที่ต้องการสร้างเกลียว จากนั้นนา tap ติดตั้ง ลงไปใน tap wrench ดังแสดงในรูป ก แล้วนาปลาย tap อีกด้าน ใส่เข้าไปในรูที่เจาะไว้ แล้วเริ่มหมุน tap กับ tap wrench ไปมา โดยจับที่ด้ามจับดังแสดงในรูป ข ซึ่งฟันที่อยู่บนผิวของ tap ก็จะ กัดเนื้อภายในของรูเพื่อสร้างเกลียวในตามที่ต้องการ
การสร้างเกลียวใน 
การใช้ tap และ tap wrenchในการสร้างเกลียวใน
การสร้างเกลียวนอก และเกลียวใน รูเจาะสาหรับการยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว 
รูเจาะสาหรับการจับยึดชิ้นงานมีลักษณะเป็นรูปทรงกระบอกที่มี ปลายเป็นรูปกรวยทามุมประมาณ 30 องศากับแนวระดับ
การสร้างเกลียวนอก และเกลียวใน รูเจาะสาหรับการยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว 
ความลึกรูเจาะจะประกอบด้วย ความยาวในส่วนที่มีเกลียว และ ความยาวในส่วนไม่มีเกลียว 
ขนาดของรูเจาะจะต้องยึด ตามมาตรฐานของ screw ที่ใช้
การใช้งานสลักเกลียวและแป้นเกลียว
การใช้งานสลักเกลียวและแป้นเกลียว 
จะต้องเจาะรูบนชิ้นส่วนทั้งสองให้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่ กว่าขนาดของ major diameter ของสลักเกลียวเล็กน้อยเพื่อให้ สะดวกต่อการสอดสลักเกลียวผ่านชิ้นงาน และนิยมสวมแหวนรอง (washer) ช่วยในการกระจายแรงทาให้การจับยึดนั้นดีขึ้น 
การใช้สลักเกลียว แหวนรองและแป้นเกลียวในการจับยึดชิ้นงาน
การใช้งานสลักเกลียวและแป้นเกลียว 
ควรเลือกความยาวในส่วนลาตัวของสลักเกลียวให้เหมาะสมคือยาว เลยแป้นเกลียวเมื่อขันแป้นเกลียวจนแน่นสนิทแล้วประมาณ 3-4 เท่าของระยะ pitch 
ความยาวของเกลียวนั้นก็ควรมากพอ โดยเผื่อระยะให้ลึกเข้าไปใน ชิ้นงานเล็กน้อยประมาณ 2-3 เท่าของระยะ pitch
การใช้งานสลักเกลียวและแป้นเกลียว 
ภาพประกอบสุดท้ายของการใช้สลักเกลียว แหวนรองและแป้นเกลียวในการจับยึดชิ้นงาน
การใช้งานสลักเกลียวและแป้นเกลียว ตัวอย่างที่ไม่ถูกต้องของการใช้งานสลักและแป้นเกลียว 
ความยาวของส่วนที่เป็นเกลียวมากจนเกินไป ทาให้ลาตัวของสลักเกลียวเลยแป้นเกลียวไปมาก
การใช้งานสลักเกลียวและแป้นเกลียว ตัวอย่างที่ไม่ถูกต้องของการใช้งานสลักและแป้นเกลียว 
ความยาวของส่วนที่เป็นเกลียวสั้นจนเกินไป ควรยาวเลยเข้ามาในรูของชิ้นงานเล็กน้อย
การใช้งานสลักเกลียวและแป้นเกลียว ตัวอย่างที่ไม่ถูกต้องของการใช้งานสลักและแป้นเกลียว 
ไม่ควรให้ส่วนที่เป็นเกลียวของสลักเกลียวผ่าน 
บริเวณที่เป็นรอยต่อของชิ้นงาน
การใช้งานสลักเกลียวและแป้นเกลียว ตัวอย่างที่ไม่ถูกต้องของการใช้งานสลักและแป้นเกลียว 
ความยาวของเกลียวสั้นจนเกินไป ทาให้แป้น 
เกลียวไม่สามารถจับกับเกลียวของสลักเกลียวได้เต็มที่
การใช้งานสลักเกลียวและแป้นเกลียว ตัวอย่างที่ไม่ถูกต้องของการใช้งานสลักและแป้นเกลียว 
ขนาดรูเจาะบนชิ้นงานใหญ่จนเกินไป ทาให้การ 
จับยึดไม่มั่นคงแข็งแรง
การใช้งานสลักเกลียวเพียงชิ้นเดียว 
บางกรณีเราอาจจะต้องใช้สลักเกลียวเพียงชิ้นเดียวในการจับยึด ชิ้นงานเข้าด้วยกัน เช่นกรณีที่วัตถุชิ้นหนึ่งมีความหนามาก ๆ 
ภาพประกอบสาหรับการใช้สลักเกลียวเพียงตัวเดียวในการจับยึดชิ้นงาน
การใช้งานสลักเกลียวเพียงชิ้นเดียว 
