SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 86
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เพื่อลดข้อขัดแย้ง
ในระบบการแพทย์และสาธารณสุข
2
สิทธิของประชาชนตาม พ.ร.บ.
เข้ารับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน และมีประสิทธิภาพตามที่กาหนดโดย พ.ร.บ.นี้
ประเภท/ขอบเขตตาม คกก. กาหนด (มาตรา 5)
เลือกหน่วยบริการประจา / เปลี่ยนหน่วยบริการประจาได้ ตามขอบเขตที่กาหนด (
มาตรา 6 )
รับบริการที่หน่วยบริการประจา ยกเว้น...อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉินหรือ เหตุสมควร
สามารถเข้าที่สถานบริการอื่น นอกเหนือจากหน่วยบริการประจาได้ ( มาตรา 7 )
สิทธิว่าง ใช้สิทธิครั้งแรกที่หน่วยบริการใดก็ได้ ( มาตรา8)
3
สิทธิของประชาชนตาม พ.ร.บ.
ร้องเรียน เมื่อ..ได้รับบริการที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ได้รับความสะดวกตามสมควร ไม่ได้
รับบริการตามสิทธิ ถูกเรียกเก็บเงิน ( มาตรา 57, 59 )
ขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น เมื่อ.. เกิดความเสียหายจากการ เข้ารับบริการ (
มาตรา 41)
มติ ครม.20 เม.ย.2558 อนุมัติงบประมาณปี 2559
4
มติ ครม.เศรษฐกิจ 16 เม.ย. 2558
5
รายงานผลการตรวจสอบของ คตร. วันที่ 15 พ.ค.2558
ตรวจพบความบกพร่องในการบริหารจัดการเงินกองทุนฯ มีการใช ้จ่ายเงินผิดวัตถุประสงค์ ไม่เป็นไป
ตาม พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ใน 6 ประเด็น
ประเด็นที่ 1 การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว
– การช่วยเหลือเบื้องต ้นผู้ให ้บริการ (จ่ายไม่ได ้ เพราะ พรบ.หลักประกันฯ ไม่กาหนดวัตถุประสงค์ และไม่ได ้ให ้
อานาจ)
– การนาเงินค่าบริการเหมาจ่ายไปใช ้เป็นค่าใช ้จ่ายในกรณีอื่นที่ขัดต่อวัตถุประสงค์ตามกฎหมาย (ไม่ให ้เป็นค่าใช ้จ่าย
ประจาในกิจการของโรงพยาบาล เช่น ค่าจ ้างลูกจ ้างชั่วคราว,ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของจนท.
ค่าตอบแทนภาระงาน ค่าสาธารณูปโภค ค่าจ ้างเหมาบริการ ค่าพัฒนาบุคลากร(ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางประชุม/อบรม))
ประเด็นที่ 2. เงินค่าเสื่อม
– การมอบอานาจการบริหารจัดการเงินค่าเสื่อม ระดับหน่วยบริการไม่ครบถ ้วน
– การใช ้จ่ายเงินค่าเสื่อมขัดต่อวัตถุประสงค์ตามกฎหมาย (นาไปจัดหา ปรับปรุง และซ่อมแซมสิ่งก่อสร ้างและครุภัณฑ์
ที่มิได ้ใช ้ในการให ้บริการโดยตรง)
ประเด็นที่ 3 บริการสร ้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
– การจ่ายเงินให ้กับหน่วยงานหรือองค์กรที่ไม่มีสิทธิได ้รับตามกฎหมาย
– การใช ้จ่ายเงิน PP ของ สสจ.ขัดต่อวัตถุประสงค์ตามกฎหมาย (กก.หลักประกันฯ ยังไม่กาหนดประเภทและขอบเขต
ในการให ้บริการ PP และพบว่าหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการนาไปใช ้ดาเนินโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ
หลายรายการ เป็นเหตุให ้เสียหายแก่กองทุนฯ และประชาชนเสียโอกาสที่จะได ้รับการบริการที่มีคุณภาพได ้
มาตรฐานทางการแพทย์)
ประเด็นที่ 4 เงินช่วยเหลือเบื้องต ้นกรณีผู ้รับบริการได ้รับความเสียหาย (ให ้ไล่เบี้ยตาม ม.42)
ประเด็นที่ 5 การจ่ายเงินค่าตอบแทนที่เกี่ยวกับการล ้างไตผ่านช่องท ้อง ขัดต่อวัตถุประสงค์
ประเด็นที่ 6 มีผลประโยชน์จากการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์ (เสนอควรจ่ายให ้โรงพยาบาลในฐานะที่เป็น
สถานบริการสาธารณสุข)
ง
6
การดาเนินการต่อผลสอบของ คตร.
• นายกรัฐมนตรี มีบัญชาให ้รองนายกรัฐมนตรี (นายยงยุทธ ยุทธวงศ์) และ รมว.สธ.
