SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 105
เครื่องจักรกลชนิดหนึ่ง
เปลี่ยนพลังงานความร้อน
ให้เป็นพลังงานกล
(Thermal Heat Engine)
Engine
ชนิดของเครื่องยนต์ THERMAL ENGINES
เครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน
เครื่องยนต์เผาไหม้ภายนอก
อุปกรณ์สร้างพลังงานความร้อนจะอยู่ภายนอก
อุปกรณ์สร้างพลังงานความร้อนเป็นชุดเดียว
กับอุปกรณ์เปลี่ยนพลังงาน
(Classification by ignition system)
-จุดระเบิดด้วยประกายไฟ
spark ignition engine
-จุดระเบิดด้วยการอัดอากาศ
compression ignition engine
แบ่งตามชนิดของการจุดระเบิด
กลวัตรการทางานของเครื่องยนต์
เครื่องยนต์ หมุน 1รอบ (360 องศา)
จุดระเบิด 1 ครั้ง (1 กลวัตร ) ลูกสูบ
เลื่อนขึ้น 1 ครั้งและลูกสูบเลื่อนลง 1 ครั้ง
เครื่องยนต์ หมุน 2 รอบ (720 องศา)
จุดระเบิด 1 ครั้ง (1 กลวัตร ) ลูกสูบเลื่อน
ขึ้น 2 ครั้งและลูกสูบเลื่อนลง 2 ครั้ง
ดูด
อัด
ระเบิด
คาย
2 จังหวะ ? 4 จังหวะ ?
เครื่องยนต์ที่ใช้น้ามันดีเซลเป็น
เชื้อเพลิงหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
“ เครื่องยนต์ดีเซล”
เครื่องยนต์ที่ใช้เบนซิน เป็นน้ามัน
เชื้อเพลิงหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
“ เครื่องยนต์แก๊สโซลีน”
ระบบการจัดวางลิ้นของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ
SV
Side Valve
OHV
Over Head Valve
SOHC
Single Over Head Camshaft
DOHC (twin cam engine)
Double Over Head Camshaft
PISTON Valve ROTARY VALVE
CRANK CASE REED VALVE
PISTON REED Valve
ระบบนาเข้าไอดีของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ
ความจุกระบอกสูบ
D= ความโตกระบอกสูบ(mm)
L = ระยะชักวัดตาแหน่งที่ลูกสูบเคลื่อนขึ้นสูงสุด (TDC)ถึงตาแหน่งลงต่าสุด (BDC)(mm)
= 3.14 หรือ (ค่าคงที่ ---- )
การหาปริมาตรความจุ
กระบอกสูบ (V)
V= D x LN
2
4
A
A =
2
4
D
V = ALN
22
7
TDC
BDC
3.14 x(60x60)x110x1
4x1000
=…CC
2. อากาศมีกังหันพัดลม
ระบบของการหล่อเย็น
3. แบบด้วยน้า
1. ด้วยอากาศ
ส่งกาลังด้วยเพลาขับ
ส่งกาลังด้วยสายพาน
ส่งกาลังด้วยโซ่ขับ
ระบบส่งกาลังของเครื่องยนต์
เครื่องยนต์ 2 จังหวะ (2 stroke)
ข้อดี
การทางานราบเรียบ,การสั่นสะเทือนน้อย
ชิ้นส่วนการทางานน้อย,บารุงรักษาง่ายและราคาถูก
ที่อัตราความเร็วรอบเดียวกัน จะได้กาลังมากกว่า
จังหวะการหมุนได้งานมากกว่า 2 เท่า
เปรียบเทียบกับเครื่องยนต์ 4 จังหวะ
ข้อเสีย
สิ้นเปลืองน้ามันมากจากการไม่เผาไหม้
(กวาดล้างไอเสีย)
ผนังกระบอกสูบสัมผัสลูกสูบแหวนโดยตรง
ทาให้เคลื่อนที่ไม่ราบเรียบ
ช่องไอเสียอยู่ภายในกระบอกสูบทาให้เกิด
ความร้อนสูงได้ง่าย
การทางานที่อัตราความเร็วต่าทาได้ยาก
สิ้นเปลืองน้ามันหล่อลื่นสูง
เครื่องยนต์ 4 จังหวะ ( 4 stroke)
ข้อดีเปรียญเทียบกับเครื่องยนต์ 2 จังหวะ
การทางานแยกกันอย่างอิสระ,การทางานแม่นยา
ทาให้ประสิทธิภาพสูงและมีเสถียรภาพสูง
การสิ้นเปลืองน้ามันต่ากว่า
กระบวนการดูดไอดีและอัดไอดียาวนานกว่า
ทาให้ประสิทธิภาพความจุและความดันเฉลี่ยสูงกว่า
อัตราเร็วต่าจะราบเรียบและไม่เกิดโอเวอร์ฮีท
ความร้อนต่ากว่า
ข้อเสีย
ชิ้นส่วนการเคลื่อนที่มากทาให้ยากต่อการบารุงรักษา
มีเสียงดัง
ไม่มีการสมดุลย์ในการหมุน,เกิดการสั่นสะเทือน
โครงสร้างการทางานของเครื่องยนต์
TDC./ BDC.