ส่วนความยาวของเกลียวบนตัวสลักเกลียวนั้น เมื่อขันลงไปจนสุด แล้วจะต้องเหลือที่ว่างระหว่างเกลียวนอกและเกลียวในอีกเล็กน้อย ประมาณ 2-3 เท่าของระยะ pitch ความยาวของเกลียวก็ต้องยาวเลยเข้ามาใน object 2 ประมาณ 2-3 เท่าของระยะ pitch อีกเช่นเดียวกัน สาหรับ object 2 นั้น เราจะเจาะรูธรรมดาไม่ต้องทาเกลียวใน เพียงแต่รูที่เจาะนั้นจะต้องมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ใหญ่กว่า เส้นผ่าศูนย์กลางของสลักเกลียวเล็กน้อยเพื่อให้สวมผ่านลงไปได้ โดยสะดวก
ส่วนที่เป็นเกลียวบนสลักเกลียวยาวมากจนเกินไปซึ่งอาจทาให้เมื่อขัน เกลียวจนสุดแล้ว สลักเกลียวยังไม่สามารถจับยึดชิ้นงานไว้ด้วยกันได้ 
การใช้สลักเกลียวเพียงตัวเดียวในการจับยึดชิ้นงานที่ไม่ เหมาะสม
การใช้สลักเกลียวเพียงตัวเดียวในการจับยึดชิ้นงานที่ไม่ เหมาะสม 
ส่วนที่เป็นเกลียวบนสลักเกลียวสั้นมากจนเกินไปซึ่งอาจทาให้เมื่อขัน เกลียวจะสุดแล้ว สลักเกลียวยังไม่สามารถจับยึดชิ้นงานไว้ด้วยกันได้
การใช้สลักเกลียวเพียงตัวเดียวในการจับยึดชิ้นงานที่ไม่ เหมาะสม 
ส่วนที่เป็นเกลียวบนสลักเกลียวสั้นมากจนเกินไปซึ่งอาจทาให้เมื่อขัน เกลียวจะสุดแล้ว สลักเกลียวยังไม่สามารถจับยึดชิ้นงานไว้ด้วยกันได้
การใช้งานสลักเกลียวและแป้นเกลียว การใช้งาน stud and bolt การหน้าแปลน 
ควรเลือกใช้งานปะแกร็นให้เหมาะสมกับขนาด และสเปคของหน้าแปลน 
ควรเลือกใช้สารหล่อลื่นให้เหมาะสมทุกครั้งในการขันแน่น เพื่อความคุณภาพของชิ้นงาน และป้องกันความเสียหายในการถอดเพื่อซ่อมบารุงในครั้งต่อไป 
ในการขันแน่นควรขันให้หน้าแปลนทั้งสองขนานกัน และไม่มีการเยี่ยงศูนย์ 
ก่อนขันแน่นควรตรวจสอบหน้าแปลน ไม่ควรมีรอยขีดขวน เพื่อป้องกันการรั่วซึม 
ในการขันแน่นของหน้าแปลนควรเลือกใช้ stud และ bolt ให้ตรงตามสเปค 
ควรเลือกใช้ค่าในการขันแน่นให้เหมาะสม 
ควรขันแน่นให้เหมาะสมตามลาดับ เพื่อคุณภาพของงาน และป้องกันการรั่วซึม
การใช้งาน stud and bolt 
BOLT & STUD DIMENSIONS FOR ANSI FLANGES
การใช้งาน stud and bolt BOLT & STUD DIMENSIONS FOR ANSI FLANGES
การใช้งาน stud and bolt อุณหภูมิใช้งานี่ทีเหมาะสมสาหรับ stud and bolt 
•B7 (ASTM A-193) Up to 400 C 
•B8 (ASTM A-193) Up to 525 C
การใช้งาน stud and bolt PIPE MATERIAL SPECIFICATION 
1104-PG-040167-4”-B3101-N 
B 3 1 01 
Material 
Flange rating 
Corrosion allowance 
Sequence identifier 
A Cast iron 
B Carbon steel 
C Low alloy 
D Intermediate alloy 
E Austenitic stainless steel 
J Non metallic 
U Copper piping 
1104-PL-040101-3”-B6102-C 
1104-PL-041034-3”-B1101-N 
1102-PL-A20230-6”-E9001-W 
1102-P-A20206-12”-E9001-N 
0 = 125 Class 1 = 150 Class 3 = 300 Class 6 = 600 Class 9 = 900 Class 
0 = None 
1 = 1.0 mm 
2 = 3.0 mm 
3 = 6.0 mm
การใช้งาน stud and bolt 
สารหล่อลื่นในงานขันแน่น (Anti seize) 
•MOLYKOTE P-37 Anti seize paste 
•EARL’S Anti seize 
•LOCTITE Anti seize 
Anti Seize Product 
Temp resistant (C°) 
Color 
Nickle anti seize 
1315 
Silver 
Copper anti seize 
982 
Copper 
Silver Anti seize 
871 
Silver 
Graphite 
482 
Black 
Moly paste 
400 
Black 
Temperature
การใช้งาน stud and bolt ตัวอย่างงานขันแน่น
การใช้งาน stud and bolt ลาดับของการขันแน่นที่เหมาะสม
การใช้งาน stud and bolt ลักษณะปะแกร็นนี่ใช้ในงานขันแน่น
การเขียนแบบ stud and bolt 
ด้วยโปรแกรม Solidworks
การเขียนแบบ stud and bolt ด้วยโปรแกรม Solidworks
01-Bolt and Nut