พิจารณาดาเนินการแก ้ไขข ้อบกพร่องในทุกประเด็น ให ้แล ้วเสร็จใน 1 เดือน ทั้งนี้ใน
กรณีที่พบการทุจริต ต ้องหาผู้รับผิดชอบและพิจารณาลงโทษ ทั้งทางวินัย/อาญา และ
รายงานผลการปฎิบัติงานให ้นายกรัฐมนตรีทราบด ้วย
• มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ 3 ชุด เพื่อดาเนินการตามบัญชาของนายกรัฐมนตรี (ให ้
แล ้วเสร็จภายใน 12 มิ.ย.2558 ซึ่งขณะนี้กรรมการทั้ง 3 ชุด ได ้รายงานผลการ
ดาเนินการไปแล ้ว)
1) คาสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 130/2558 ลงวันที่ 2 มิ.ย.2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาประเด็นข ้อ
กฎหมายเพื่อสร ้างความชัดเจนในการบริหารจัดการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
2) คาสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 876/2558 ลงวันที่ 3 มิ.ย.2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ
ข ้อเท็จจริง (ตรวจสอบ ประเด็นค่าเสื่อม)
3) คาสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 87/2558 ลงวันที่ 3 มิ.ย.2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจการบริหาร
จัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ตรวจสอบ
ประเด็นที่ 6 มีผลประโยชน์จากการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์ )
• สปสช. ออกแนวทางปฏิบัติในประเด็นการดาเนินการบริหารเงนกองทุนฯ ปี 2558 ที่
เกี่ยวข ้องกับผลสอบของ คตร. ไว ้ก่อน จนกว่านายกรัฐมนตรีจะพิจารณารายงานผล
ของกรรมการทั้ง 3 ชุด แล ้วจึงจะกาหนดการดาเนินการต่อไป
พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545
• มาตรา 41
ให้คณะกรรมการกันเงินจานวนไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงิน
ที่จะจ่ายให้หน่วยบริการ ไว้เป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่
ผู้รับบริการ ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหาย
ที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการ โดยหา
ผู้กระทาผิดมิได้ หรือหาผู้กระทาผิดได้ แต่ยังไม่ได้รับ
ค่าเสียหายภายในระยะเวลาอันสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์
วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกาหนด
พพรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545
รบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545
• มาตรา 42
ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหาย ที่เกิดขึ้นจาก
การรักษาพยาบาลของหน่วยบริการ โดยหาผู้กระทาผิดได้
แต่ยังไม่ได้รับค่าเสียหายภายในระยะเวลาอันสมควรตาม
มาตรา 41 เมื่อสานักงานได้จ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น
ให้แก่ผู้รับบริการไปแล้ว สานักงานมีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่
ผู้กระทาผิดได้
หนังสือ สปสช. เรื่องติดตามการฟ้องร้องคดี กรณีมาตรา 41
สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน สอบถาม คณะกรรมการหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ เกี่ยวกับการจ่ายเงิน +
การไล่เบี้ยเอาแก่ผู้กระทาผิดตามมาตรา 41 ,42
มติที่ประชุมคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
เห็นชอบในหลักการ การพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ไม่ต้องรอพิสูจน์
ถูก-ผิด
การจะใช้สิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผู้กระทาผิดตามมาตรา 42 ได้
เมื่อมีคาวินิจฉัยหรือคาพิพากษาถึงที่สุดแล้ว
สปสช. แจ้งให้ติดตามและรายงานข้อมูลที่มีการฟ้องร้องคดีทุกกรณีที่เกี่ยวกับ
ความเสียหายที่เกิดจากการรักษาพยาบาล
สถานการณ์ความเสียหายที่ได้รับจากการรับ
บริการสาธารณสุข ในภาพรวมทั้งประเทศ
11
ความเป็ นมา.... ของมาตรา ๔๑
สานักกฎหมาย สปสช.
- ยื่นคาร้อง
ภายใน 90 วัน
- ตาย 80,000
- พิการ 50,000
- บาดเจ็บ 20,000
ข้อบังคับฯ ฉ.1
มีผล 10 มิ.ย.46
ข้อบังคับฯ ฉ.2
มีผล 25 พ.ค.47
ครอบคลุม
ความเสียหายก่อน
ออกข้อบังคับ ฉ.1
(19 พ.ย.45 –
9 มิ.ย.46)
ข้อบังคับฯ ฉ.3
มีผล 18 ธ.ค.47
ขยายเวลา
ยื่นคาร้องเป็ น 1 ปี
ข้อบังคับฯ
พ.ศ.2549
มีผล 1 ก.พ.49
ยกเลิกข้อบังคับฯ
เดิม ทั้ง 3 ฉบับ
- เพิ่ม ผู้อุปการะ
- เพิ่ม เหตุสุดวิสัย *
- เพิ่มวงเงิน
ตาย 200,000 บาท
พิการ 120,000 บาท
บาดเจ็บ 50,000 บาท
ข้อบังคับฯ
พ.ศ.2555
มีผล 1 ต.ค.55
ยกเลิกข้อบังคับฯ
ปี 49 (ยกเว้นกรณี
ความเสียหายเกิด
ก่อน 1 ต.ค.55 )
- เพิ่มวงเงิน **
ตาย 240,000-400,000
พิการ100,000-240,000
บาดเจ็บ ไม่เกิน 100,000
-ให้ทารกเสียชีวิตในครรภ์
เป็ นความเสียหาย 6(1)
- ให้อานาจ คกก.ควบคุม
เทียบเคียงกรณีความ
เสียหายอื่นๆ
12
*คกก.หลักประกันสุขภาพฯ มีมติครั้งที่ 6/2554 เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2554
ให้การทาหมันแล้วตั้งครรภ์เป็นเหตุสุดวิสัย
** มาจากคาพิพากษาปกครองสูงสุด
สานักกฎหมาย สปสช.
ประเภท 1 (240,000 - 400,000)
ความสัมพันธ์ของความเสียหาย
กับการรักษาพยาบาล
ระดับความรุนแรง
เสียชีวิต ทุพพลภาพ
ถาวร
เรื้อรัง
รุนแรง
พึ่งพา
ตลอดเวลา
ความเสียหายสัมพันธ์กับการ
รักษาพยาบาล และไม่สัมพันธ์กับ
โรคที่เจ็บป่ วย
400,000 400,000 320,000
–
360,000
ความเสียหายสัมพันธ์กับการ
รักษาพยาบาล และสัมพันธ์กับโรคที่
เจ็บป่ วย
360,000 320,000
–
360,000
280,000
–
320,000
ความเสียหายบางส่วนสัมพันธ์กับ
การรักษาพยาบาล
320,000 280,000
–
320,000
240,000
–
280,000
14สานักกฎหมาย สปสช.