TDC : Top Dead Center : จุดสูงสุดที่ลูกสูบเริ่มจะเคลื่อนที่ลง
BDC : Bottom Dead Center : จุดต่าสุดที่ลูกสูบเริ่มจะเคลื่อนที่ขึ้น
โครงสร้างการทางานของเครื่องยนต์
ระยะชัก/เส้นผ่านศูนย์กลาง
L=ระชักของลูกสูบ(mm)
D=เส้นผ่านศูนย์กลาง(mm)
-ลูกสูบโตช่วงชักจะสั้น/ลูกสูบเล็กช่วงชักจะยาว
โครงสร้างการทางานของเครื่องยนต์
ปริมาตรห้องเผาไหม้/ปริมาตรกระบอกสูบ
-ปริมาตรห้องเผาไหม้ คือปริมาตรของช่องว่างเหนือลูกสูบ ในตาแหน่งTDC
-ปริมาตรกระบอกสูบ คือปริมาตรระยะชักกับปริมาตรห้องเผาไหม้
ความจุกระบอกสูบ
D= ความโตกระบอกสูบ(mm)
L = ระยะชักวัดตาแหน่งที่ลูกสูบเคลื่อนขึ้นสูงสุด (TDC)ถึงตาแหน่งลงต่าสุด (BDC)(mm)
= 3.14 หรือ (ค่าคงที่ ---- )
การหาปริมาตรความจุ
กระบอกสูบ (V)
V= D x LN
2
4
A
A =
2
4
D
V = ALN
22
7
TDC
BDC
โครงสร้างการทางานของเครื่องยนต์
อัตราส่วนกาลังอัด (Compression Ratio) คือ
อัตราส่วนของปริมาตรกระบอกสูบต่อปริมาตรห้องเผาไหม้
R = (V+v)
v
หรือ = ( V ) +1
v
เครื่องยนต์ 2 จังหวะอัตราส่วนกาลังอัดเท่ากับ 6-8:1
เครื่องยนต์ 4 จังหวะอัตราส่วนกาลังอัดเท่ากับ 8-12:1
โครงสร้างการทางานของเครื่องยนต์
ระยะชัก/มุมเพลาข้อเหวี่ยง/ความเร็วลูกสูบ
V = 2LN
60
หรือ V = LN
30
V = ความเร็วเฉลี่ยลูกสูบ m/s
L = ระยะชัก m (2L ขึ้น 1 ครั้ง + ลง 1ครั้ง)
N = ความเร็วรอบเครื่องยนต์ rpm
แรงบิด (Torque) และแรงม้า (Horse power)
T = F x r
แรง (F) = kg (กก.)
ระยะทาง(r) = m (ม.)
แรงบิด (T) = kg.m (กก.ม)(N.m)
เครื่องยนต์เบื้องต้น
ความเร็ว =
จานวนเฟืองตาม
จานวนเฟืองขับ
ความเ
20
10 = 2
อัตราทดขั้นต้น,คลัตช์.ชุดเกียร์,สเตอร์หน้า,โซ่,สเตอร์หลัง
ระบบส่งกาลังประกอบด้วย
อัตราทดรวม = อัตราทดขั้นต้นกาลัง x อัตราทดรวมชุดทดกาลัง x อัตราทดขั้นสุดท้าย
อัตราทดรวมGear Ratio (Z) = Z2
Z1
Z4
Z3
Z6
Z5
x x
ระบบส่งกาลังคือ การรับกาลังจากเครื่องยนต์แล้วถ่ายทอดไปยังล้อหลัง
ระบบส่งกาลังประกอบด้วย
Z = จานวนฟันเฟือง
การหาอัตราทดเกียร์(Z) Gear Ratio
(Z) = Z2
Z1
หรือ เฟืองตาม
เฟืองขับ
ระบบส่งกาลังประกอบด้วย
อัตราทดรวมGear Ratio (Z) = Z2
Z1
Z4
Z3
Z6
Z5
x x
ระบบส่งกาลังคือ การรับกาลังจากเครื่องยนต์แล้วถ่ายทอดไปยังล้อหลัง
การหาอัตราทดเกียร์(Z) Gear Ratio
(Z) = Z2
Z1
หรือ เฟืองตาม
เฟืองขับ
ระบบส่งกาลังประกอบด้วย
V= D x LxN
2
4
?
TDC.
BDC.
A.T.D.C.B.T.D.C.
B.B.D.C.A.B.D.C.
มุมองศาการทางาน TIMING DIAGRAM
BTDC= BEFORETOPDEADCENTER
BBDC= BEFOREBOTTOM DEADCENTERABDC= AFTERBOTTOMDEADCENTER
ATDC= AFTERTOPDEADCENTER
T.D.C.
B.D.C.