Más contenido relacionado

La actualidad más candente (20)

สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01
 
6 3
6 36 3
6 3
 
503
503503
503
 
Fasteners
FastenersFasteners
Fasteners
 
501
501501
501
 
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
 
jigs and fixtures_MP
jigs and fixtures_MPjigs and fixtures_MP
jigs and fixtures_MP
 
2 5
2 52 5
2 5
 
Fastener basics
Fastener basicsFastener basics
Fastener basics
 
types of mechanical bolts
types of mechanical boltstypes of mechanical bolts
types of mechanical bolts
 
Jigs & Fixtures
Jigs & Fixtures Jigs & Fixtures
Jigs & Fixtures
 
Types of nuts and bolts
Types of nuts and boltsTypes of nuts and bolts
Types of nuts and bolts
 
504
504504
504
 
Mechanical fasteners
Mechanical fastenersMechanical fasteners
Mechanical fasteners
 
Mechanical assembly
Mechanical assembly Mechanical assembly
Mechanical assembly
 
Jigs & fixture turning
Jigs & fixture turningJigs & fixture turning
Jigs & fixture turning
 
505
505505
505
 
2 4
2 42 4
2 4
 
1 5
1 51 5
1 5
 
Design & manufacturing of fixture for robotic welding
Design & manufacturing of fixture for robotic weldingDesign & manufacturing of fixture for robotic welding
Design & manufacturing of fixture for robotic welding
 

Similar a 01-Bolt and Nut (6)

01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1
 
4 3
4 34 3
4 3
 
ใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่าง
 
4
44
4
 
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
 
5 stamping and punching force
5  stamping and punching force5  stamping and punching force
5 stamping and punching force
 

Más de MaloNe Wanger

Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1MaloNe Wanger
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1MaloNe Wanger
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน
Corrosion สนิมและการกัดกร่อนCorrosion สนิมและการกัดกร่อน
Corrosion สนิมและการกัดกร่อนMaloNe Wanger
 

Más de MaloNe Wanger (11)

2 tpm edit
2 tpm edit2 tpm edit
2 tpm edit
 
1 intro
1 intro1 intro
1 intro
 
1 intro
1 intro1 intro
1 intro
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 
01 p&id - 1
01 p&id - 101 p&id - 1
01 p&id - 1
 
01 lubrucation - r1
01 lubrucation - r101 lubrucation - r1
01 lubrucation - r1
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1
 
01 p&id - 1
01 p&id - 101 p&id - 1
01 p&id - 1
 
01 lubrucation
01 lubrucation01 lubrucation
01 lubrucation
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน
Corrosion สนิมและการกัดกร่อนCorrosion สนิมและการกัดกร่อน
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน
 

01-Bolt and Nut