ประเภท 2 (100,000 - 240,000)
ความสัมพันธ์ของความเสียหาย
กับการรักษาพยาบาล
ระดับความรุนแรงของผลกระทบ
จากพิการหรือเสียอวัยวะ
หรือเจ็บป่ วยเรื้อรัง
มาก ปานกลาง น้อย
ความเสียหายสัมพันธ์กับการ
รักษาพยาบาล และไม่สัมพันธ์กับโรค
ที่เจ็บป่ วย
240,000 216,000
–
240,000
100,000
–
216,000
ความเสียหายสัมพันธ์กับการ
รักษาพยาบาล และสัมพันธ์กับโรคที่
เจ็บป่ วย
216,000 192,000
–
216,000
100,000
-
192,000
ความเสียหายบางส่วนสัมพันธ์กับการ
รักษาพยาบาล
192,000 168,000
–
192,000
100,000
–
168,000
15สานักกฎหมาย สปสช.
ประเภท 3(ไม่เกิน 100,000)
ความสัมพันธ์ของความเสียหาย
กับการรักษาพยาบาล
การบาดเจ็บหรือเจ็บป่ วย
ต่อเนื่องต้องใช้เวลาและ
ค่าใช้จ่ายในการรักษาหรือฟื้นฟู
มาก ปานกลาง น้อย
ความเสียหายสัมพันธ์กับการ
รักษาพยาบาล และไม่สัมพันธ์กับ
โรคที่เจ็บป่ วย
100,000 90,000
–
100,000
ไม่เกิน
80,000
ความเสียหายสัมพันธ์กับการ
รักษาพยาบาล และสัมพันธ์กับโรคที่
เจ็บป่ วย
90,000 80,000
-
90,000
ไม่เกิน
70,000
ความเสียหายบางส่วนสัมพันธ์กับ
การรักษาพยาบาล
80,000 70,000
-
80,000
ไม่เกิน
60,000
16สานักกฎหมาย สปสช.
ปี944 รวมคำ
ร้อง
ไม่
เข้ำ
เกณฑ์
เข้ำเกณฑ์
(รำย)
เสียชีวิต
(รำย)
พิกำร
(รำย)
บำดเจ็บ
(รำย)
อุทธรณ์
(รำย)
ผลรวมกำร
พิจำรณำจ่ำย
(บำท)
2547 99 26 73 49 11 13 12 4,865,000
2548 221 43 178 113 29 36 32 12,815,000
2549 443 72 371 215 71 85 60 36,653,500
2550 511 78 433 239 74 120 59 52,177,535
2551 658 108 550 303 73 174 74 64,858,148
2552 810 150 660 344 97 219 67 73,223,000
2553 876 172 704 361 139 204 72 81,920,000
2554 965 182 783 401 141 241 114 92,206,330
2555 951 117 834 401 140 293 88 98,527,000
2556 1,182 187 995 533 125 337 98 191,575,300
2557 1,112 181 931 478 116 337 112 218,439,200
รวม 7,828 1,316 6,512 3,437 1,016 2,059 788 927,260,013
ภาพรวมผลการพิจารณาคาร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ปีงบประมาณ
2547 – 2557
อัตราการเพิ่มจานวนคาร้องตามมาตรา 41
ปีงบประมาณ 2547-2557
ปีงบประมาณ
จานวนคาร้อง
(ราย)
อัตราการ
เปลี่ยนแปลง
(ร้อยละ)
2547 99 -
2548 221 23.23
2549 443 100.45
2550 511 15.35
2551 658 28.77
2552 810 23.10
2553 876 8.15
2554 965 10.16
2555 951 -1.45
2556 1,182 24.29
2557 1,112 -5.92
0
200
400
600
800
1000
1200
99
221
443
511
658
810
876
965
951
1182
1112
จานวนคาร ้อง
07/12/58
กลุ่มงานพิทักษ์สิทธิ สานัก
กฎหมาย
จานวนคาร ้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต ้นทั้งหมด
ปีงบประมาณ 2547 - 2557
49
113
215
239
303
344 361
401 401
533
478
11
29
71 74 73
97
139 141 140
125 116
13
36
85
120
174
219
204
241
293 337 337
-
100
200
300
400
500
600
ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557
จานวน (ราย)
1. เสียชีวิต /ทุพลภาพถาวร 2. สูญเสียอวัยวะ /พิการ 3. บาดเจ็บ /เจ็บป่ วยต่อเนื่อง
ผลการพิจารณาของคอก.จังหวัดปี งบประมาณ 2557
จาแนกตามประเภทหน่วยบริการ
หน่วยบริการ คาร้อง
ไม่
เข้าเกณฑ์
เข้าเกณฑ์ (1) (2) (3)
จานวนเงิน
(บาท)
รพศ. 192 42 150 91 17 42 31,876,600
รพท. 296 47 249 137 42 70 50,704,800
รพช. 574 68 506 269 53 184 92,368,900
คณะแพทย์ 28 6 22 12 6 4 4,324,000
รพ.เอกชน 24 9 15 6 1 8 1,940,000
