SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 64
Descargar para leer sin conexión
อาชีวอนามัยความปลอดภัยและ ความเสี่ยงโรคจากการทางาน 
KRITSANA NASUNGCHON 
OCCUPATIONAL HEALTH DEPARTMENT 
SAKON NAKHON HOSPITAL 
3 NOV 2014
ความหมาย อาชีวะ(Occupation) หมายถึงบุคคลที่ประกอบสัมมาชีพ หรือคนที่ ประกอบอาชีพทั้งมวล อนามัย(Health) หมายถึงสุขภาพอนามัย ความเป็นอยู่ที่สุขสมบูรณ์ ของผู้ประกอบอาชีพ อาชีวอนามัย(Occupational Health) หมายถึง งานที่เกี่ยวข้องกับการ ควบคุมดูแล สุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพทั้งหมด เป็นงานที่ เกี่ยวข้องกับการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพอนามัย รวมทั้งการดารง คงไว้ซึ่งสภาพร่างกาย และจิตใจที่สมบูรณ์ของผู้ประกอบอาชีพทุกอาชีพ
ความหมาย 
ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง สภาพแวดล้อมของการทางาน ที่ ปราศจากภัยคุกคาม ไม่มีอันตราย (Hazard) และความเสี่ยงใดๆ(Risk) ในทางปฏิบัติอาจจะไม่สามารถควบคุมอันตรายหรือความเสี่ยงในการ ทางานที่มีผลต่อสุขภาพ การบาดเจ็บ การพิการ การตายได้ทั้งหมด แต่ ต้องมีการดาเนินงาน มีการกาหนดกิจกรรมด้านความปลอดภัยเพื่อให้ เกิดอันตรายหรือความเสี่ยงน้อยที่สุดเท่าที่จะทาได้
การดาเนินงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 
 WHO และILO กาหนดไว้ 5 ประการ การส่งเสริม (Promotion) การป้องกัน (Prevention) การป้องกันคุ้มครอง (Protection) การจัดการงาน (Placing) การปรับงานให้กับคนและปรับคนให้กับงาน (Adaptation)
ความเสี่ยงโรคจากการทางาน 
ความเสี่ยง (Risk) หมายถึงความเป็นไปได้ หรือโอกาสที่สิ่ง คุกคามแสดงความเป็นอันตราย ตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนถึงมี ความรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ สิ่งคุกคาม (Hazard) หมายถึง สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ที่มีศักยภาพที่ ก่อให้เกิดอันตรายได้ อาจเป็นสารเคมี เครื่องจักร ความร้อน ลักษณะการทางาน หรือสภาพแวดล้อมการทางาน ซึ่ง อันตรายที่เกิดขึ้น อาจถึงการเสียชีวิต ทุพลภาพ หรือการ เจ็บป่วยทางกายหรือทางจิตใจ
ทางกายภาพ 
ทางเคมี 
ทางชีวภาพ 
ทางการยศาสตร์ 
ทางจิตวิทยาสังคม ประเภทสิ่งคุกคาม(Hazards)
หมายถึง การทางานในสิ่งแวดล้อมที่มีความร้อน ความ เย็น เสียงดัง ความสั่นสะเทือน แสงสว่าง ความกด บรรยากาศสูง อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ซึ่งมี ผลกระทบต่อสุขภาพคนทางาน 
สิ่งคุกคามทางกายภาพ (Physical health hazards)
ความร้อน(Heat) มีผลกระทบต่อสุขภาพ 
Heatstroke 
Heat Exhaustion 
Heat Cramp 
Heat Rash 
Dehydration 
สิ่งคุกคามทางกายภาพ(Physical health hazards)
การป้องกันและควบคุมความร้อน 
1) ลดความร้อนในผู้ตัวปฏิบัติงานและที่ทางาน - จัดให้ผู้ปฏิบัติงานมีระยะพักบ่อยขึ้น และพักในที่มีอากาศเย็น - เครื่องมืออุปกรณ์ที่มีความร้อนสูง ควรมีฉนวนหุ้มกันความร้อน - ติดตั้งระบบดูดอากาศเฉพาะที่ 
- ติดตั้งฉากกันความร้อน ระหว่างแหล่งกาเนิดความร้อนกับตัวผู้ปฏิบัติงาน - จัดให้มีพัดลมเป่า เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของอากาศและการระเหยของเหงื่อ - จัดให้มีบริเวณสาหรับพักที่มีอากาศเย็น 
- ให้ความรู้กับผู้ปฏิบัติงานทุกคนที่ทางานในที่มีแหล่งความร้อน - ผู้ปฏิบัติงานใหม่ ควรกาหนดชั่วโมงการทางานที่ต้องสัมผัสกับความร้อน
การป้องกันและควบคุมความร้อน 2) จัดให้มีการควบคุมสิ่งแวดล้อมการทางาน โดยมี กิจกรรมการประเมินการสัมผัสความร้อนในรูปของดัชนี ความร้อน (WBGT index) 
ดัชนีกระเปาะเปียกและโกลบ 
(Wet Bulb globe thermometer)
เสียง (Noise) เสียงดัง(Nuisance Noise) หมายถึง เสียงซึ่งไม่เป็นที่ต้องการของคน เพราะทาให้เกิดการรบกวนการรับรู้เสียงที่ต้องการ หรือความเงียบ และเป็นเสียงที่เป็นอันตรายต่อการได้ยิน เดซิเบลเอ(dBA) เป็นหน่วยวัดความดังเสียงที่ใกล้เคียงกับการ ตอบสนองต่อเสียงของหูมนุษย์ TWA : time weighted average เป็นค่าเฉลี่ยระดับความดังเสียงตลอด ระยะเวลาการสัมผัสเสียง 
สิ่งคุกคามทางกายภาพ(Physical health hazards)
เสียงแบ่งออกเป็น 3 ประเภท 
1.เสียงดังแบบต่อเนื่อง ( Continuous Noise) 
-เสียงดังต่อเนื่องแบบคงที่ ลักษณะเสียงดังที่มีระดับเสียงเปลี่ยนแปลง ไม่เกิน 3 dBA เช่น เสียงพัดลม 
-เสียงดังต่อเนื่องแบบไม่คงที่ ลักษณะเสียงดังที่มีระดับเสียงเปลี่ยนแปลง เกิน 10 dBAเช่น เสียงเจียร 
2.เสียงดังเป็นช่วง ๆ ( Intermittent Noise) เป็นเสียงที่ดังไม่ต่อเนื่องดังเป็น ระยะ เช่น เสียงเครื่องบินบินผ่าน 
3.เสียงดังกระทบหรือกระแทก (Impact Noise) เป็นเสียงที่เกิดขึ้นและสิ้นสุด อย่างรวดเร็วในเวลาน้อยกว่า 1 วินาที มีการเปลี่ยนแปลงของเสียง มากกว่า 40dBA
อันตรายจากเสียงดังและผลกระทบต่อสุขภาพ 
สูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราว (Temporary hearing loss) 
สูญเสียการได้ยินแบบถาวร (Permanent hearing loss) 
เกิดการเปลี่ยนแปลงการทางานของร่างกาย 
รบกวนการพูด การสื่อความหมาย และกลบเสียงสัญญาณต่างๆ 
ช่วงความถี่ที่มนุษย์ได้ยิน 20 –20000 เฮิรตซ์ 
การสูญเสียการได้ยิน จะเริ่มที่ความถี่ 4000 เฮิรตซ์
มาตรฐานระดับเสียงที่ยอมให้ลูกจ้างได้รับตลอดเวลาการทางานในแต่ละวัน 
เวลาการ ทางาน(ชม.) 
TWA(dbA) 
เวลาการ ทางาน(ชม.) 
TWA(dbA) 
12 
87 
3 
97 
8 
90 
2 
100 
7 
91 
1 1/2 
102 
6 
92 
1 
105 
5 
93 
1/2 
110 
4 
95 
1/4 
115
การควบคุมอันตรายจากเสียง 
ควบคุมที่แหล่งกาเนิด (Source Control) ต่ากว่า 85 dBA 
ควบคุมทางผ่าน ระหว่างแหล่งกาเนิดไปยังคน 
ควบคุมที่ผู้รับ โดยการใส่ PPE
แสงสว่าง (Light) ไม่ต่ากว่ามาตรฐานที่กาหนดไว้ในพรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2549 เรื่อง กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน เกี่ยวกับความ ร้อน แสงสว่าง และเสียง 
นั่งทางานหน้าจอคอมพิวเตอร์ควรมีแสงสว่างที่เหมาะสมไม่เกิน 500 LUX ควรพักสายตาทุก 15นาที เมื่อทางานติดต่อกันเกิน 2 ชม. 
สิ่งคุกคามทางกายภาพ(Physical health hazards)
ความสั่นสะเทือน (Vibration) 
ความถี่ 2-100 เฮิร์ท เช่น ขับรถบรรทุก รถไถ ความถี่ 20-1000 เฮิร์ท เช่นงานขุดเจาะขนาดใหญ่ ค้อนทุบ เครื่องตัด เลื่อยไฟฟ้า เครื่องขัดถูพื้นหินขัด 
ผลกระทบต่อสุขภาพ มีผลต่อกระดูกโครงสร้าง การเคลื่อนไหว รบกวนการหลั่งน้าย่อย 
ตัวอย่างโรค Hand -arm Vibration Syndrome นิ้วซีดขาวจาก การบีบเกร็งของหลอดเลือด สิ่งคุกคามทางกายภาพ (Physical health hazards)
รังสี (Radiation) 
แหล่งพลังงานที่ปล่อยออกมาจาก แหล่งกาเนิดโดยผ่านตัวกลางหรืออากาศใน รูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และรวมถึง อนุภาคต่างๆที่ปล่อยออกมาจากนิวเคลียส ของอะตอมของธาตุกัมมันตรังสีตลอดจน รังสีคอสมิกที่มาจากนอกโลก สิ่งคุกคามทางกายภาพ (Physical health hazards)