ทิศทางการหมุน
พอร์ทไอเสียเปิด
ช่องส่งถ่ายไอดีเปิดช่องส่งถ่ายไอเสียปิด
พอร์ทไอเสียปิด
พอร์ทไอดีปิดช่องไอดีเปิด
จุดระเบิด
Port timing diagram 2 stroke
จังหวะดูด จังหวะอัด จังหวะระเบิด จังหวะคาย จังหวะกวาดล้างไอเสีย
SCAVENGING
ตาแหน่งของช่องพอร์ท
(Indication by port position)
วิวัฒนาการของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ
พิสตอลวาล์ว
ความเร็วรอบต่า ส่วนผสมภายในห้องแคร้งจะไหลย้อนกลับมาที่คาร์บูเรเตอร์
วิวัฒนาการของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ
โรตารีวาล์ว
สามารถปรับแต่งการเปิดปิดไอดีโดยไม่เกี่ยวข้องกับระยะชักของลูกสูบ
การเปิดช่องไอดีนานขึ้นจึงป้องกันไอดีตีกลับไปที่คาร์บูเรเตอร์
ให้สมรรถนะสูงที่ความเร็วต่าและปาน
กลางเมื่อความเร็วสูงช่องไอดี จะปิดเร็ว
ขณะที่ไอดียังไหลเข้าด้วยแรงเฉื่อยสูง
วิวัฒนาการของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ
พิสตอล หรีดวาล์ว
อาศัยแรงดันภายนอกมากกว่าแรงดันภายในห้องแคร้ง
วิวัฒนาการของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ
CRANK CASE REEDVALVE
-อาศัยการเกิดสูญญากาศในห้องแคร้ง
ในการดูดไอดี
กลวัตรการทางานของเครื่องยนต์
จังหวะดูด
จังหวะระเบิด
จังหวะอัด
จังหวะคาย
พอร์ตไทมิ่งไดอะแกรมสาหรับเครื่องยนต์รีดวาล์ว
ไอดีเริ่มวิ่งเข้าไปไล่ไอเสีย
เครื่องยนต์เบื้องต้น
อะไรคือ Overlap
Overlap คือ วาล์วของไอดี
และไอเสีย เปิดในขณะที่
ลูกสูบใกล้ศูนย์ตายบน
ทาไมต้องมีOverlap คือ การที่ต้องมี
จังหวะนี้ เพื่อป้ องกันไม่ให้
เครื่องยนต์มีแรงต้านการเคลื่อนที่
ในตาแหน่งนี้ดังนั้นจึงต้องมี
ถ้ามีOverlap สั้นเกินไป ผล
เครื่องยนต์เร่งไม่ขึ้นและมีเสียงดัง”
บล๊อค”
Overlap คือไม่ต้องการให้เครื่องยนต์น๊อค
วิวัฒนาการของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ
เครื่องยนต์ แบบ SV
Side Valve การวางวาล์วด้านข้างห้องเผาไหม้
* เครื่องยนต์มีปริมาตรความจุมาก
* วาล์วขนาดใหญ่
* โครงสร้างเครื่องยนต์แบบนี้ ห้องเผาไหม้
กว้าง อัตราส่วนการอัดต่า เหมาะสาหรับ
เครื่องยนต์รอบต่าแต่มีชั่วโมงในการใช้งานสูง
ทั่วไปใช้ในงานเกษตรอุตสาหกรรม
วิวัฒนาการของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ
เครื่องยนต์ แบบ OHV
Over Head Valve การวางวาล์วด้านบนห้อง
เผาไหม้
* เครื่องยนต์มีปริมาตรความจุไม่มากนัก
* วาล์วขนาดเล็กแต่มีเสียงดังจากกลไกลต่างๆ
มาก
* โครงสร้างเครื่องยนต์แบบนี้ ห้องเผาไหม้จะ
ไม่กว้างนัก อัตราส่วนการอัดสูง เหมาะ
สาหรับเครื่องยนต์รอบต่าถึงรอบสูง ถูกใช้ใน
งานทั่วไปและถูกนามาติดตั้งกับ
รถจักรยานยนต์
วิวัฒนาการของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ
เครื่องยนต์ แบบ SOHC
Single Over Head Camshaft การจัดวาง
วาล์วแบบ 1 เพลาลูกเบี้ยว เหนือห้องเผาไหม้
* เครื่องยนต์มีปริมาตรความจุได้มาก
* วาล์วขนาดเล็กเสียงดังจากกลไกลต่างๆน้อย
* โครงสร้างเครื่องยนต์แบบนี้ ห้องเผาไหม้จะ
กว้าง อัตราส่วนการอัดสูง เหมาะสาหรับ
เครื่องยนต์รอบปานกลางถึงรอบสูง ถูกใช้ใน
รถยนต์และรถจักรยานยนต์อย่างแพร่หลาย
วิวัฒนาการของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ
เครื่องยนต์ แบบ DOHC(twin cam
engine) Double Over Head Camshaft
การจัดวางวาล์วแบบ 2 เพลาลูกเบี้ยว เหนือ
ห้องเผาไหม้
* เครื่องยนต์มีปริมาตรความจุได้มาก
* วาล์วขนาดเล็กกลไกลต่อเนื่องมีน้อย เสียง
ของเครื่องเบา
* โครงสร้างเครื่องยนต์แบบนี้ อัตราส่วนการ
อัดสูง เหมาะสาหรับเครื่องยนต์รอบปาน
กลางถึงรอบสูงที่ต้องการแรงม้ามาก ถูกใช้
ในรถยนต์และรถจักรยานยนต์อย่างแพร่
หลาย
ระบบของการหล่อลื่น
1.1.การผสมน้ามันเครื่องเข้ากับเชื้อเพลิง
1.2.การหล่อลื่นแบบแยกส่วน
1. การหล่อลื่นของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ
2.การหล่อลื่นคลัตช์และชุดส่งกาลัง
2.1 อ่างเปียก
2.2 อ่างแห้ง
2. การหล่อลื่นของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ
เครื่องยนต์เบื้องต้น
ช่วยในการหล่อลื่น
ช่วยชะล้างทาความสะอาด
ช่วยระบายความร้อน
ป้ องกันการกัดกร่อนจากสนิม
ป้ องกันกาลังอัดเครื่องยนต์รั่วไหล
ลดแรงกระแทกของชิ้นส่วน
หน้าที่หลักของน้ามันหล่อลื่น มี 6 ข้อ มีอะไรบ้าง?