รพ.สต.,สอ. 34 5 29 6 3 20 2,479,000
สังกัด กทม. 8 2 6 4 - 2 1,220,000
สังกัด
กรมการแพทย์
9 4 5 2 - 3 640,000
คลินิก 2 - 2 1 - 1 410,000
รพ.สังกัด
เหล่าทัพ
5 2 3 2 1 - 600,000
อื่น ๆ 10 2 8 3 2 3 1,610,000
รวม 1,182 187 995 533 125 337 188,173,300
07/12/58
กลุ่มงานพิทักษ์สิทธิ สานักกฎหมาย
การจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ตามาตรา๔๑ ปี๒๕๕๘
เดือน คำร้อง(รำย) เข้ำเกณฑ์(รำย) จำนวนเงิน(บำท)
ตุลาคม 92 73 15,357,200
พฤศจิกายน 130 103 25,935,000
ธันวาคม 76 59 14.474,000
มกราคม 98 80 18,735,500
กุมภาพันธ์ 85 68 15,953,000
มีนาคม 53 41 9,749,600
เมษายน 62 48 12,884,000
พฤษภาคม 85 70 19,535,000
มิถุนายน 120 92 20,918,000
รวม 801 579 153,541,30021
สถานะคดี ศาลปกครอง
ชั้นต้น
ศาลปกครองสูงสุด รวม
อยู่ระหว่าง
ศาลพิจารณา
13 5 18
มีคาพิพากษา 8 1 9
รวม 21 6 27
ข้อมูลการฟ้ องคดี มาตรา 41
ตั้งแต่ปี 2549 ถึงปัจจุบัน
ผู้ถูกฟ้ องคดี จานวน (คดี)
คณะอนุกก. จังหวัด 17
คกก.ควบคุมคุณภาพฯ 25
คกก.หลักประกันฯ 2
สปสช. 19
หน่วยบริการ 1
รมต. 1
สสจ. 1
ผู้ถูกฟ้ องคดี
•
จานวนการฟ้ องคดี จังหวัดเชียงใหม่ หลังจากพิจารณา ม.41 ปีงบ 2549 - 2557
จานวนเรื่องที่พิจารณา
167 ราย
ไม่จ่าย 47 ราย จ่าย 120 ราย
ฟ้ องศาลปกครอง 4 คดี ฟ้ องศาลปกครอง 1 คดี ฟ้ องศาลแพ่ง 2 คดี
อยู่ภายใน
กระบวนการพิจารณา
3 คดี
ยกฟ้ อง1 คดี
คู่ความไม่อุทธรณ์
อยู่ในกระบวนการพิจารณา ศาลชั้นต้น
ตัดสินให้
จ่าย
ค่าเสียหาย
1 คดี
คู่ความไม่
อุทธรณ์
อยู่ใน
กระบวน
การ
พิจารณา
1 คดี
กรณีที่ 1 เจ็บข้อนิ้วมือเรื้อรังแพทย์วินิจััยรรคิิด
กรณีที่ 2 ิ่าตัดตาต้อกระจกล่าช้าแพทย์วินิจััยิิด
กรณีที่ 3 เสียชีวิตจากการติดเชื้อในกระแสเลือด
เท้าิิดรูป เดินไม่ถนัด
จากอุบัติเหตุรถชน
กระดูกแตก ิู้ร้องแจ้ง
ว่าแพทย์กลั่นแกล้ง
มีอาการคล้ายรปลิรอ
หลังัีดวัคซีนรปลิรอ
(ฟ้ อง สปสช./คณะอนุ ม.41)
ถูกรถชน รักษาไม่ทันเวลา
เกิดภาวะขาดเลือดไปเลี้ยง
ถูกตัดขา
มีอาการคล้ายรปลิรอ
หลังหยอดวัคซีนรปลิรอ
(ฟ้ องกระทรวง สธ./องค์การเภสัชฯ)
ข้อมูล ณ วันที่ 31 มี.ค 2557
สรุปคาพิพากษาศาลปกครองสูงสุด
คดีระหว่าง ผู้ฟ้ องคดี
กับ
สปสช. ผู้ถูกฟ้ องคดีที่ ๑
คณะกรรมการควบคุมคุณภาพฯ ผู้ถูกฟ้ องคดีที่ ๒
คดีดาที่ อ.๗๗๙/๒๕๕๓
คดีแดงที่ อ.๔๖/๒๕๕๗
07/12/58 25สานักฎหมาย สปสช.
เมื่อวันที่ ๒๓ มค. ๔๙ ผู้ฟ้ องคดีเป็ นสามีของผู้รับบริการ
นาผู้รับบริการเข้ารักษาที่โรงพยาบาลจังหวัด ด้วยอาการแน่น
หน้าอก ขณะเข้ารับรักษาผู้รับบริการยังเดินได้และพูดได้
ตามปกติ แต่ได้เสียชีวิตในวันเดียวกันนั้น โดยใบมรณะบัตรระบุ
เหตุที่ตายว่า เกิดจากภาวะหัวใจหยุดเต้นฉับพลัน ผู้ฟ้ องคดีเห็น
ว่า ผู้รับบริการเสียชีวิตเพราะแพทย์ไม่รีบตรวจและทาการรักษา
และไม่มีแพทย์ที่ชานาญการอยู่ที่ห้องฉุกเฉินในขณะนั้น
วันที่ ๑ กพ. ๔๙ ผู้ฟ้ องคดียื่นคาร้องขอรับเงินช่วยเหลือ
เบื้องต้นในกรณีการเสียชีวิตของผู้รับบริการ
คณะอนุกรรมการฯ จังหวัด มีมติให้จ่ายเงินช่วยเหลือ
เบื้องต้นแก่ผู้ฟ้ องคดีเป็ นเงินจานวน ๒๐,๐๐๐ บาท โดยให้
เหตุผลว่า ไม่เข้าหลักเกณฑ์การจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นแต่
เพื่อเป็ นการช่วยเหลือทางด้านศีลธรรมและบรรเทาความ
เดือดร้อนของครอบครัว ผู้ฟ้ องคดีได้รับเงินและอุทธรณ์คาสั่ง
ข้อเท็จจริง
07/12/58 26สานักฎหมาย สปสช.