รังสีมี 2 ชนิด 
รังสีแตกตัว หรือกัมตภาพรังสี 
-แหล่งธรรมชาติ เช่น แสงจากดวงอาทิตย์ รังสีคอสมิก 
- มนุษย์สร้างขึ้น เช่น รังสีแอลฟา รังสีเบต้า รังสีแกมมานามาใช้ ในโรงพยาบาลในรูปแบบที่แตกต่างกัน เช่น รังสีเอ๊กซ์ หรือรังสีแกมม่า ได้แก่ การวินิจฉัยโรค การรักษาโรค การฉายรังสีเพื่อรักษาโรคผิวหนัง เวชศาสตร์นิวเคลียร์ในขั้นตอนการวินิจฉัยและรักษา การเตรียมยาและ ผลิตยา รังสีไม่แตกตัว เช่นรังสีอุลตราไวโอเลต อินฟราเลด แสงแดด 
คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์ เรด้า เรเซอร์
• ผลเฉียบพลัน การได้รับปริมาณรังสีที่ก่อให้เกิดการแตก ตัวทาให้ผิวหนังบวมแดง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน อ่อนเพลีย หมดสติ • ผลเรื้อรัง ทาให้เกิดการกลายพันธุ์ของยีนส์ การปลี่ยน แปลงของโครโมโซม การแบ่งตัวของเซลล่าช้า และเซลถูกทาลาย ผลกระทบต่อสุขภาพ (ปริมาณมากกว่า 100 Roentgens)
ผลกระทบต่อสุขภาพ 
1) รังสีอัลตราไวโอเลท (แสง UV) ทาให้ตาแดง เยื่อบุในชั้นตาดาอาจถูก ทาลาย ผิวหนังอักเสบ คัน สัมผัสเป็นเวลานานทาให้เกิดมะเร็งผิวหนัง 2) รังสีจากหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ ทาให้เกิดความเมื่อยล้าของสายตา ปวดศีรษะ 3) รังสีอินฟาเรด (IR) ทาให้ตาบอด ผิวหนังไหม้ 4) อัลตราซาวด์ ทาให้คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหู มึนงง อ่อนเพลีย สูญเสียการได้ ยินชั่วคราว 5) เลเซอร์ เกิดอันตรายต่อกระจกตาและเลนส์ตา มีผลต่อผิวหนัง 6) ไมโครเวฟ เกิดอันตรายต่อตา ระบบประสาทส่วนกลางและระบบสืบพันธุ์
การป้องกันและควบคุม 
1) ให้ความรู้กับบุคลากร ที่ทางานเกี่ยวข้องกับรังสีที่ไม่แตกตัว เน้น เรื่องอันตรายและการป้องกัน 2) การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายขณะทางาน เช่น สวมแว่นตา นิรภัย ป้องกัน แสง UV, แสง IR, เลเซอร์ 3) มีการตรวจสอบเครื่องมือ อุปกรณ์ทางการแพทย์ และการ บารุงรักษา เพื่อป้องกันการรั่วไหลของรังสี 4) ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทางานและตรวจประจาปี โดยเน้นการ ตรวจตาและผิวหนัง
หมายถึง: สิ่งแวดล้อมการทางานที่มีเชื้อจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรีย รา ไวรัส ปาราสิต เป็นต้น ซึ่งอาจแพร่มาจากผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อที่มารับ การรักษาพยาบาล และเกิดการแพร่เชื้อสู่ผู้ปฏิบัติงานได้  โรคติดเชื้อ: ได้แก่ วัณโรค, ไวรัสตับอักเสบ, HIV, Legionellosis ที่เกิด จากเชื้อLegionella pneumophilia พบใน air conditioning อาชีพที่เสี่ยง: บุคลากรทางการแพทย์ พยาบาลที่ทางานใน โรงพยาบาล ,พนักงานเก็บขยะ ,พนักงานเก็บสิ่งปฏิกูล ,พนักงานซัก ล้าง/ทาความสะอาด/เวรเปล, เจ้าหน้าที่ห้องLABสิ่งคุกคามทางชีวภาพ (Biological Health Hazards)
หมายถึง สิ่งแวดล้อมการทางานที่มีการใช้สารเคมีในขั้นตอนใดขั้นตอน หนึ่งของกระบวนการทางาน และมีโอกาสเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ ผู้ปฏิบัติงาน 
Routes of Exposure 
–Inhalation 
–Skin contact 
–Eye contact 
สิ่งคุกคามทางเคมี (ChemicalHealth Hazards)
ผลกระทบต่อสุขภาพ 
1) เกิดการขาดอากาศหายใจ 2) เกิดการระคายเคือง 3) เกิดอันตรายต่อระบบการสร้างโลหิต 4) เกิดอันตรายต่อระบบประสาท 5) อันตรายต่อระบบหายใจ 6) เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม 7) เกิดมะเร็ง
การจัดการข้อมูลสารเคมีที่ใช้ 
•มีการจัดเก็บข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีที่ใช้ที่เรียกว่า Material Safety Data Sheet (MSDS) • เก็บไว้อยู่ในแต่ละแผนก/หน่วยที่มีการใช้สารเคมี และมีอยู่ที่ ศูนย์รวมข้อมูลเคมีภัณฑ์ที่ใช้ทั้งหมด
การป้องกันและควบคุม 
• การป้องกันที่แหล่งกาเนิดของสารเคมี • การป้องกันที่ทางผ่านของสารเคมี • การป้องกันที่ตัวบุคคล หรือผู้รับ
การป้องกันที่แหล่งกาเนิดของสารเคมี 1) เลือกใช้สารเคมีที่มีอันตรายน้อยกว่าแทน 2) แยกกระบวนการทางานที่มีการใช้สารเคมีออกต่างหาก 3) จัดให้มีที่ปกปิดแหล่งของสารเคมีให้มิดชิด 4) ติดตั้งระบบดูดอากาศเฉพาะที่ 5) บารุงรักษาอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพที่สะอาด ปลอดภัยพร้อมใช้ 6) จัดเก็บสารเคมีที่ถูกต้องปลอดภัย
การป้องกันทางผ่านของสารเคมี 
1)การรักษาสถานที่ทางานให้สะอาด ไม่เป็นที่สะสมของฝุ่น สารเคมี ซึ่งสามารถฟุ้งกระจายได้เมื่อมีลมพัด 2) ติดตั้งระบบระบายอากาศทั่วไป เช่น ประตู ช่องลม หน้าต่าง ระบายอากาศ หรือมีพัดลมช่วย 3) การเพิ่มระยะห่างของแหล่งกาเนินสารเคมีกับผู้ปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการ 
1) ตรวจหาระดับหรือความเข้มข้นของสารเคมี 2) ลดชั่วโมงการทางานกับสารเคมีอันตรายให้สั้นลง 3) มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนผู้ปฏิบัติงาน 4) ตรวจสุขภาพร่างกายของบุคลากร 5) บริเวณที่มีการใช้สารเคมี ควรมีก๊อกน้า อุปกรณ์การปฐม พยาบาลเบื้องต้น
การป้องกันที่บุคคล 
1)ให้ความรู้ อบรมบุคลากร ให้ทราบถึงอันตรายจากสารเคมี วิธีการใช้และการป้องกัน 2) การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล แต่ละชนิดที่ เหมาะสมกับงาน
หมายถึง สิ่งคุกคามสุขภาพที่เกิดขึ้นจากท่าทางการทางานที่ 
ผิดปกติ หรือฝืนธรรมชาติ 
Ergonomics คาที่มาจากภาษากรีก 
“ergon” แปลว่า งาน (work) 
“nomos” แปลว่า กฎตามธรรมชาติ (Natural Laws) 
รวมกันเป็นคาว่า“ergonomics” หรือ“laws of work” ที่แปลว่ากฎของงาน 
ซึ่งเป็นศาสตร์ หรือวิชาการที่เป็นการปรับเปลี่ยนสภาพงานให้ 
เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน 
สิ่งคุกคามทางการยศาสตร์ (Ergonomics)
ประโยชน์ของการยศาสตร์ 
1. ช่วยลดความผิดพลาดที่เกิดขึ้นในการทางาน 2. ลดอุบัติเหตุจากการทางาน 3. ความเมื่อยล้าจากการทางานลดลง 4. ก่อให้เกิดความพึงพอใจในการทางาน 5. ก่อให้เกิดการเพิ่มผลผลิตในงาน 6. ลดค่าใช้จ่ายในการควบคุมงานรวมถึงการฝึกอบรม
สิ่งคุกคามทางการยศาสตร์ ที่พบบ่อย 
การยก เคลื่อนย้ายผู้ป่วย หรือวัสดุ สิ่งของอย่างไม่ เหมาะสม 
การยืนทางานเป็นเวลานาน 
การนั่งทางานเป็นเวลานาน
ผลกระทบต่อสุขภาพ 
เกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง (Musculoskeletal disorders: MSDs) 
• โรคปวดหลังส่วนบั้นเอว (Low back pain) 
• เอ็นอักเสบ (Tendinitis) 
• เอ็นและปลอกหุ้มอักเสบ (Tenosynovitis) • กลุ่มอาการอุโมงค์คาร์ปาล (Carpal Tunnel Syndrome: CTS)
การป้องกันและแก้ไขปัญหา 1) หลักการทั่วไปในการยก เคลื่อนย้ายวัสดุ สิ่งของ หรืออุปกรณ์ เครื่องใช้ 2) ใช้โต๊ะที่สามารถปรับระดับได้เพื่อเกิดความเหมาะสมกับผู้ใช้งาน 3) จัดให้มีราวพิงหลัง หรือที่พักเท้า กรณีที่ต้องยืนทางาน 4) เมื่อต้องยืนทางานเป็นระยะเวลานานบนพื้นแข็งควรใช้แผ่นยาง หรือพรมรองพื้นที่มีความนุ่ม 5) จัดวางเครื่องมือ วัตถุดิบ และวัสดุอื่นๆ บนโต๊ะทางานตาม ความถี่ของการใช้งาน