ระบบหล่อลื่น
2 แบบออโตลู๊ป
เป็นแบบอัตโนมัติอัตราส่วนผสมจะเปลี่ยน
แปลง ตามความเร็วรอบเครื่องยนต์ระบบ
นี้พัฒนาโดย YAMAHA ในปัจจุบันใช้กัน
อย่างแพร่หลาย
เครื่องยนต์เบื้องต้น
1. แบบพรีมิกซ์ (Premix) สม
น้ามัน 2T กับน้ามันเชื้อเพลิง
อัตราส่วน 20 : 1
ประเภทของระบบหล่อลื่น
เครื่องยนต์เบื้องต้น
700 - 800 C
160 - 300 C
100 - 160 C
80 - 100 C
Temperature Regimes
อุณหภูมิในแต่ละส่วนของเครื่องยนต์
การทางานของปั๊มน้ามันเครื่อง
ระบบของการหล่อลื่น
1.1.การผสมน้ามันเครื่องเข้ากับเชื้อเพลิง
1.2.การหล่อลื่นแบบแยกส่วน
1. การหล่อลื่นของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ
2. การหล่อลื่นคลัตช์และชุดส่งกาลัง
1.การหล่อลื่นของเครื่องยนต 4 จังหวะ
อ่างเปียก อ่างแห้ง
ปั๊มน้ามันเครื่อง( OIL PUMP)
Trochoid pump
API/SF 20W40MOTOR OIL
API(American Petroleum Institute),USA
SAE(Society of Automotive Engineers),USA
ASTM(American Society for Testing and Materials),USA
S (Service Oils)
C (Commercial Oils)
การวัดความหนืดที่อุณหภูมิ -17.8 oC
SF คือการเติมสารเพิ่มคุณภาพสาหรับต้านทานการรวมตัวกับออกซิเจน,
ป้ องกันการสึกหรอ,สารรักษาความสะอาด,ป้ องกันสนิม,กันการกัดกร่อน
SA>SB>SC>SD>SE>SF>SG>SH>SJ>SL
มาตรฐาน API
มาตรฐาน API
API SA
SB
SC
SD
SE
SF
SG
SH
SJ
SL
กระทรวงพานิชย์ไม่อนุญาติให้ขายในท้องตลาด
การเติมสารเพิ่มคุณภาพสาหรับต้านทานการรวมตัวกับออกซิเจน,
ป้ องกันการสึกหรอ,สารรักษาความสะอาด,ป้ องกันสนิม,กันการกัดกร่อน
จากมาตราฐาน SF ,เพิ่มสารป้ องกันการเกิดตมในอ่างน้ามันเครื่อง
จากมาตราฐาน SH เพิ่มสารลดคราบจับที่ลูกสูบขณะอุณหภูมิสูง, ลดอัตราการกินน้ามันเครื่อง,
และการเกิดฟอง
อยู่ในระหว่างการพัฒนาและกาหนดมาตราฐาน
มาตรฐานสูงกว่า SGโดยการทดสอบจาก CMA
1. มาตรฐาน SAE (Society of American Engineers)
- เป็นมาตรฐานที่บอกว่าน้ามันมีความหนืดเท่าไหร่
2. มาตรฐาน API (American Petroleum Institute)
- เป็นมาตรฐานที่บอกว่าเป็นน้ามันที่เหมาะกับเครื่องยนต์ชนิดไหน เครื่องยนต์
เบนซินหรือ ดีเซล
3. มาตรฐาน JASO (Japan Automobile Standards Organization)
- เป็นมาตรฐานที่บอกคุณภาพของน้ามัน
มาตรฐานน้ามันเครื่องรถจักรยานยนต์ที่ควรรู้จัก
มาตรฐาน SAE
มาตรฐาน SAE ใช้บอกความหนืด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
1. เกรดเดียว หรือ โมโนเกรด (Monograde)
2. เกรดรวม หรือ มัลติเกรด(Multigrade)
SAE 0W
SAE 5W
SAE 10W
SAE 15W
SAE 20W
SAE 20
SAE 30
SAE 40
SAE 50
SAE 60
Winter Grades
Summer Grades
มาตรฐาน SAE แบบเกรดเดียว หรือ โมโนเกรด
แบ่งน้ามันออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. น้ามันเครื่อง สาหรับเครื่องยนต์ เบนซิน ใช้สัญลักษณ์ เป็นตัวอักษร S นาหน้า เช่น
( Service Oils )
API SA, API SB, … API SJ
2. น้ามันเครื่อง สาหรับเครื่องยนต์ ดีเซล ใช้สัญลักษณ์ เป็นตัวอักษร C นาหน้า เช่น