คณะอนุกรรมการอุทธรณ์ฯ เสนอความเห็นต่อผู้ถูกฟ้องคดี
ที่ ๒ ให ้จ่ายเงินช่วยเหลือเพิ่มอีก ๖๐,๐๐๐ บาท รวมกับที่ได ้รับไปแล ้ว
๒๐,๐๐๐ บาท เป็ น ๘๐,๐๐๐ บาท โดยให ้เหตุผลว่า เกิดจากเหตุ
สุดวิสัยในระบบการให้บริการสาธารณสุข ซึ่งผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ได ้
มีมติเห็นชอบด ้วย
วันที่ ๑๑ ตค ๔๙ ผู้ฟ้องคดีได ้รับเงินแล ้ว เห็นว่าการจ่ายเงินไม่
เป็ นไปตามข ้อ ๖ (๑) ของข ้อบังคับฯซึ่งกาหนดไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐
บาท จึงฟ้อง สปสช.คดีต่อศาล ขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่ง
ให้ สปสช. ผู้ถูกฟ้ องคดีที่ ๑ จ่ายเงินที่เหลืออีก ๑๒๐,๐๐๐ บาท
และให ้ปฏิบัติตามข ้อบังคับโดยเคร่งครัดเพื่อเป็ นแบบอย่างของสังคม
ต่อไป
ศาลปกครองชั้นต ้นได ้กาหนดให้คณะกรรมการควบคุม
คุณภาพและมาตรฐานฯ เป็ นผู้ถูกฟ้ องคดีที่ ๒ เนื่องจากเป็ นผู้มี
อานาจในการวินิจฉัยอุทธรณ์
ข้อเท็จจริง (ต่อ)
07/12/58 27สานักฎหมาย สปสช.
คดีที่ 2
• ผู้ถูกฟ้ อง---รมว.สาธารณสุขจาเลยที่1 สปสช.จาเลยที่2 คกก.
หลักประกันฯจาเลยที่ 3 คกก.ควบคุมจาเลยที่ 4 อกก.เฉพาะกิจจาเลยที่
5 อกก.จังหวัดจาเลยที่ 6
• ข้อกล่าวหา---คลอดบุตร และบุตรเสียชีวิต
• มติ อกก.จังหวัด---เหตุแทรกซ้อน (20,000 บาท)
• มติ คกก.ควบคุม---ยกอุทธรณ์
• คาขอคดีปกครอง---ขอให้จ่ายเต็มอัตรา (200,000 บาท)
• ผลคดี---อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล
07/12/58 สานักฎหมาย สปสช. 28
คดีที่ 3
• ผู้ถูกฟ้ อง--- คกก.หลักประกันฯจาเลยที่ 1 คกก.ควบคุมจาเลยที่ 2
เลขาธิการจาเลยที่ 3 สานักงานสาขาจังหวัดจาเลยที่ 4 อกกก.จังหวัด
จาเลยที่ 5
• ข้อกล่าวหา---วินิจฉัยล่าช้าทาให้เสียชีวิต
• มติ อกก.จังหวัด---เป็นไปตามพยาธิสภาพ (ไม่จ่าย)
• มติ คกก.ควบคุม---ยกอุทธรณ์
• คาขอคดีปกครอง---ให้ชาระค่าเสียหาย ให้กาหนดหลักเกณฑ์ใหม่
• ผลคดี---อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล
07/12/58 สานักฎหมาย สปสช. 29
คดีที่ 4
• ผู้ถูกฟ้ อง---สปสช.จาเลยที่1 อกก.กรุงเทพฯจาเลยที่ 2 คกก.ควบคุม
จาเลยที่ 3
• ข้อกล่าวหา---รักษาไม่ได้มาตรฐานเป็นเหตุให้เสียชีวิตจากโรคมะเร็ง
• มติ อกก.จังหวัด---เป็นไปตามพยาธิสภาพ (ไม่จ่าย)
• มติ คกก.ควบคุม---ยกอุทธรณ์
• คาขอคดีปกครอง---ให้ผู้ถูกฟ้ องคดีชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
• ผลคดี---อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล
07/12/58 สานักฎหมาย สปสช. 30
คดีที่ 5
• ถูกฟ้ อง---สปสช.จาเลยที่1 อกก.กรุงเทพฯจาเลยที่ 2 คกก.ควบคุม
จาเลยที่ 3
• ข้อกล่าวหา---รักษาไม่ได้มาตรฐานเป็นเหตุให้อวัยวะเพศไม่คืนรูป
• มติ อกก.จังหวัด---ไม่ได้เกิดจากการรักษาพยาบาล (ไม่จ่าย)
• มติ คกก.ควบคุม---เกิดจากผู้รับบริการ (ไม่จ่าย)
• คาขอคดีปกครอง---ให้สปสช.ชดใช้ค่าเสียหาย (400,000 บาท)
• ผลคดี---อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล
07/12/58 สานักฎหมาย สปสช. 31
• เมื่อวันที่ 19 พ.ย.57 ที่ศาลนนทบุรี
นัดอ่านคาพิพากษาศาลฎีกา คดี
หมายเลขแดงที่ พ 1541/2549 ที่นาง
ดวงนภา มารดาของนายยงยุทธ ปันนิ
นา เป็นโจทก์ยื่นฟ้ องกระทรวง
สาธารณสุขในฐานะจาเลย ซึ่งเป็นต้น
สังกัดของโรงพยาบาลร้องกวาง จ.