หมายถึง สิ่งแวดล้อมในการทางานที่สามารถก่อให้เกิดสภาวะเครียด 
เนื่องมาจากจิตใจหรืออารมณ์ที่ได้รับความบีบคั้น มีผลให้ 
เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ซึ่งมีสาเหตุ 
“การเกิดความรู้สึกเบื่อหน่ายต่องาน 
การเกิดความกดดันจากสภาพงานที่ไม่เหมาะสม 
การเกิดอุบัติเหตุจากปัญหาจิตวิทยาสังคม” สิ่งคุกคามทางจิตวิทยาสังคม (Psychosocial health hazards)
ผลกระทบต่อสุขภาพ 
• ทาให้เบื่ออาหาร เกิดแผลอักเสบในกระเพาะอาหาร 
• เกิดความผิดปกติด้านจิตใจ ปวดศีรษะ ข้างเดียว นอนไม่หลับ 
• อารมณ์แปรปรวน ส่งผลต่อสัมพันธภาพภายในของครอบครัว และสังคม 
• กระทบต่อทัศนคติ และพฤติกรรม การติดต่อสื่อสารกับผู้ป่วย และเพื่อนร่วมงาน
1) จัดให้มีกิจกรรมคลายเครียด 2) จัดให้มีการทางานเป็นกะอย่างเหมาะสม และมีจานวนทีมงานที่ เพียงพอ 3) ปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทางานให้น่าอยู่ น่าทางาน 4) ผู้ที่ทาหน้าที่ควบคุม กากับงาน ควรมีความยืดหยุ่นและยอมรับ ฟังความคิดเห็น 5) จัดภาระงานให้เหมาะสมกับความสามารถของผู้รับผิดชอบงาน การแก้ปัญหาด้านจิตสังคม
ความหมายของโรคจากการทางาน 
โรคจากการทางานหรือโรคจากการประกอบอาชีพ 
(Occupational Diseases) 
หมายถึง โรคหรือความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งมี สาเหตุโดยตรงจากการทางานที่สัมผัส (Exposure)กับสิ่งคุกคาม (Hazard) หรือสภาวะแวดล้อมในการทางานที่ไม่เหมาะสม โดย อาการเจ็บป่วยอาจเกิดขึ้นขณะปฏิบัติงาน หลังเลิกงาน หรือ ภายหลังที่ออกจากงานไปแล้ว
โรคเกี่ยวเนื่องกับการทางาน 
(Work-related diseases) 
หมายถึง โรคหรือความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นซึ่งเป็นผลโดยอ้อม จากการทางาน สาเหตุปัจจัยประกอบหลายอย่างประกอบ (Multi-factorial disease)ไม่เกิดจากสารเคมีหรืออันตรายจาก การทางานโดยตรง แต่สารเคมีหรือวิธีการทางานนั้นๆ ทาให้ โรคที่เป็นอยู่เดิมนั้นเป็นมากขึ้น
โรคจากสิ่งแวดล้อม (Environmental diseases) 
มีหลักการเกิดโรคเช่นเดียวกับโรคจากการทางาน คือมีสิ่ง คุกคามมาสัมผัสกับร่างกายคน ทาให้เกิดโรคขึ้น เพียงแต่ เปลี่ยนจากสิ่งคุกคามที่อยู่ในงานมาเป็นสิ่งแวดล้อมที่อยู่ใน สิ่งแวดล้อมแทน
ปัจจัยที่ทาให้เกิดโรคฯ 
ปัจจัยที่สาคัญ 3 ประการ คือ 
1. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวเหตุของโรค 
2. ปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวผู้ประกอบอาชีพ 
3. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสังคม เศรษฐกิจและ 
สิ่งแวดล้อมอื่นๆ
เกณฑ์การวินิจฉัยโรคจากการทางาน (1) 
1. การวินิจฉัยโรคจากการทางานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 
1.1 มีหลักฐานทางการแพทย์แสดงการเจ็บป่วยดังนี้ 
- เวชระเบียน 
- ผลและรายงานการชันสูตรต่างๆที่เกี่ยวกับโรค 
- ใบรับรองแพทย์ 
- ความเห็นของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ 
1.2 มีการวินิจฉัยแยกสาเหตุอื่นๆ ของการเจ็บป่วย ซึ่งอาจทาให้เกิดการ เจ็บป่วยแบบเดียวกัน (Differential Diagnosis)
เกณฑ์การวินิจฉัยโรคจากการทางาน (2) 
1.3 มีประวัติหรือหลักฐานอื่นแสดงถึงการได้รับสิ่งคุกคามทั้งในงานและ 
นอกงาน 
1.4 มีอาการหรืออาการแสดงครั้งแรก (Onset) เกิดหลังจากการสัมผัส 
(Exposure) และมีระยะเวลาก่อโรครายบุคคล (Induction Time) 
2. นอกจากหลักฐานที่กาหนดไว้ตามข้อ 1 แล้ว อาจใช้หลักเกณฑ์ข้อใดข้อ หนึ่งประกอบการวินิจฉัยโรคได้ดังนี้ 
2.1 การวินิจฉัยด้วยการรักษาทางการแพทย์พิสูจน์สาเหตุของโรค 
2.2 อาการป่วยบางระยะสัมพันธ์กับการสัมผัสสิ่งแวดล้อมที่มีปัจจัย คุกคามในพื้นที่สงสัย
เกณฑ์การวินิจฉัยโรคจากการทางาน (3) 
2.3 อาการป่วยบางระยะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น เมื่อเว้นจากสิ่งแวดล้อมที่เป็น ภัยคุกคาม 
2.4 มีผู้ป่วยในกลุ่มผู้สัมผัสลักษณะเดียวกันมากกว่าหนึ่งรายหรือมีรายงานการ สอบสวนทางระบาดวิทยาสนับสนุน 
2.5 สอดคล้องกับการศึกษาหรือรายงานในคนและสัตว์ก่อนหน้านี้ 
3. หลักเกณฑ์การวินิจฉัยโรคให้อ้างอิงเอกสารทางการขององค์การ อนามัยโลก(WHO) องค์การแรงงานโลก(ILO) และเกณฑ์สากลของ องค์กรระหว่างประเทศที่เป็นที่ยอมรับตามลาดับและจะต้องเป็นฉบับ ปัจจุบัน
ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่องกาหนดชนิด ของโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่องจาก การทางานพ.ศ. 2550 มี จานวนทั้งหมด 80 โรค (1) 
1. เบริลเลียม หรือสารประกอบของ สารเบริลเลียม 
2. แคดเมียม หรือสารประกอบของ แคดเมียม 
3. ฟอสฟอรัส หรือสารประกอบ ของฟอสฟอรัส 
4. โครเมียม หรือสารประกอบของ โครเมียม 
5. แมงกานีส หรือสารประกอบของ แมงกานีส 
6. สารหนู หรือ สารประกอบของ สารหนู 
7. ปรอท หรือสารประกอบของ ปรอท 
8. ตะกั่ว หรือสารประกอบของสาร ตะกั่ว 
9. ฟลูออรีนหรือสารประกอบของ ฟลูออรีน 
10. คลอรีนหรือสารประกอบของ คลอรีน
โรคพิษสารหนู (Arsenic poisoning) 
The effects of arsenic in drinking water 
Skin damage of slow arsenic poisoning 
in one Bangladesh victim.
โรคพิษตะกั่ว (Leadpoisoning) อาการพิษตะกั่ว : เส้นตะกั่วที่เหงือก(Lead line) : ชาจากเส้นประสาทเสื่อม : ข้อมือตก : โลหิตจาง พบ Basophilic stripping: ปวดท้องบิด(Colicky pain) : ไตเสื่อม ไตวาย เป็นหมัน
พิษจากสารปรอท วันที่ 27 กรกฎาคม 2556 เกิดอุบัติเหตุน้ามันดิบรั่วไหลจากเรือบรรทุกน้ามันสัญชาติโอมาน ระหว่างกาลังถ่ายน้ามันดิบลงทุ่น กลางทะเล เพื่อส่งเข้าคลังน้ามันของบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากัด (พีทีทีซีจี) ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จ.ระยอง เบื้องต้นระบุว่า มีน้ามันกว่า 5 หมื่นลิตรรั่วไหลลงสู่ทะเล ยิ่งไปกว่านั้นกระแสน้าที่เชี่ยวกรากได้พัดคราบน้ามัน กระจายออกไปทั่วบริเวณอย่างน้อย 15 กิโลเมตรอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะคราบน้ามันที่เคลื่อนตัวเข้าหมู่เกาะเสม็ด บริเวณ ชายหาดอ่าวพร้าวและหาดบ้านเพ ทาให้หาดทรายสีขาวสวยงามกลายเป็นหาดสีดาส่งกลิ่นเหม็นแสบจมูกในทันที
11. แอมโมเนีย 
12. คาร์บอนไดซัลไฟด์ 
13. สารฮาโลเจน ของสารไฮโดรคาร์บอน 
14. เบนซิน หรือสารอนุพันธ์ของเบนซิน 
15. อนุพันธ์ไนโตรและอะมิโนของเบนซิน 
16. ซัลเฟอร์ไดอ๊อกไซด์ หรือกรดซัลฟูริค 
17. ไนโตรกลีเซอรีนหรือกรดไนตริคอื่นๆ 
18. แอลกอฮอล์กลัยคอล หรือคีโตน 
19. คาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ 
20. อะครัยโลไนไตรล์ 
21. อ๊อกไซด์ของไนโตรเจน 
22. วาเนเดียมหรือสารประกอบของวาเนเดียม 
23. พลวงหรือสารประกอบของพลวง 
24. เฮกเซน 