( Commercial Oils )
API CA, API CB, …API CH-4
S
C
มาตรฐาน API
มาตรฐาน API สาหรับเครื่องยนต์เบนซิน
API SA
API SB
API SC
API SD
API SE
API SF ดีที่สุดสาหรับรถจักรยานยนต์
API SG
API SH
API SJเป็นมาตรฐานสูงสุดในปัจจุบัน
API SL
มาตรฐาน API
API SA
SB
SC
SD
SE
SF
SG
SH
SJ
SL
กระทรวงพาณิชย์ไม่อนุญาติให้
ขายในท้องตลาด
การเติมสารเพิ่มคุณภาพสาหรับต้านทานการรวมตัวกับออกซิเจน,
ป้ องกันการสึกหรอ,สารรักษาความสะอาด,ป้ องกันสนิม,กันการกัดกร่อน
จากมาตราฐาน SF ,เพิ่มสารป้ องกันการเกิดตมในอ่างน้ามันเครื่อง
จากมาตราฐาน SH เพิ่มสารลดคราบจับที่ลูกสูบขณะอุณหภูมิสูง, ลดอัตราการกินน้ามันเครื่อง,
และการเกิดฟอง
อยู่ในระหว่างการพัฒนาและกาหนดมาตราฐาน
มาตรฐานสูงกว่า SGโดยการทดสอบจาก CMA
Upper
การตรวจเช็คตามระยะ
ระยะการเปลี่ยนถ่ายน้ามันเครื่อง 0.8 ลิตร
-ระยะรัน อิน(1,000 กม.)
-ทุกๆ 3,000 กม.
** สตาร์ทเครื่องก่อนเปลี่ยนถ่ายน้ามัน
เครื่องทุกครั้ง
ปริมาตรห้องแคร้งรวม 1 ลิตร
การสูญเสียน้ามันเครื่องประมาณ 0.5 - 1.0 ลิตรต่อระยะทางที่วิ่ง 5,000 - 10,000 กม.
Lower
1.กรองหยาบ 2.กรองละเอียด/กรองแบบแรงเหวี่ยง
mark
mark
1 2
2
กรองน้ามันเครื่อง
ทางเดินน้ามันเครื่อง
เริ่มจากที่ใต้อ่างน้ามันเครื่อง ผ่านกรองแบบหยาบ
น้ามันถูกดูดโดยปั๊มแบบโรตารี่ เฟืองปั๊มถูกขับโดยตรงจากเพลาข้อเหวี่ยง
1
น้ามันถูกดูดผ่านชุดโรตารี่ด้วยแรงดันสูง
2
น้ามันแรงดันสูงจะแยกออกเป็นสองส่วน
ส่วนแรกจะถูกฉีดไปที่เสาเสื้อ ส่วนที่สองจะถูกฉีดไปที่ฝาครอบแคร้ง
ระบายความร้อนด้วยอากาศ
ระบายความร้อนด้วยอากาศ
แบบมีกังหันพัดลม
ระบบของการหล่อเย็น
ระบบของการหล่อเย็น
การระบายความร้อนด้วยน้า
ระบบของคาร์บูเรเตอร์
CARBURATOR TYPE VM
สาหรับรถจักรยานยนต์ทั่วๆไป
ระบบของคาร์บูเรเตอร์
CARBURATOR TYPE SU
สาหรับเครื่องยนต์ รถ
จักรยานยนต์4 จังหวะ
CV, BS
ชนิดของคาร์บูเรเตอร์
1.วาล์วเร่งแบบลูกสูบและคอคอดแบบเปลี่ยนแปลง
PISTON THROTTLE VALVE AND VARIABLE VENTURI
2.ลูกเร่งแบบปีกผีเสื้อและคอคอดไม่เปลี่ยนแปลง
BUTTERFLY THROTTLE VALVE AND INVARIABLE VENTURI
3.ลูกเร่งแบบปีกผีเสื้อและคอคอดแบบเปลี่ยนแปลงได้
BUTTER FLY THROTTLE VALVE AND VARIABLE VENTURY
หน้าที่ของคาร์บูเรเตอร์
1.ทาให้น้ามันเบนซินอยู่ในสภาพเผาไหม้ง่ายและป้ อนให้เครื่องยนต์ในสภาพที่เหมะสม
2.ควบคุมพลังงานของเครื่องยนต์โดยใช้วาล์วคันเร่ง
โดยปกติเบนซินถูกเผาไหม้สมบูรณ์จะกลายเป็นน้า(H2O)กับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2)
ตามหลักทฤษฎีน้ามันเบนซิน 1 กรัมเผาไหม้สมบูรณ์ต้องใช้อากาศ 14.7 กรัม
(อากาศ 14.7 ส่วนต่อน้ามัน 1 ส่วน)
หลักการทางานและโครงสร้าง
เมื่อเกิดกระแสที่มีความเร็วสูงที่บริเวณหลอดน้า
น้าในหลอดจะถูกดูดและพ่นออกไปเป็นละอองน้า
คล้ายหมอก
ในเครื่องยนต์เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นลงจะเกิด