แพร่ ได้ทาการรักษานายยงยุทธ
ผู้เสียหายผิดพลาด จนทาให้นายยง
ยุทธกลายคนพิการทุพลภาพ
07/12/58 สานักฎหมาย สปสช. 32
• ทั้งนี้ สืบเนื่องจาก เมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 47 นายยงยุทธ หรือ น้องโจ้ซึ่งขณะนั้นอายุ19 ปี เพิ่งสอบติด
คณะวิศวกรรมเครื่องกล ม.นเรศวร จ.พะเยา ได้ขับขี่มอเตอร์ไซค์ไปซื้อของและถูกรถกระบะเฉี่ยว
ชนล้มหมดสติ ก่อนจะถูกนาตัวส่ง รพ.ร้องกวางในเวลาต่อมา และถูกส่งตัวไปรักษาต่อที่ รพ.แพร่
โดยต้องพักรักษาตัวอยู่ในห้อง ICU นานถึง 27 วัน อาการสมองบวมจึงเริ่มดีขึ้น และสมองเริ่ม
ตอบสนอง ยกแขนขา เดินได้สื่อสารกับแม่และหมอได้ทานอาหารทางปาก พูดคาสั้น ๆ ได้เขียน
หนังสือ+นับเลขและแยกสีลูกบอลได้
• แต่ต่อมา ในวันที่ 13 ก.พ. 48 ทางแพทย์ที่ทาการรักษาได้ทาการถอดท่อหายใจที่คอออก โดยที่
อาการน้องโจ้ในขณะนั้น ยังไม่สามารถหายใจเองไม่ได้ทางแพทย์จึงใส่ท่อช่วยหายใจกลับคืนแต่
ต่อมาในวันที่ 14 ก.พ. 48 แพทย์ที่ทาการรักษากลับให้ถอดท่อหายใจอีกครั้ง โดยไม่ได้อยู่ดูแล
อาการต่อ ทาให้น้องโจ้ดิ้นทุรนทุราย เพราะหายใจไม่ออก แม้ว่า นางดวงนภาผู้เป็นแม่ที่เฝ้าดูแล
น้องโจ้จะตามพยาบาลมาดูอาการที่เกิดขึ้น หลังการถอดเครื่องช่วยหายใจที่คอก็ตาม แต่พยาบาล
กลับบอกว่า ปล่อยไว้สักพักเดี๋ยวก็หายใจได้เอง ทาให้น้องโจ้หัวใจหยุดเต้นในเวลาต่อมา และเมื่อ
ปั๊มหัวใจกลับคืนมาได้สมองก็ขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง และเกิดผลกระทบตามมา นอนไม่รู้ตัว
ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้แขนขาเกร็ง ทานอาหารเองไม่ได้ถ่ายอุจจาระ-ปัสสาวะไม่รู้ตัว
07/12/58 สานักฎหมาย สปสช. 33
ประเด็นสาคัญทางคลินิกที่พบบ่อย
34
สูติฯ มารดา
100 ราย
8.99%
สูติฯ(ทารก
309 ราย
27.78%
อายุรกรรม
137 ราย
12.32%
ศัลยกรรม
184 ราย
16.54%
กุมาร
136 ราย
12.23%
ทาหมัน
94 ราย
8.45%
ศัลยกรรมกระดูก
41 ราย
3.68%
อื่นๆ
111 ราย
9.98%
ผลการพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต ้น
ปีงบประมาณ 2557
จาแนกตามแผนกที่เข ้ารับบริการ
คาร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ปี งบประมาณ 2557
กรณีเข้ารับบริการคลอดและทาหมัน
สำเหตุของควำมเสียหำย จำนวน(รำย) สัดส่วน (ร้อยละ)
ทำหมันแล้วตั้งครรภ์ 94 48.45
บำดเจ็บจำกกำรคลอด 14 7.21
น้ำคร่ำอุดกั้นในปอด/กระแสเลือด 14 7.21
ตกเลือดหลังคลอด/ตัดมดลูก 32 16.49
ผิดพลำดจำกกำรคลอด 5 2.57
มดลูกแตก 4 2.06
ภำวะแทรกซ้อนจำกโรคเดิม/โรคจำกกำร
ตั้งครรภ์/พยำธิสภำพของโรค
16 8.24
อื่นๆ 15 7.73
รวม 194 100.0007/12/58
กลุ่มงานพิทักษ์สิทธิ สานัก
กฎหมาย
คำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ปีงบประมำณ 2557
กรณีเข้ำรับบริกำรคลอดบุตร (ควำมเสียหำยของทำรกแรกเกิด)
สาเหตุของความเสียหาย จานวน(ราย) ร้อยละ
ภำวะขำดออกซิเจน, RDS, aspiration, IPPH 88 33.08
คลอดติดไหล่ 78 29.32
สำยสะดือพันคอ/สำยสะดือย้อย 19 7.14
บำดเจ็บจำกกำรคลอด 7 2.63
คลอดก่อนกำหนด 3 1.12
ติดเชื้อในกระแสเลือดหลังคลอด 11 4.13
พิกำรแต่กำเนิด 2 0.75
รกลอกตัวก่อนกำหนด 3 1.12
ภำวะแทรกซ้อนจำกโรคของมำรดำ 2 0.75
ทำรกเสียชีวิตในครรภ์ 36 13.53
สมองพิกำรพัฒนำกำรช้ำ 17 6.39
รวม 266 100.00
คาร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ปี งบประมาณ 2557
เหตุผลในการพิจารณา
ไม่
เข้าเกณฑ์
เข้าเกณฑ์ (1) (2) (3)
สัมพันธ์กับการรักษา
และไม่สัมพันธ์กับโรค
- 79 35 13 31
สัมพันธ์กับการรักษา
และสัมพันธ์กับโรค
- 214 121 31 62
เหตุสุดวิสัย - 520 252 63 205