25. กรดแร่ที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคฟัน 
26. เภสัชภัณฑ์ 
27. ทัลเลียม หรือสารประกอบของทัลเลียม 
28. ออสเมียม 
29. เซเลเนียม 
30. ทองแดง 
31. ดีบุก 
32. สังกะสี 
33. โอโซน ฟลสยีน 
34. สารทาให้ระคายเคือง เช่น เบนโซควินโนน หรือสารระคายเคืองต่อกระจกตา เป็นต้น 
35.สารกาจัดศัตรูพืช 
36. อัลดีไฮด์ ฟอร์มาลดีไฮด์และกลูตารัลดีไฮด์ 
37. สารกลุ่มไดออกซิน 
38. สารเคมีหรือสารประกอบของสารเคมีอื่น 
บัญชีรายชื่อโรคจากการทางาน(2)
พิษจากตัวทาละลาย (Solvent) 
สารพิษ "โทลูอีน" ที่ระเบิดในโรงงานของ บ.บีเอสที อิลาสโตเมอร์ส ภายในนิคม อุตสาหกรรมมาบตาพุด เมื่อวันที่ 5 พ.ค.2555 ทาให้มีผู้เสียชีวิตในที่เกิดเหตุทันที 
12 คน และบาดเจ็บกว่า 140 คน
พิษจากแก็ส (Gas) 
10 มิถุนายน2556 โรงไฟฟ้าชีวมวล จ.ตรัง ก๊าซรั่วสาเหตุจากเตาเผาที่เล็ก เกินไป เมื่อมีเชื้อเพลิงมากเกินไปทาให้การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ และต้องใช้ แรงงานคนขึ้นไปเขี่ย ทาให้สูดดมก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์จานวนมากจน เสียชีวิต 
วันที่ 17 ก.ค.57 สารบิวทิล อะคลิเลต (Butyl acrylate) รั่วไหลจากบริเวณท่าเรือแหลม ฉบัง อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี เกิดแก๊สฟุ้งกระจาย จน ต้องอพยพชาวบ้านในชุมชนบ้านนาใหม่ และ นักเรียนใกล้เคียงออกจากพื้นที่ โดยมีผู้ป่วยที่สูด ดมแก๊สและเกิดอาการแสบตา แสบจมูก คลื่นไส้
โรคที่เกิดจากสาเหตุทางกายภาพ 
39. โรคหูตึงจากเสียง 
40. โรคจากความสั่นสะเทือน 
41. โรคจากความกดดันอากาศ 
42. โรคจากรังสีแตกตัว 
43. โรคจากรังสีความร้อน 
44. โรคจากแสงอัลตราไวโอเลต 
45. โรคจากรังสีไม่แตกตัวอื่นๆ 
46. โรคจากแสงหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 
47. โรคจากอุณหภูมิต่าหรือสูงผิดปกติมาก 
48. โรคที่เกิดจากสาเหตุทางกายภาพอื่น 
ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องจากการทางาน 
49. โรคที่เกิดจากสาเหตุทางชีวภาพ ได้แก่ โรคติด เชื้อหรือโรคปรสิตเนื่องจากการทางาน 
โรคระบบหายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทางาน 
50. โรคกลุ่มนิวโมโคนิโอสิส เช่น ซิลิโคสิส แอสเบส โทสิส ฯลฯ 
51. โรคปอดจากโลหะหนัก 
52. โรคบิสสิโนสิส 
53. โรคหืดจากการทางาน 
54. โรคปอดอักเสบภูมิไวเกิน 
55. โรคซิเดโรสิส 
56. โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 
57. โรคปอดจากอะลูมิเนียม 
58. โรคทางเดินหายใจส่วนบนเกิดจากสารภูมิแพ้ หรือสารระคายเคืองในที่ทางาน 
59. โรคระบบหายใจอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุ เนื่องจากการทางาน 
บัญชีรายชื่อโรคจากการทางาน(3)
โรคจากรังสีก่อไอออน (Ionizing radiation) 
อุบัติเหตุจากรังสีโคบอลต์-60 ที่ร้านรับซื้อ ของเก่า จังหวัดสมุทรปราการเมื่อปี พ.ศ. 2543 ทาให้บุคคลที่ร่วมกันแยก ชิ้นส่วนเครื่องมือแพทย์ที่เลิกใช้งานแล้ว รวมทั้งเจ้าของร้านรับซื้อของเก่าพร้อม ลูกจ้างได้รับรังสีและป่วยรวม10 ราย ใน จานวนนั้นมีผู้เสียชีวิต 3 ราย 
2 เม.ย.57 เกิดเหตุสลดกรณีคนงาน ร้านรับซื้อของเก่าชื่อ "แบนด์ รีไซเคิล" ย่านถนนลาดปลาเค้า กทม. อาจหาญ ใช้แก๊สตัดเหล็ก "ลูกระเบิด" สมัย สงครามโลกครั้ง 2
โรคผิวหนังที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทางาน 
60. โรคผิวหนังที่เกิดจากสาเหตุทาง กายภาพ เคมี หรือชีวภาพอื่นซึ่งพิสูจน์ ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องจากการทางาน 
61. โรคด่างขาวจากการทางาน 
62. โรคผิวหนังอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุ เนื่องจากการทางาน 
63.โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้าง กระดูกที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทางาน หรือสาเหตุจากลักษณะงานที่จาเพาะ หรือมีปัจจัยเสี่ยงสูงในสิ่งแวดล้อม การทางาน 
บัญชีรายชื่อโรคจากการทางาน(4)
โรคด่างขาวจากการทางาน 
พบผู้ป่วยโรคด่างขาวที่อาเภอจอมทองจังหวัดเชียงใหม่ มากผิดปกติ จากการ สอบถามข้อมูลพบว่าผู้ป่วยทั้งหมดเป็นเกษตรกร โดยเริ่มมีอาการของโรค ด่างขาวหลังจากทาการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรที่เพิ่งจะพ่นยาฆ่าแมลง โดยเฉพาะในกลุ่มของเกษตรกรที่เพาะปลูกพืชผักหรือทาสวนลาไย แสดงว่า การได้รับยาฆ่าแมลงเนื่องจากวิธีการใช้ที่ไม่ถูกต้องนั้นส่งผลให้เกิดการ ทาลายเซลล์เม็ดสีในชั้นผิวหนังจนทาให้ผู้ป่วยเป็นโรคด่างขาว
โรคกระดูกและกล้ามเนื้อจากการทางาน 
สักหน่อยจะเป็นโรคปวดหลังจากการทางาน
โรคมะเร็งที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทางาน 
โดยมีสาเหตุจาก 
64. แอสเบสตอส(ใยหิน) 
65. เบนซิดีนและเกลือของสารเบนซิดีน 
66. บิสโครโรเมทธิลอีเทอร์ 
67. โครเมียมและสารประกอบของโครเมียม 
68. ถ่านหิน 
69. เบต้า–เนพธีลามีน 
70. ไวนิลคลอไรด์ 
71. เบนซีนหรืออนุพันธ์ของเบนซีน 
72. อนุพันธ์ของไนโตรและอะมิโนของเบนซีน 
73. รังสีแตกตัว 
74. น้ามันดินหรือผลิตภัณฑ์จากน้ามันดิน เช่น น้ามันถ่านหิน น้ามันเกลือแร่ รวมทั้ง ผลิตภัณฑ์จากการกลั่นน้ามัน เช่น ยางมะ ตอย พาราฟินเหลว 
75. ไอควันจากถ่านหิน 
76. สารประกอบของนิกเกิล 
77. ฝุ่นไม้ 
78. ไอควันจากเผาไม้ 
79. โรคมะเร็งที่เกิดจากปัจจัยอื่นซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามี สาเหตุเนื่องจากการทางาน 
80. โรคอื่นๆ ซึ่งพิสูจน์ได้ว่าเกิดขึ้นตามลักษณะ หรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทางาน 
บัญชีรายชื่อโรคจากการทางาน(5)
โรคมะเร็งเยื่อหุ้มปอด(Mesothelioma)จากAsbestos
โรคจากการทางานอื่นๆ (ยังไม่มีกาหนดในบัญชีรายชื่อโรคจากการทางานไทย) 
กลุ่มอาการป่วยจากอาคาร (Sick building syndrome; SBS) 
โรคภูมิแพ้สารเคมี (Multiple chemical sensitivity;MCS) 
โรคจากการทางานออฟฟิศ (Office syndrome) โรคตาจากการทางานกับคอมพิวเตอร์ (Computer vision syndrome ) 
โรคทางานหนักจนตาย (Karoshi disease) 
การฆ่าตัวตายจากการทางาน (Suicide) 
ทางานหนักจนเส้นเลือดหัวใจตีบ (Myocardial infarction)
อุบัติเหตุจากการทางานอื่นๆ 
หินเจียรแตก 
หมองูตายเพราะงู 
แท่นพิมพ์ดูดแขนคนงาน 
ไฟฟ้าแรงสูง 
มือติดในเครื่องบด 
ท่อนเหล็กเสียบหัว
ตัวอย่างกรณีทางสิ่งแวดล้อมในไทย 
เสียงดังรอบสนมบินสุวรรณภูมิ ตะกั่วปนเปื้อนน้าที่ห้วยคลิตี้ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี 
มลพิษรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จ.ระยอง 
แคดเมียมปนเปื้อนข้าวที่ห้วยแม่ดาว อ.แม่สอด จ.ตาก แก็สซัลเฟอร์ไดออกไซด์โรงไฟฟ้าถ่านหิน อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง 
ไฟไหม้โกดังเก็บเอกสารที่ท่าเรือคลองเตย 
กรณีภัยพิบัติสีนามิ ที่จังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามัน
Thank You 
Do you have any Questions ?