กระแสอากาศในกระบอกคาร์บูเรเตอร์ โดยอากาศ
ถูกดูดเข้าไปในคาร์บูเรเตอร์อากาศจะถูกดูดเข้าไปใน
เครื่องยนต์ ทาให้ภายในคาร์บูเรเตอร์จะมีความดัน
อากาศน้อยกว่าความดันอากาศภายนอกเมื่ออากาศ
ไหลผ่านคอคอดจะทาให้อากาศไหลเร็วยิ่งขึ้นทาให้
น้ามันถูกดูดและพ่นเป็นละอองหมอกออกไป
เครื่องยนต์เดินเบา
เครื่องยนต์อยู่ในสภาพเดินเบา อากาศจะ
ไหลผ่านช่องแคบที่ด้านล่างของลูกเร่ง
น้ามันเชื้อเพลิงเข้าไปในนมหนูเดินเบา
(Slow jet) จะมาผสมกับอากาศที่มาจากรู
อากาศเดินเบา(Slow air jet) จากนั้นผ่าน
ออกมาโดยผ่านรูจ่ายนาร่อง(Pilot outlet
hole) ในรูนมหนูเดินเบาจะมีรูจ่ายไอดีอีก
ช่องหนึ่งคือรูจ่ายทางผ่าน(Bypass hole)
ซึ่งจะเริ่มทางานหลังจากลูกเร่งเปิดขึ้น
เล็กน้อย
IDLING
AIR FLOW
FUELFLOW
THROTTLEVALVE
SLOW AIR PASSAGE
SLOW JET
BLEED
PILOT OUTLET
BYPASS
รอบเครื่องต่าและปานกลาง
เมื่อลูกเร่งเปิด เครื่องยนต์ต้องการไอดี
เพิ่มขึ้นเชื้อเพลิงจะถูกป้ อนผ่านจาก
ทางรูทางผ่าน(Bypass hole)กับรูเข็ม
ลูกเร่ง(Nozzle)น้ามันที่พ่นออกจาก
รูเข็มลูกเร่งนี้จะไหลมานมหนูใหญ่
(Main jet) แล้วมาผสมกับอากาศที่มา
จากรูอากาศหลัก(Main air jet)จากนั้น
พ่นออกทางรูเข็มลูกเร่ง
CRUISING
AIR FLOW
FUELFLOW
NEEDLE NEEDLEJET
MAIN
AIR BLEED
MAIN JET
MAIN AIR JET
ในเวลารอบเครื่องสูง
เมื่อเวลาลูกเร่งเปิดหมด ปริมาณอากาศ
ในช่องคอคอด(Venturi) จะมีมากที่สุด
ปริมาณเชื้อเพลิงส่วนใหญ่จะถูกพ่นมา
จากรูเข็มเร่ง(Main nozzle) ลูกเร่งจะ
เปิดสัมพันธ์กับปริมาณน้ามันเชื้อเพลิงที่
พ่นออกมา วงจรของนมหนูเดินเบารวม
ที่รูจ่ายนาร่องและรูจ่ายทางผ่าน(Pilot
outlet hole และBypass hole)จะทางาน
ตั้งแต่เดินเบาถึงลูกเร่งเปิดกว้างเศษหนึ่ง
ส่วนสี่ กลไกของนมหนูใหญ่จะทางาน
ตั้งแต่ลูกเร่งเปิดกว้างเศษหนึ่งส่วนแปด
จนถึงลูกเร่งเปิดหมด
FULL THROTTLE
AIR FLOW
FUELFLOW
NEEDLE NEEDLEJET
MAIN
AIR BLEED
MAIN JET
MAIN AIR JET
กลไกระดับน้ามันเชื้อเพลิง
ในคาร์บูเรเตอร์จะมีที่เก็บน้ามันเชื้อเพลิงให้อยู่ปริมาณเดียวกันตลอดเวลา เรียกว่าห้องลูกลอย
การที่จะทาส่วนผสมของน้ามันกับอากาศให้มีอัตราที่สม่าเสมอจาเป็นต้องมีระดับของน้ามัน
เชื้อเพลิงอยู่ระดับเดียวกันตลอดเวลา
กลไกการสตาร์ทเครื่อง
เครื่องยนต์ที่อยู่ในสภาพเย็น น้ามันเชื้อเพลิงมักจะเกาะติดที่ผนังทางเดินได้ง่ายและน้ามัน
เชื้อเพลิงก็มีสภาพกลายเป็นก๊าซได้อยากจึงจาเป็นต้องมีช่องน้ามันเชื้อเพลิ งใหม่มีหน้าที่
ป้ อนข้นหนาโดยเฉพาะ ช่องจ่ายน้ามันใหม่นี้คือ By startter
Main Technical Features
ก๊อกน้ามันชนิดระบบอัตโนมัติ
ก๊อกน้ามันชนิดระบบอัตโนมัติปลอดภัย เพราะถ้าไม่มีการทางานของเครื่องยนต์ น้ามันเชื้อเพลิงจะไม่
ไหลไปยังคาร์บูเรเตอร์ แม้ว่าจะไม่ใช้รถนานเท่าใดก็ตาม น้ามันจะไหลเมื่อท่านสตาร์ทเครื่องยนต์เท่านั้น
ระบบของการคลายไอเสีย
ชุดคลัตช์กลไกล ออโตเมติคดับเบิ้ลคลัตช์
ระบบตัดต่อกาลังงาน
โครงสร้างคลัทช์ใหม่