บางส่วนสัมพันธ์กับการรักษา - 118 70 9 39
พยาธิสภาพของโรค 129 - - - -
ไม่ได้เกิดจากการรักษาพยาบาล 37 - - - -
ไม่ใช่ผู้มีสิทธิตาม พ.ร.บ. 9 - - - -
ยื่นคาร้องเกิน 1 ปี /ก่อน พ.ร.บ. 6 - - - -
รวม 181 931 478 116 337
9
ตัวอย่างความเสียหาย
จากรับบริการ
 ลืมเข็มเย็บแผลไว ้ในช่องคลอดหลังทาคลอด
 หลังผ่าตัดต ้อกระจก ติดเชื้อ ตาบอด
 แจ ้งผลเลือดผิดพลาด false positive
 อุบัติเหตุในโรงพยาบาล
เปลหนีบ ตกเตียง
โดนของร ้อนลวก...พาราฟิน ข ้าวต ้มลวกมือเด็ก
 ผ่าตัดผิดที่ ถอนฟันผิดซี่
 เจาะปอดผิดข ้าง ให ้เลือดผิดกรุ๊ป
 ให ้ยาผิดวิธี... สั่งพ่น... แต่เอาไปฉีด
 ใส่ยาผิดซอง
หน้าซองลดความดัน(Enalapril)
ในซองยาเบาหวาน (Glipizide)
กรณีช่วยกันพิจารณา
40
การวินิจฉัย
• ผู้ป่วยหญิงอายุ ๕๙ มาตรวจที่แผนกฉุกเฉิน รพช.ด้วยอาการปวดท้อง
กลางสะดือ ปวดเป็นพักๆ ได้รับการตรวจให้ยาโรคกระเพาะอาหาร กลับ
บ้านแล้วอาการไม่ดีขึ้นมีอาการปวดท้องและถ่ายเหลวร่วมด้วย จึงมา
ตรวจอีกครั้ง ได้รับยาแก้ปวดฉีดเข้ากล้ามเนื้อและผงเกลือแร่กลับบ้าน
แต่กลับไปแล้วปวดมากขึ้น จึงไปโรงพยาบาลเอกชน
การให้ยา
• ชายอายุ๖๖ ปี รับไว้รักษาเพื่อให้ยาปฏิชีวนะ หลังให้ยาหมด ผู้ป่วยได้รับการ
ฉีด Ventolin ๑:๓ จานวน ๔ ซี.ซี เข้าหลอดเลือดเพื่อล้างสายยาง หลังฉีดยา
ผู้ป่วยมีอาการใจสั่น แน่นหน้าอก ให้ยาอมใต้ลิ้น ตรวจEKG ปกติ
• ที่จริงคนไข้ควรได้รับ ๕%DW ๕c.c.
• ทารกเพศหญิงอายุ๑วัน คลอดปกติ น้าหนักแรกคลอด ๓.๐๘๐ กรัม Apgar
score ๑๐,๑๐,๑๐ หลังคลอดได้รับยาขยายหลอดลม (Bricanyl) ขนาด ๐.๑ mg
ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง หลังฉีดทารกมีอาการหายใจเร็ว๑๘๐-๑๙๐ ครั้ง/นาที ปลาย
มือปลายเท้าเขียว ย้ายไปแผนกเด็กสังเกตอาการ จนอาการดีขึ้น แพทย์ให้กลับ
บ้านได้
แต่เด็กควรได้ฉีดวัคซีนป้องกันวัณโรค แต่พยาบาล หยิบเข็มฉีดยาของผู้ป่วยเด็ก
อื่น
42
แพ้ยา
• ผู้ป่วยชาย อายุ ๕๑ ปี มารับการตรวจที่ รพสต. มีประวัติตรวจพบเป็น
ผู้ป่วย HIV แพทย์ให้ยาต้านไวรัสARV(Combid,GPO vir-Z) หลัง
รับประทานยา ๒ วันผู้ป่วยมีผื่นคันตามตัว มีตุ่มพุพองบริเวณริมฝีปาก
และตาอักเสบทั้งสองข้าง ส่งต่อ รพช.
• ผู้ป่วยหญิงมีอาการผื่นแดงคันทั่วตัวและหายใจไม่สะดวก หลัง
รับประทานยา Dimenhydrinate จานวน ๑ เม็ดจากประวัติผู้ป่วยมาตรวจ
ด้วยอาการเวียนศรีษะ หน้ามืด ตาลาย คลื่นไส้ อาเจียนไม่ออก
จากประวัติการรักษาผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยาแก้เวียนศรีษะแต่ไม่ทราบชนิด
เทคนิคการปฏิบัติ
• ผู้ป่วยหญิง เข้ารับบริการด้วยอุบัติเหตุล้มก้นกระแทกพื้น ได้รับยา
Dicofenac ฉีดเข้าสะโพก และยาแก้ปวดไปรับประทาน ผู้ป่วยกลับมาอีก
ครั้งด้วยอาการชาที่ขา เดินไม่ได้ขาอ่อนแรงและปลายเท้าซ้ายตก
• ผู้ป่วยหญิงอายุ ๖๐ ปี เป็นใบ้และมีโรคประจาตัวโรคลมชักและจิตเวช
เข้ารับบริการด้วยอาการไข้และไอ รับไว้รักษาเวลา ๒๔.๐๐น.เจ้าหน้าที่
ได้ยินเสียงตุ๊บ พบผู้ป่วยนอนอยู่บนพื้น
• ผู้ป่วยชายอายุ๘๘ ปี เป็นโรคความดันโลหิตสูง เข้ารับบริการด้วยอาการ
แน่นหน้าอก ญาติเรียก ๑๖๖๙ ไปรับที่บ้าน ขณะเคลื่อนย้ายออกจากบ้าน
ผู้ป่วยตกเตียงเคลื่อนย้าย
• ผู้ป่วยหญิงอายุ ๑๘ ปี ครรภ์แรก อายุครรภ์ ๔๐ สัปดาห์ คลอดบุตร
ปกติ มาตรวจตามนัดหลังคลอดแผลแยก แผลฝีเย็บมีการติดเชื้อ
น้าคาวปลามีกลิ่นเหม็น มีไข้ต่า ตรวจพบผ้ากอ๊สค้างอยู่ในช่องคลอด๔
ชิ้น
ประเด็นกฎหมายเชิงวิชาชีพ
46
ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล
โทษทางอาญา
โทษทางแพ่ง
(ละเมิด)
โทษในฐานะ
ผู้ประกอบวิชาชีพ
ป.อ. ม.291ประมาท
เป็นเหตุให้ผู้อื่น