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...Vongsakara Angkhakhummoola
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารtumetr
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพPrakob Chantarakamnerd
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]Viam Manufacturing
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)Chinnawat Charoennit
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์Gawewat Dechaapinun
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวSuradet Sriangkoon
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copyWatcharin Chongkonsatit
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
ความเสี่ยงด้านสารเคมี
ความเสี่ยงด้านสารเคมีความเสี่ยงด้านสารเคมี
ความเสี่ยงด้านสารเคมีHospital for Health
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวThanyalak Chanmai
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 

La actualidad más candente (20)

Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
ความเสี่ยงด้านสารเคมี
ความเสี่ยงด้านสารเคมีความเสี่ยงด้านสารเคมี
ความเสี่ยงด้านสารเคมี
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 

Similar a โรคจากการทำงาน nov2014

Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
คู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdf
คู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdfคู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdf
คู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdfKraJiabSugunya
 
Ep and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaEp and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaAimmary
 
Hazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physicianHazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physiciantaem
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททpakpoomounhalekjit
 
เรียนการแพทย์ 2023.pdf
เรียนการแพทย์ 2023.pdfเรียนการแพทย์ 2023.pdf
เรียนการแพทย์ 2023.pdfNapasornPongjitlertk
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561Utai Sukviwatsirikul
 

Similar a โรคจากการทำงาน nov2014 (15)

Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
คู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdf
คู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdfคู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdf
คู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdf
 
Ppe for yasothon hospital personnel
Ppe for yasothon hospital personnelPpe for yasothon hospital personnel
Ppe for yasothon hospital personnel
 
Ep and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaEp and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantana
 
Hazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physicianHazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physician
 
Up ebook ic
Up ebook ic Up ebook ic
Up ebook ic
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
 
เรียนการแพทย์ 2023.pdf
เรียนการแพทย์ 2023.pdfเรียนการแพทย์ 2023.pdf
เรียนการแพทย์ 2023.pdf
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
Nl ii '59 emergency
Nl ii '59 emergencyNl ii '59 emergency
Nl ii '59 emergency
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
 