ให้สัมผัสที่เบาและ
คล่องตัวต่อการใช้งาน
เป็นระบบ “ Outer
Push ” โดยกลไกการ
ทางานเป็นแบบใช้ก้าน
ดันลอยตัว ซึ้งทา
ให้คลัทช์ทางานได้อย่าง
นุ่มนวลมีประสิทธิภาพ
ในการทางานสูง
คลัตช์แบบกลไกล
ระบบตัดต่อกาลังงาน
ส่งกาลังด้วยเพลาขับ
* การบารุงรักษาน้อย
* การกระตุกมีน้อย
ระบบของการส่งกาลัง
ระบบของการส่งกาลัง
ส่งกาลังด้วยโซ่
* โครงสร้างแบบง่ายต่อการดูแลรักษา
* ปรับแต่งง่ายและเปลี่ยนอัตราทดได้ง่าย
ส่งกาลังด้วยเพลาสายพาน
* การบารุงรักษาน้อย
* การเปลี่ยนเกียร์นิ่มนวล
* การทางานง่ายเพราะเป็น
ระบบอัตโนมัติ
ระบบของการส่งกาลัง
ส่วนประกอบ
โครงรถ
โครงรถแบบ Back bone Frame
ใช้แผ่นเหล็ก/ท่อ มีความแข็งแรงสูง
โครงรถแบบ Under bone
ใช้แผ่นเหล็ก/ท่อ มาเชื่อมติดกัน
โครงรถแบบ Delta Box
โครงสร้างแบบกล่อง 3 เหลี่ยม
โดยทั่วๆไปทาด้วยเหล็กหรือ อลูมิเนียม
น้าหนักเบาและแข็งแรง
รถครอบครัวขนาดเล็ก (SCOOTER) คือ รถจักรยานยนต์ที่ไม่มีเกียร์
ออกแบบให้มีวงล้อขนาดเล็ก และมีความสูงจากพื้นถึงเบาะไม่สูงมากนัก
ใช้เฉพาะสาหรับเด็กหรือผู้ใหญ่ที่ต้องการความปลอดภัยสูง
รถครอบครัว (MOPET) คือรถที่ใช้งานง่ายและหลากหลาย
โดยทั่วไป รถนี้จะใช้คลัทช์แบบอัตโนมัติ เหมาะกับทุกคนใน
ครอบครัว ประหยัดน้ามันเชื้อเพลิง และง่ายต่อการบารุงรักษา
รถครอบครัวกึ่งสปอร์ต (SPORT MOPET) คือรถที่มีสมรรถนะ
สูง น้าหนักเบา ใช้งานหลากหลาย เหมาะสาหรับทุกคนในครอบครัวที่รักการขับขี่
แบบเรซซิ่ง ประหยัดน้ามันเชื้อเพลิง ง่ายต่อการบารุงรักษา
รถสปอร์ต (SPORT) คือรถที่สมรรถนะสูง เหมาะสาหรับผู้ที่รัก
การขับขี่แบบสปอร์ตเรซซิ่ง หรือท่องเที่ยว ที่ให้ความคล่องตัว
รวดเร็ว
Yamaha SPEED MX
ดิสก์เบรกหน้า - หลัง เป็นแบบ
ลูกสูบคู่เบรกได้มั่นใจ
เบรกหน้า เบรกหน้า
2.MAINTENANCE FREE (MF)
1
2
ระบบของELECTRICAL
DC TYPE ( DIRECT CURRENT )
1. GENERAL TYPE
ระบบของELECTRICAL
AC TYPE (ALTERNATING CURRENT)
ระบบของELECTRICAL
องค์ประกอบที่ทาให้เกิดไฟฟ้ า
ขดลวด (Coil) ล้อแม่เหล็กMAGNETIC
ภาพการเคลื่อนไหว ของล้อ
แม่เหล็กหรือ ขดลวด
MOTION
ระบบของELECTRICAL
IGNITION SYSTEM
ระบบของELECTRICAL
AC TYPE (ALTERNATING CURRENT)
ชิ้นส่วนของระบบอะไหล่
เบอร์ชิ้นส่วนเครื่องยนต์
เบอร์ของชิ้นส่วนทางไฟฟ้า
เบอร์ของชิ้นส่วนตัวถัง
2. Cover,Handlebar upper
6. Cover,Handlebar lower5.Set cover side 3
11.Set
Cover
Side 4
4.Panel Front
1.Leg Shield
(left) 3.Leg Shield
(Right)
7.Cover Outer1 8. Cover Outer 2
9. Fender Front
10.Set Cover Side 2
ส่วนประกอบ
3 ท่อร้อน แคตตาไลเซอร์
ระบบอากาศไหลเข้า AIS (Air Induction System)
หม้อกรองอากาศ
วาล์วทางเดียว
ระบบแปรสภาพไอเสีย YCCS
(Yamaha Clean Catalyzes System)
การรับประกันคุณภาพ
มีการขยายเวลาระยะรับประกัน
จาก 10,000 กม. หรือ 1 ปี เป็น
30,000 กม. หรือ 3 ปี
(เฉพาะเครื่องยนต์)
คาสั่ง ให้ทาการซ่อมและแก้ไขรถตามคาบอกของลูกค้าซึ่งเป็น