โรคจากการทำงาน nov2014

  • 2. ความหมาย อาชีวะ(Occupation) หมายถึงบุคคลที่ประกอบสัมมาชีพ หรือคนที่ ประกอบอาชีพทั้งมวล อนามัย(Health) หมายถึงสุขภาพอนามัย ความเป็นอยู่ที่สุขสมบูรณ์ ของผู้ประกอบอาชีพ อาชีวอนามัย(Occupational Health) หมายถึง งานที่เกี่ยวข้องกับการ ควบคุมดูแล สุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพทั้งหมด เป็นงานที่ เกี่ยวข้องกับการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพอนามัย รวมทั้งการดารง คงไว้ซึ่งสภาพร่างกาย และจิตใจที่สมบูรณ์ของผู้ประกอบอาชีพทุกอาชีพ
  • 3. ความหมาย ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง สภาพแวดล้อมของการทางาน ที่ ปราศจากภัยคุกคาม ไม่มีอันตราย (Hazard) และความเสี่ยงใดๆ(Risk) ในทางปฏิบัติอาจจะไม่สามารถควบคุมอันตรายหรือความเสี่ยงในการ ทางานที่มีผลต่อสุขภาพ การบาดเจ็บ การพิการ การตายได้ทั้งหมด แต่ ต้องมีการดาเนินงาน มีการกาหนดกิจกรรมด้านความปลอดภัยเพื่อให้ เกิดอันตรายหรือความเสี่ยงน้อยที่สุดเท่าที่จะทาได้
  • 4. การดาเนินงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย  WHO และILO กาหนดไว้ 5 ประการ การส่งเสริม (Promotion) การป้องกัน (Prevention) การป้องกันคุ้มครอง (Protection) การจัดการงาน (Placing) การปรับงานให้กับคนและปรับคนให้กับงาน (Adaptation)
  • 5. ความเสี่ยงโรคจากการทางาน ความเสี่ยง (Risk) หมายถึงความเป็นไปได้ หรือโอกาสที่สิ่ง คุกคามแสดงความเป็นอันตราย ตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนถึงมี ความรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ สิ่งคุกคาม (Hazard) หมายถึง สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ที่มีศักยภาพที่ ก่อให้เกิดอันตรายได้ อาจเป็นสารเคมี เครื่องจักร ความร้อน ลักษณะการทางาน หรือสภาพแวดล้อมการทางาน ซึ่ง อันตรายที่เกิดขึ้น อาจถึงการเสียชีวิต ทุพลภาพ หรือการ เจ็บป่วยทางกายหรือทางจิตใจ
  • 6. ทางกายภาพ ทางเคมี ทางชีวภาพ ทางการยศาสตร์ ทางจิตวิทยาสังคม ประเภทสิ่งคุกคาม(Hazards)
  • 7. หมายถึง การทางานในสิ่งแวดล้อมที่มีความร้อน ความ เย็น เสียงดัง ความสั่นสะเทือน แสงสว่าง ความกด บรรยากาศสูง อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ซึ่งมี ผลกระทบต่อสุขภาพคนทางาน สิ่งคุกคามทางกายภาพ (Physical health hazards)
  • 8. ความร้อน(Heat) มีผลกระทบต่อสุขภาพ Heatstroke Heat Exhaustion Heat Cramp Heat Rash Dehydration สิ่งคุกคามทางกายภาพ(Physical health hazards)
  • 9. การป้องกันและควบคุมความร้อน 1) ลดความร้อนในผู้ตัวปฏิบัติงานและที่ทางาน - จัดให้ผู้ปฏิบัติงานมีระยะพักบ่อยขึ้น และพักในที่มีอากาศเย็น - เครื่องมืออุปกรณ์ที่มีความร้อนสูง ควรมีฉนวนหุ้มกันความร้อน - ติดตั้งระบบดูดอากาศเฉพาะที่ - ติดตั้งฉากกันความร้อน ระหว่างแหล่งกาเนิดความร้อนกับตัวผู้ปฏิบัติงาน - จัดให้มีพัดลมเป่า เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของอากาศและการระเหยของเหงื่อ - จัดให้มีบริเวณสาหรับพักที่มีอากาศเย็น - ให้ความรู้กับผู้ปฏิบัติงานทุกคนที่ทางานในที่มีแหล่งความร้อน - ผู้ปฏิบัติงานใหม่ ควรกาหนดชั่วโมงการทางานที่ต้องสัมผัสกับความร้อน
  • 10. การป้องกันและควบคุมความร้อน 2) จัดให้มีการควบคุมสิ่งแวดล้อมการทางาน โดยมี กิจกรรมการประเมินการสัมผัสความร้อนในรูปของดัชนี ความร้อน (WBGT index) ดัชนีกระเปาะเปียกและโกลบ (Wet Bulb globe thermometer)
  • 11. เสียง (Noise) เสียงดัง(Nuisance Noise) หมายถึง เสียงซึ่งไม่เป็นที่ต้องการของคน เพราะทาให้เกิดการรบกวนการรับรู้เสียงที่ต้องการ หรือความเงียบ และเป็นเสียงที่เป็นอันตรายต่อการได้ยิน เดซิเบลเอ(dBA) เป็นหน่วยวัดความดังเสียงที่ใกล้เคียงกับการ ตอบสนองต่อเสียงของหูมนุษย์ TWA : time weighted average เป็นค่าเฉลี่ยระดับความดังเสียงตลอด ระยะเวลาการสัมผัสเสียง สิ่งคุกคามทางกายภาพ(Physical health hazards)
  • 12. เสียงแบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1.เสียงดังแบบต่อเนื่อง ( Continuous Noise) -เสียงดังต่อเนื่องแบบคงที่ ลักษณะเสียงดังที่มีระดับเสียงเปลี่ยนแปลง ไม่เกิน 3 dBA เช่น เสียงพัดลม -เสียงดังต่อเนื่องแบบไม่คงที่ ลักษณะเสียงดังที่มีระดับเสียงเปลี่ยนแปลง เกิน 10 dBAเช่น เสียงเจียร 2.เสียงดังเป็นช่วง ๆ ( Intermittent Noise) เป็นเสียงที่ดังไม่ต่อเนื่องดังเป็น ระยะ เช่น เสียงเครื่องบินบินผ่าน 3.เสียงดังกระทบหรือกระแทก (Impact Noise) เป็นเสียงที่เกิดขึ้นและสิ้นสุด อย่างรวดเร็วในเวลาน้อยกว่า 1 วินาที มีการเปลี่ยนแปลงของเสียง มากกว่า 40dBA
  • 13. อันตรายจากเสียงดังและผลกระทบต่อสุขภาพ สูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราว (Temporary hearing loss) สูญเสียการได้ยินแบบถาวร (Permanent hearing loss) เกิดการเปลี่ยนแปลงการทางานของร่างกาย รบกวนการพูด การสื่อความหมาย และกลบเสียงสัญญาณต่างๆ ช่วงความถี่ที่มนุษย์ได้ยิน 20 –20000 เฮิรตซ์ การสูญเสียการได้ยิน จะเริ่มที่ความถี่ 4000 เฮิรตซ์
  • 15. การควบคุมอันตรายจากเสียง ควบคุมที่แหล่งกาเนิด (Source Control) ต่ากว่า 85 dBA ควบคุมทางผ่าน ระหว่างแหล่งกาเนิดไปยังคน ควบคุมที่ผู้รับ โดยการใส่ PPE
  • 16. แสงสว่าง (Light) ไม่ต่ากว่ามาตรฐานที่กาหนดไว้ในพรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2549 เรื่อง กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน เกี่ยวกับความ ร้อน แสงสว่าง และเสียง นั่งทางานหน้าจอคอมพิวเตอร์ควรมีแสงสว่างที่เหมาะสมไม่เกิน 500 LUX ควรพักสายตาทุก 15นาที เมื่อทางานติดต่อกันเกิน 2 ชม. สิ่งคุกคามทางกายภาพ(Physical health hazards)
  • 17. ความสั่นสะเทือน (Vibration) ความถี่ 2-100 เฮิร์ท เช่น ขับรถบรรทุก รถไถ ความถี่ 20-1000 เฮิร์ท เช่นงานขุดเจาะขนาดใหญ่ ค้อนทุบ เครื่องตัด เลื่อยไฟฟ้า เครื่องขัดถูพื้นหินขัด ผลกระทบต่อสุขภาพ มีผลต่อกระดูกโครงสร้าง การเคลื่อนไหว รบกวนการหลั่งน้าย่อย ตัวอย่างโรค Hand -arm Vibration Syndrome นิ้วซีดขาวจาก การบีบเกร็งของหลอดเลือด สิ่งคุกคามทางกายภาพ (Physical health hazards)
  • 18. รังสี (Radiation) แหล่งพลังงานที่ปล่อยออกมาจาก แหล่งกาเนิดโดยผ่านตัวกลางหรืออากาศใน รูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และรวมถึง อนุภาคต่างๆที่ปล่อยออกมาจากนิวเคลียส ของอะตอมของธาตุกัมมันตรังสีตลอดจน รังสีคอสมิกที่มาจากนอกโลก สิ่งคุกคามทางกายภาพ (Physical health hazards)
  • 19. รังสีมี 2 ชนิด รังสีแตกตัว หรือกัมตภาพรังสี -แหล่งธรรมชาติ เช่น แสงจากดวงอาทิตย์ รังสีคอสมิก - มนุษย์สร้างขึ้น เช่น รังสีแอลฟา รังสีเบต้า รังสีแกมมานามาใช้ ในโรงพยาบาลในรูปแบบที่แตกต่างกัน เช่น รังสีเอ๊กซ์ หรือรังสีแกมม่า ได้แก่ การวินิจฉัยโรค การรักษาโรค การฉายรังสีเพื่อรักษาโรคผิวหนัง เวชศาสตร์นิวเคลียร์ในขั้นตอนการวินิจฉัยและรักษา การเตรียมยาและ ผลิตยา รังสีไม่แตกตัว เช่นรังสีอุลตราไวโอเลต อินฟราเลด แสงแดด คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์ เรด้า เรเซอร์
  • 20. • ผลเฉียบพลัน การได้รับปริมาณรังสีที่ก่อให้เกิดการแตก ตัวทาให้ผิวหนังบวมแดง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน อ่อนเพลีย หมดสติ • ผลเรื้อรัง ทาให้เกิดการกลายพันธุ์ของยีนส์ การปลี่ยน แปลงของโครโมโซม การแบ่งตัวของเซลล่าช้า และเซลถูกทาลาย ผลกระทบต่อสุขภาพ (ปริมาณมากกว่า 100 Roentgens)
  • 21. ผลกระทบต่อสุขภาพ 1) รังสีอัลตราไวโอเลท (แสง UV) ทาให้ตาแดง เยื่อบุในชั้นตาดาอาจถูก ทาลาย ผิวหนังอักเสบ คัน สัมผัสเป็นเวลานานทาให้เกิดมะเร็งผิวหนัง 2) รังสีจากหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ ทาให้เกิดความเมื่อยล้าของสายตา ปวดศีรษะ 3) รังสีอินฟาเรด (IR) ทาให้ตาบอด ผิวหนังไหม้ 4) อัลตราซาวด์ ทาให้คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหู มึนงง อ่อนเพลีย สูญเสียการได้ ยินชั่วคราว 5) เลเซอร์ เกิดอันตรายต่อกระจกตาและเลนส์ตา มีผลต่อผิวหนัง 6) ไมโครเวฟ เกิดอันตรายต่อตา ระบบประสาทส่วนกลางและระบบสืบพันธุ์
  • 22. การป้องกันและควบคุม 1) ให้ความรู้กับบุคลากร ที่ทางานเกี่ยวข้องกับรังสีที่ไม่แตกตัว เน้น เรื่องอันตรายและการป้องกัน 2) การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายขณะทางาน เช่น สวมแว่นตา นิรภัย ป้องกัน แสง UV, แสง IR, เลเซอร์ 3) มีการตรวจสอบเครื่องมือ อุปกรณ์ทางการแพทย์ และการ บารุงรักษา เพื่อป้องกันการรั่วไหลของรังสี 4) ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทางานและตรวจประจาปี โดยเน้นการ ตรวจตาและผิวหนัง