สุภาพสตรี
รายละเอียดของลูกค้า คุณโสภา รักษาดี เจ้าของรถจักรยานยนต์ ซึ่งซื้อ
เมื่อปี 2543 ปกติใช้งานทั่วๆไป แต่มีเหตุต้องเดินทางไปต่างประเทศ
เมื่อกลับมารถใช้งานไม่ได้ กล่าวคือ รถสตาร์ทไม่ติดและติดแล้วดับ
บางครั้งมีเสียงดังบริเวณเครื่องยนต์ ซึ่งระยะทางที่เรือนไมล์ 14905
กม.ซึ่งจะรับรถในเวลา 16.30 น ของวันนี้ ทะเบียน กกก545 กทม.
1
2
3
4
ข้อปฏิบัติในการใช้เครื่องมือ
การเตรียมการเพื่อให้บริการ ถอด / ประกอบเครื่องยนต์
จัดเตรียม
1. จัดเตรียมเครื่องมือทั่วไปให้สมบูรณ์
2. ถาดสาหรับรองเครื่องยนต์และชิ้นส่วน
3. ถาดล้างชิ้นส่วน
4. แท่นไม้สาหรับรองเครื่องยนต์
5. ลังพลาสติกใส่อะไหล่(ชิ้นใหญ่)
ชุดเครื่องมือพิเศษ
การอ่านค่าเครื่องมือวัด
1/1 1 ขีดมีค่า = 1 มม.
1/10 1 ขีดมีค่า = .1 มม.
1/20 1 ขีดมีค่า = .05 มม.
1/50 1 ขีดมีค่า = .02 มม.
1/100 1 ขีดมีค่า = .01 มม.
1/1000 1 ขีดมีค่า = .001 มม. หรือ1 ไมโครµ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานNut Veron
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)Sommawan Keawsangthongcharoen
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfNoeyWipa
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) Sasichay Sritep
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหน้าแบบซิงโครเมช
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหน้าแบบซิงโครเมชการส่งกำลังงานเกียร์ขับหน้าแบบซิงโครเมช
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหน้าแบบซิงโครเมชGreenswat Optra
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 

La actualidad más candente (20)

ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์
 
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหน้าแบบซิงโครเมช
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหน้าแบบซิงโครเมชการส่งกำลังงานเกียร์ขับหน้าแบบซิงโครเมช
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหน้าแบบซิงโครเมช
 
Keydesign
KeydesignKeydesign
Keydesign
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 

Destacado (9)

Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Robot beginner
Robot beginner Robot beginner
Robot beginner
 
Remove engine
Remove engineRemove engine
Remove engine
 
Cylinder head
Cylinder headCylinder head
Cylinder head
 
Week8 TCP/IP and internet
Week8 TCP/IP and internetWeek8 TCP/IP and internet
Week8 TCP/IP and internet
 
Presentation hitec
Presentation hitecPresentation hitec
Presentation hitec
 
Cylinder block
Cylinder blockCylinder block
Cylinder block
 
Disassemble engine
Disassemble engineDisassemble engine
Disassemble engine
 
6 1
6 16 1
6 1
 

Basic Motercycle