  • 23. หมายถึง: สิ่งแวดล้อมการทางานที่มีเชื้อจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรีย รา ไวรัส ปาราสิต เป็นต้น ซึ่งอาจแพร่มาจากผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อที่มารับ การรักษาพยาบาล และเกิดการแพร่เชื้อสู่ผู้ปฏิบัติงานได้  โรคติดเชื้อ: ได้แก่ วัณโรค, ไวรัสตับอักเสบ, HIV, Legionellosis ที่เกิด จากเชื้อLegionella pneumophilia พบใน air conditioning อาชีพที่เสี่ยง: บุคลากรทางการแพทย์ พยาบาลที่ทางานใน โรงพยาบาล ,พนักงานเก็บขยะ ,พนักงานเก็บสิ่งปฏิกูล ,พนักงานซัก ล้าง/ทาความสะอาด/เวรเปล, เจ้าหน้าที่ห้องLABสิ่งคุกคามทางชีวภาพ (Biological Health Hazards)
  • 24. หมายถึง สิ่งแวดล้อมการทางานที่มีการใช้สารเคมีในขั้นตอนใดขั้นตอน หนึ่งของกระบวนการทางาน และมีโอกาสเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ ผู้ปฏิบัติงาน Routes of Exposure –Inhalation –Skin contact –Eye contact สิ่งคุกคามทางเคมี (ChemicalHealth Hazards)
  • 25. ผลกระทบต่อสุขภาพ 1) เกิดการขาดอากาศหายใจ 2) เกิดการระคายเคือง 3) เกิดอันตรายต่อระบบการสร้างโลหิต 4) เกิดอันตรายต่อระบบประสาท 5) อันตรายต่อระบบหายใจ 6) เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม 7) เกิดมะเร็ง
  • 26. การจัดการข้อมูลสารเคมีที่ใช้ •มีการจัดเก็บข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีที่ใช้ที่เรียกว่า Material Safety Data Sheet (MSDS) • เก็บไว้อยู่ในแต่ละแผนก/หน่วยที่มีการใช้สารเคมี และมีอยู่ที่ ศูนย์รวมข้อมูลเคมีภัณฑ์ที่ใช้ทั้งหมด
  • 27. การป้องกันและควบคุม • การป้องกันที่แหล่งกาเนิดของสารเคมี • การป้องกันที่ทางผ่านของสารเคมี • การป้องกันที่ตัวบุคคล หรือผู้รับ
  • 28. การป้องกันที่แหล่งกาเนิดของสารเคมี 1) เลือกใช้สารเคมีที่มีอันตรายน้อยกว่าแทน 2) แยกกระบวนการทางานที่มีการใช้สารเคมีออกต่างหาก 3) จัดให้มีที่ปกปิดแหล่งของสารเคมีให้มิดชิด 4) ติดตั้งระบบดูดอากาศเฉพาะที่ 5) บารุงรักษาอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพที่สะอาด ปลอดภัยพร้อมใช้ 6) จัดเก็บสารเคมีที่ถูกต้องปลอดภัย
  • 29. การป้องกันทางผ่านของสารเคมี 1)การรักษาสถานที่ทางานให้สะอาด ไม่เป็นที่สะสมของฝุ่น สารเคมี ซึ่งสามารถฟุ้งกระจายได้เมื่อมีลมพัด 2) ติดตั้งระบบระบายอากาศทั่วไป เช่น ประตู ช่องลม หน้าต่าง ระบายอากาศ หรือมีพัดลมช่วย 3) การเพิ่มระยะห่างของแหล่งกาเนินสารเคมีกับผู้ปฏิบัติงาน
  • 30. การบริหารจัดการ 1) ตรวจหาระดับหรือความเข้มข้นของสารเคมี 2) ลดชั่วโมงการทางานกับสารเคมีอันตรายให้สั้นลง 3) มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนผู้ปฏิบัติงาน 4) ตรวจสุขภาพร่างกายของบุคลากร 5) บริเวณที่มีการใช้สารเคมี ควรมีก๊อกน้า อุปกรณ์การปฐม พยาบาลเบื้องต้น
  • 31. การป้องกันที่บุคคล 1)ให้ความรู้ อบรมบุคลากร ให้ทราบถึงอันตรายจากสารเคมี วิธีการใช้และการป้องกัน 2) การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล แต่ละชนิดที่ เหมาะสมกับงาน
  • 32. หมายถึง สิ่งคุกคามสุขภาพที่เกิดขึ้นจากท่าทางการทางานที่ ผิดปกติ หรือฝืนธรรมชาติ Ergonomics คาที่มาจากภาษากรีก “ergon” แปลว่า งาน (work) “nomos” แปลว่า กฎตามธรรมชาติ (Natural Laws) รวมกันเป็นคาว่า“ergonomics” หรือ“laws of work” ที่แปลว่ากฎของงาน ซึ่งเป็นศาสตร์ หรือวิชาการที่เป็นการปรับเปลี่ยนสภาพงานให้ เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน สิ่งคุกคามทางการยศาสตร์ (Ergonomics)
  • 33. ประโยชน์ของการยศาสตร์ 1. ช่วยลดความผิดพลาดที่เกิดขึ้นในการทางาน 2. ลดอุบัติเหตุจากการทางาน 3. ความเมื่อยล้าจากการทางานลดลง 4. ก่อให้เกิดความพึงพอใจในการทางาน 5. ก่อให้เกิดการเพิ่มผลผลิตในงาน 6. ลดค่าใช้จ่ายในการควบคุมงานรวมถึงการฝึกอบรม
  • 34. สิ่งคุกคามทางการยศาสตร์ ที่พบบ่อย การยก เคลื่อนย้ายผู้ป่วย หรือวัสดุ สิ่งของอย่างไม่ เหมาะสม การยืนทางานเป็นเวลานาน การนั่งทางานเป็นเวลานาน
  • 35. ผลกระทบต่อสุขภาพ เกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง (Musculoskeletal disorders: MSDs) • โรคปวดหลังส่วนบั้นเอว (Low back pain) • เอ็นอักเสบ (Tendinitis) • เอ็นและปลอกหุ้มอักเสบ (Tenosynovitis) • กลุ่มอาการอุโมงค์คาร์ปาล (Carpal Tunnel Syndrome: CTS)
  • 36. การป้องกันและแก้ไขปัญหา 1) หลักการทั่วไปในการยก เคลื่อนย้ายวัสดุ สิ่งของ หรืออุปกรณ์ เครื่องใช้ 2) ใช้โต๊ะที่สามารถปรับระดับได้เพื่อเกิดความเหมาะสมกับผู้ใช้งาน 3) จัดให้มีราวพิงหลัง หรือที่พักเท้า กรณีที่ต้องยืนทางาน 4) เมื่อต้องยืนทางานเป็นระยะเวลานานบนพื้นแข็งควรใช้แผ่นยาง หรือพรมรองพื้นที่มีความนุ่ม 5) จัดวางเครื่องมือ วัตถุดิบ และวัสดุอื่นๆ บนโต๊ะทางานตาม ความถี่ของการใช้งาน
  • 37. หมายถึง สิ่งแวดล้อมในการทางานที่สามารถก่อให้เกิดสภาวะเครียด เนื่องมาจากจิตใจหรืออารมณ์ที่ได้รับความบีบคั้น มีผลให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ซึ่งมีสาเหตุ “การเกิดความรู้สึกเบื่อหน่ายต่องาน การเกิดความกดดันจากสภาพงานที่ไม่เหมาะสม การเกิดอุบัติเหตุจากปัญหาจิตวิทยาสังคม” สิ่งคุกคามทางจิตวิทยาสังคม (Psychosocial health hazards)
  • 38. ผลกระทบต่อสุขภาพ • ทาให้เบื่ออาหาร เกิดแผลอักเสบในกระเพาะอาหาร • เกิดความผิดปกติด้านจิตใจ ปวดศีรษะ ข้างเดียว นอนไม่หลับ • อารมณ์แปรปรวน ส่งผลต่อสัมพันธภาพภายในของครอบครัว และสังคม • กระทบต่อทัศนคติ และพฤติกรรม การติดต่อสื่อสารกับผู้ป่วย และเพื่อนร่วมงาน
  • 39. 1) จัดให้มีกิจกรรมคลายเครียด 2) จัดให้มีการทางานเป็นกะอย่างเหมาะสม และมีจานวนทีมงานที่ เพียงพอ 3) ปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทางานให้น่าอยู่ น่าทางาน 4) ผู้ที่ทาหน้าที่ควบคุม กากับงาน ควรมีความยืดหยุ่นและยอมรับ ฟังความคิดเห็น 5) จัดภาระงานให้เหมาะสมกับความสามารถของผู้รับผิดชอบงาน การแก้ปัญหาด้านจิตสังคม
  • 40. ความหมายของโรคจากการทางาน โรคจากการทางานหรือโรคจากการประกอบอาชีพ (Occupational Diseases) หมายถึง โรคหรือความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งมี สาเหตุโดยตรงจากการทางานที่สัมผัส (Exposure)กับสิ่งคุกคาม (Hazard) หรือสภาวะแวดล้อมในการทางานที่ไม่เหมาะสม โดย อาการเจ็บป่วยอาจเกิดขึ้นขณะปฏิบัติงาน หลังเลิกงาน หรือ ภายหลังที่ออกจากงานไปแล้ว
  • 41. โรคเกี่ยวเนื่องกับการทางาน (Work-related diseases) หมายถึง โรคหรือความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นซึ่งเป็นผลโดยอ้อม จากการทางาน สาเหตุปัจจัยประกอบหลายอย่างประกอบ (Multi-factorial disease)ไม่เกิดจากสารเคมีหรืออันตรายจาก การทางานโดยตรง แต่สารเคมีหรือวิธีการทางานนั้นๆ ทาให้ โรคที่เป็นอยู่เดิมนั้นเป็นมากขึ้น
  • 42. โรคจากสิ่งแวดล้อม (Environmental diseases) มีหลักการเกิดโรคเช่นเดียวกับโรคจากการทางาน คือมีสิ่ง คุกคามมาสัมผัสกับร่างกายคน ทาให้เกิดโรคขึ้น เพียงแต่ เปลี่ยนจากสิ่งคุกคามที่อยู่ในงานมาเป็นสิ่งแวดล้อมที่อยู่ใน สิ่งแวดล้อมแทน
  • 43. ปัจจัยที่ทาให้เกิดโรคฯ ปัจจัยที่สาคัญ 3 ประการ คือ 1. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวเหตุของโรค 2. ปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวผู้ประกอบอาชีพ 3. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสังคม เศรษฐกิจและ สิ่งแวดล้อมอื่นๆ
  • 44. เกณฑ์การวินิจฉัยโรคจากการทางาน (1) 1. การวินิจฉัยโรคจากการทางานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1.1 มีหลักฐานทางการแพทย์แสดงการเจ็บป่วยดังนี้ - เวชระเบียน - ผลและรายงานการชันสูตรต่างๆที่เกี่ยวกับโรค - ใบรับรองแพทย์ - ความเห็นของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ 1.2 มีการวินิจฉัยแยกสาเหตุอื่นๆ ของการเจ็บป่วย ซึ่งอาจทาให้เกิดการ เจ็บป่วยแบบเดียวกัน (Differential Diagnosis)
  • 45. เกณฑ์การวินิจฉัยโรคจากการทางาน (2) 1.3 มีประวัติหรือหลักฐานอื่นแสดงถึงการได้รับสิ่งคุกคามทั้งในงานและ นอกงาน 1.4 มีอาการหรืออาการแสดงครั้งแรก (Onset) เกิดหลังจากการสัมผัส (Exposure) และมีระยะเวลาก่อโรครายบุคคล (Induction Time) 2. นอกจากหลักฐานที่กาหนดไว้ตามข้อ 1 แล้ว อาจใช้หลักเกณฑ์ข้อใดข้อ หนึ่งประกอบการวินิจฉัยโรคได้ดังนี้ 2.1 การวินิจฉัยด้วยการรักษาทางการแพทย์พิสูจน์สาเหตุของโรค 2.2 อาการป่วยบางระยะสัมพันธ์กับการสัมผัสสิ่งแวดล้อมที่มีปัจจัย คุกคามในพื้นที่สงสัย
  • 46. เกณฑ์การวินิจฉัยโรคจากการทางาน (3) 2.3 อาการป่วยบางระยะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น เมื่อเว้นจากสิ่งแวดล้อมที่เป็น ภัยคุกคาม 2.4 มีผู้ป่วยในกลุ่มผู้สัมผัสลักษณะเดียวกันมากกว่าหนึ่งรายหรือมีรายงานการ สอบสวนทางระบาดวิทยาสนับสนุน 2.5 สอดคล้องกับการศึกษาหรือรายงานในคนและสัตว์ก่อนหน้านี้ 3. หลักเกณฑ์การวินิจฉัยโรคให้อ้างอิงเอกสารทางการขององค์การ อนามัยโลก(WHO) องค์การแรงงานโลก(ILO) และเกณฑ์สากลของ องค์กรระหว่างประเทศที่เป็นที่ยอมรับตามลาดับและจะต้องเป็นฉบับ ปัจจุบัน
  • 47. ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่องกาหนดชนิด ของโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่องจาก การทางานพ.ศ. 2550 มี จานวนทั้งหมด 80 โรค (1) 1. เบริลเลียม หรือสารประกอบของ สารเบริลเลียม 2. แคดเมียม หรือสารประกอบของ แคดเมียม 3. ฟอสฟอรัส หรือสารประกอบ ของฟอสฟอรัส 4. โครเมียม หรือสารประกอบของ โครเมียม 5. แมงกานีส หรือสารประกอบของ แมงกานีส 6. สารหนู หรือ สารประกอบของ สารหนู 7. ปรอท หรือสารประกอบของ ปรอท 8. ตะกั่ว หรือสารประกอบของสาร ตะกั่ว 9. ฟลูออรีนหรือสารประกอบของ ฟลูออรีน 10. คลอรีนหรือสารประกอบของ คลอรีน
  • 48. โรคพิษสารหนู (Arsenic poisoning) The effects of arsenic in drinking water Skin damage of slow arsenic poisoning in one Bangladesh victim.
  • 49. โรคพิษตะกั่ว (Leadpoisoning) อาการพิษตะกั่ว : เส้นตะกั่วที่เหงือก(Lead line) : ชาจากเส้นประสาทเสื่อม : ข้อมือตก : โลหิตจาง พบ Basophilic stripping: ปวดท้องบิด(Colicky pain) : ไตเสื่อม ไตวาย เป็นหมัน
  • 50. พิษจากสารปรอท วันที่ 27 กรกฎาคม 2556 เกิดอุบัติเหตุน้ามันดิบรั่วไหลจากเรือบรรทุกน้ามันสัญชาติโอมาน ระหว่างกาลังถ่ายน้ามันดิบลงทุ่น กลางทะเล เพื่อส่งเข้าคลังน้ามันของบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากัด (พีทีทีซีจี) ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จ.ระยอง เบื้องต้นระบุว่า มีน้ามันกว่า 5 หมื่นลิตรรั่วไหลลงสู่ทะเล ยิ่งไปกว่านั้นกระแสน้าที่เชี่ยวกรากได้พัดคราบน้ามัน กระจายออกไปทั่วบริเวณอย่างน้อย 15 กิโลเมตรอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะคราบน้ามันที่เคลื่อนตัวเข้าหมู่เกาะเสม็ด บริเวณ ชายหาดอ่าวพร้าวและหาดบ้านเพ ทาให้หาดทรายสีขาวสวยงามกลายเป็นหาดสีดาส่งกลิ่นเหม็นแสบจมูกในทันที
  • 51. 11. แอมโมเนีย 12. คาร์บอนไดซัลไฟด์ 13. สารฮาโลเจน ของสารไฮโดรคาร์บอน 14. เบนซิน หรือสารอนุพันธ์ของเบนซิน 15. อนุพันธ์ไนโตรและอะมิโนของเบนซิน 16. ซัลเฟอร์ไดอ๊อกไซด์ หรือกรดซัลฟูริค 17. ไนโตรกลีเซอรีนหรือกรดไนตริคอื่นๆ 18. แอลกอฮอล์กลัยคอล หรือคีโตน 19. คาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ 20. อะครัยโลไนไตรล์ 21. อ๊อกไซด์ของไนโตรเจน 22. วาเนเดียมหรือสารประกอบของวาเนเดียม 23. พลวงหรือสารประกอบของพลวง 24. เฮกเซน 25. กรดแร่ที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคฟัน 26. เภสัชภัณฑ์ 27. ทัลเลียม หรือสารประกอบของทัลเลียม 28. ออสเมียม 29. เซเลเนียม 30. ทองแดง 31. ดีบุก 32. สังกะสี 33. โอโซน ฟลสยีน 34. สารทาให้ระคายเคือง เช่น เบนโซควินโนน หรือสารระคายเคืองต่อกระจกตา เป็นต้น 35.สารกาจัดศัตรูพืช 36. อัลดีไฮด์ ฟอร์มาลดีไฮด์และกลูตารัลดีไฮด์ 37. สารกลุ่มไดออกซิน 38. สารเคมีหรือสารประกอบของสารเคมีอื่น บัญชีรายชื่อโรคจากการทางาน(2)
  • 52. พิษจากตัวทาละลาย (Solvent) สารพิษ "โทลูอีน" ที่ระเบิดในโรงงานของ บ.บีเอสที อิลาสโตเมอร์ส ภายในนิคม อุตสาหกรรมมาบตาพุด เมื่อวันที่ 5 พ.ค.2555 ทาให้มีผู้เสียชีวิตในที่เกิดเหตุทันที 12 คน และบาดเจ็บกว่า 140 คน
  • 53. พิษจากแก็ส (Gas) 10 มิถุนายน2556 โรงไฟฟ้าชีวมวล จ.ตรัง ก๊าซรั่วสาเหตุจากเตาเผาที่เล็ก เกินไป เมื่อมีเชื้อเพลิงมากเกินไปทาให้การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ และต้องใช้ แรงงานคนขึ้นไปเขี่ย ทาให้สูดดมก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์จานวนมากจน เสียชีวิต วันที่ 17 ก.ค.57 สารบิวทิล อะคลิเลต (Butyl acrylate) รั่วไหลจากบริเวณท่าเรือแหลม ฉบัง อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี เกิดแก๊สฟุ้งกระจาย จน ต้องอพยพชาวบ้านในชุมชนบ้านนาใหม่ และ นักเรียนใกล้เคียงออกจากพื้นที่ โดยมีผู้ป่วยที่สูด ดมแก๊สและเกิดอาการแสบตา แสบจมูก คลื่นไส้
  • 54. โรคที่เกิดจากสาเหตุทางกายภาพ 39. โรคหูตึงจากเสียง 40. โรคจากความสั่นสะเทือน 41. โรคจากความกดดันอากาศ 42. โรคจากรังสีแตกตัว 43. โรคจากรังสีความร้อน 44. โรคจากแสงอัลตราไวโอเลต 45. โรคจากรังสีไม่แตกตัวอื่นๆ 46. โรคจากแสงหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 47. โรคจากอุณหภูมิต่าหรือสูงผิดปกติมาก 48. โรคที่เกิดจากสาเหตุทางกายภาพอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องจากการทางาน 49. โรคที่เกิดจากสาเหตุทางชีวภาพ ได้แก่ โรคติด เชื้อหรือโรคปรสิตเนื่องจากการทางาน โรคระบบหายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทางาน 50. โรคกลุ่มนิวโมโคนิโอสิส เช่น ซิลิโคสิส แอสเบส โทสิส ฯลฯ 51. โรคปอดจากโลหะหนัก 52. โรคบิสสิโนสิส 53. โรคหืดจากการทางาน 54. โรคปอดอักเสบภูมิไวเกิน 55. โรคซิเดโรสิส 56. โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 57. โรคปอดจากอะลูมิเนียม 58. โรคทางเดินหายใจส่วนบนเกิดจากสารภูมิแพ้ หรือสารระคายเคืองในที่ทางาน 59. โรคระบบหายใจอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุ เนื่องจากการทางาน บัญชีรายชื่อโรคจากการทางาน(3)
  • 55. โรคจากรังสีก่อไอออน (Ionizing radiation) อุบัติเหตุจากรังสีโคบอลต์-60 ที่ร้านรับซื้อ ของเก่า จังหวัดสมุทรปราการเมื่อปี พ.ศ. 2543 ทาให้บุคคลที่ร่วมกันแยก ชิ้นส่วนเครื่องมือแพทย์ที่เลิกใช้งานแล้ว รวมทั้งเจ้าของร้านรับซื้อของเก่าพร้อม ลูกจ้างได้รับรังสีและป่วยรวม10 ราย ใน จานวนนั้นมีผู้เสียชีวิต 3 ราย 2 เม.ย.57 เกิดเหตุสลดกรณีคนงาน ร้านรับซื้อของเก่าชื่อ "แบนด์ รีไซเคิล" ย่านถนนลาดปลาเค้า กทม. อาจหาญ ใช้แก๊สตัดเหล็ก "ลูกระเบิด" สมัย สงครามโลกครั้ง 2
  • 56. โรคผิวหนังที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทางาน 60. โรคผิวหนังที่เกิดจากสาเหตุทาง กายภาพ เคมี หรือชีวภาพอื่นซึ่งพิสูจน์ ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องจากการทางาน 61. โรคด่างขาวจากการทางาน 62. โรคผิวหนังอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุ เนื่องจากการทางาน 63.โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้าง กระดูกที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทางาน หรือสาเหตุจากลักษณะงานที่จาเพาะ หรือมีปัจจัยเสี่ยงสูงในสิ่งแวดล้อม การทางาน บัญชีรายชื่อโรคจากการทางาน(4)
  • 57. โรคด่างขาวจากการทางาน พบผู้ป่วยโรคด่างขาวที่อาเภอจอมทองจังหวัดเชียงใหม่ มากผิดปกติ จากการ สอบถามข้อมูลพบว่าผู้ป่วยทั้งหมดเป็นเกษตรกร โดยเริ่มมีอาการของโรค ด่างขาวหลังจากทาการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรที่เพิ่งจะพ่นยาฆ่าแมลง โดยเฉพาะในกลุ่มของเกษตรกรที่เพาะปลูกพืชผักหรือทาสวนลาไย แสดงว่า การได้รับยาฆ่าแมลงเนื่องจากวิธีการใช้ที่ไม่ถูกต้องนั้นส่งผลให้เกิดการ ทาลายเซลล์เม็ดสีในชั้นผิวหนังจนทาให้ผู้ป่วยเป็นโรคด่างขาว
  • 59. โรคมะเร็งที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทางาน โดยมีสาเหตุจาก 64. แอสเบสตอส(ใยหิน) 65. เบนซิดีนและเกลือของสารเบนซิดีน 66. บิสโครโรเมทธิลอีเทอร์ 67. โครเมียมและสารประกอบของโครเมียม 68. ถ่านหิน 69. เบต้า–เนพธีลามีน 70. ไวนิลคลอไรด์ 71. เบนซีนหรืออนุพันธ์ของเบนซีน 72. อนุพันธ์ของไนโตรและอะมิโนของเบนซีน 73. รังสีแตกตัว 74. น้ามันดินหรือผลิตภัณฑ์จากน้ามันดิน เช่น น้ามันถ่านหิน น้ามันเกลือแร่ รวมทั้ง ผลิตภัณฑ์จากการกลั่นน้ามัน เช่น ยางมะ ตอย พาราฟินเหลว 75. ไอควันจากถ่านหิน 76. สารประกอบของนิกเกิล 77. ฝุ่นไม้ 78. ไอควันจากเผาไม้ 79. โรคมะเร็งที่เกิดจากปัจจัยอื่นซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามี สาเหตุเนื่องจากการทางาน 80. โรคอื่นๆ ซึ่งพิสูจน์ได้ว่าเกิดขึ้นตามลักษณะ หรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทางาน บัญชีรายชื่อโรคจากการทางาน(5)
  • 61. โรคจากการทางานอื่นๆ (ยังไม่มีกาหนดในบัญชีรายชื่อโรคจากการทางานไทย) กลุ่มอาการป่วยจากอาคาร (Sick building syndrome; SBS) โรคภูมิแพ้สารเคมี (Multiple chemical sensitivity;MCS) โรคจากการทางานออฟฟิศ (Office syndrome) โรคตาจากการทางานกับคอมพิวเตอร์ (Computer vision syndrome ) โรคทางานหนักจนตาย (Karoshi disease) การฆ่าตัวตายจากการทางาน (Suicide) ทางานหนักจนเส้นเลือดหัวใจตีบ (Myocardial infarction)
  • 62. อุบัติเหตุจากการทางานอื่นๆ หินเจียรแตก หมองูตายเพราะงู แท่นพิมพ์ดูดแขนคนงาน ไฟฟ้าแรงสูง มือติดในเครื่องบด ท่อนเหล็กเสียบหัว
  • 63. ตัวอย่างกรณีทางสิ่งแวดล้อมในไทย เสียงดังรอบสนมบินสุวรรณภูมิ ตะกั่วปนเปื้อนน้าที่ห้วยคลิตี้ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี มลพิษรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จ.ระยอง แคดเมียมปนเปื้อนข้าวที่ห้วยแม่ดาว อ.แม่สอด จ.ตาก แก็สซัลเฟอร์ไดออกไซด์โรงไฟฟ้าถ่านหิน อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง ไฟไหม้โกดังเก็บเอกสารที่ท่าเรือคลองเตย กรณีภัยพิบัติสีนามิ ที่จังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามัน
  • 64. Thank You Do you have any Questions ?