เสียชีวิต หรือ ปอ.ม. 297
(ทาร้ายร่างกายเป็นเหตุให้
ได้รับอันตรายสาหัส),
ปอ.ม. 300 (ประมาทเป็นเหตุให้
ได้รับอันตรายสาหัส), ปอ.ม. 390
(ประมาทเป็นเหตุให้ได้รับอันตราย
แก่กายหรือจิตใจ) เป็นต้น
ป.พ.พ. ม.420
1. กระทำโดยจงใจ/ประมำท
2. หน้ำที่ต้องกระทำแต่
งดเว้นไม่กระทำ
3. กระทำให้บุคคลอื่นเสีย
หำยแก่ชีวิต,ร่ำงกำย,อนำมัย,
เสรีภำพ,ทรัพย์สิน
พระราชบัญญัติ
วิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์
พ.ศ.2528,
ฉบับที่ 2พ.ศ. 2540
(ว่ากล่าว ตักเตือน
พักใช้ เพิกถอน)
ควำมรับผิดทำงกฎหมำย
1.ความรับผิดทางแพ่ง (ชดใช้ค่าเสียหาย)
2.ความรับผิดทางอาญา (จาคุก/ปรับ)
3.ความรับผิดทางวินัย (ภาคทัณฑ์
ตัดเงินเดือน ปลดออก ไล่ออก)
4.ความรับผิดในการประกอบวิชาชีพ
(พักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต)
กฎหมายที่มีผลต่อการพยาบาล
• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
มาตรา 80 (2) (ปัจจุบันยกเลิก ของใหม่ยังไม่ออก)
• พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
มาตรา 47
• พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.
2545 มาตรา 5
• พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง
ครรภ์ พ.ศ. 2528 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2540
กฎหมายที่มีการเปลี่ยนแปลงและกาลัง
• กฎกระทรวง กาหนดลักษณะของสถานพยาบาลและลักษณะการ
ให้บริการของสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๘
• พระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๖
• พระราชบัญญัติยา
• พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจากบริการรับบริการสาธารณสุข
กฎหมายใหม่ว่าด้วยการอานวยความสะดวกในการ
พิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 เปิ ด
ช่องฟ้ องวินัยและแพ่งข้าราชการขี้เกียจ ดึงเรื่อง พูดไม่
ไพเราะ เริ่มบังคับใช้ 21 กรกฎาคม 2558
 นำง มันทำ ได้กระทำผิดวินัยไม่ร้ำยแรง ฐำนไม่ปฏิบัติหน้ำที่
รำชกำร กรณี ประมำทเลินเล่อให้เลือดผู้ป่วยผิดคน ทำให้ผู้ป่วย
ดังกล่ำวเกิดอำกำรแพ้เป็นกำรกระทำผิดวินัยไม่ร้ำยแรง ฐำนไม่
ปฏิบัติหน้ำที่รำชกำร ตำม ตำม มำตรำ๘๔ วรรคหนึ่งแห่ง
พระรำชบัญญัติระเบียบรำชกำรพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงโทษดัด
เงินเดือน ๓ เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลำ ๑ เดือน
 ผู้ป่วยมาด้วยอุบัติเหตุ ศรีษะฟาดพื้นสลบไป๕นาที มาถึง รพ.เวลา ๑๘.๐๐ น พูดได้
ต่อมามีอาการอาเจียนเป็นเลือด พยาบาลบอกว่าไม่เป็นอะไร
 เวลา ๒๒.๐๐ ผู้ป่วยเริ่มสับสน ความรู้สึกตัวลดลง ญาติเข้าไปคุยกับพยาบาล
พยาบาลแจ้งว่าไม่เป็นไรแต่ไม่ได้เข้ามาดูคนไข้ ญาติจึงขอย้ายไปโรงพยาบาลเอกชน
พยาบาลบอก”ถ้าอยากไป ก็ต้องเซ็นอกสารไม่ยอมอยู่” ญาติจึงเซ็นชื่อ พยาบาลมา
บอกอีกว่า “รถโรงพยาบาลไม่ส่งนะ ให้ไปเอง “ จากนั้นพยาบาลถอดน้าเกลือและชุด
คนไข้ออก และพูดว่า “ถ้าผู้ป่วยเป็นอะไรทางโรงพยาบาลไม่รับผิดชอบนะ”
 ญาติรีบนาผู้ป่วยไปเองถึงโรงพยาบาลเอกชน ใช้เวลาเดินทาง ๒๐ นาที แพทย์แจ้งว่า
มาช้า มีเลือดออกทั่วสมองแล้ว รพ.เอกชน จึงส่งตัวไปโรงพยาบาลศูนย์ ใช้
เครื่องช่วยหายใจ ต่อมาผู้ป่วยเสียชีวิต
 นางสาว สุดตา ไปคลอดที่ โรงพยาบาล ล.พบนาง สมฤทัย พูดว่า”มา
ปวดท้องอะไรเวลาคนจะนอน” หลังเข้าห้องคลอดไปได้ประมาณ ๑ ชม.
พยาบาลมาบอกญาติว่า”ปากมดลูกเปิด ๘ เซนติเมตร”ขณะนั้นมีลม
เบ่ง พยาบาลบอกอย่าเบ่ง รอแพทย์ใหญ่ก่อน แต่ตนทนไม่ไหวพยาบาล
ทาคลอด และพยาบาลเอาเด็กมาวางโดยไม่ดูดน้าคร่าบอกให้รอแพทย์
ก่อน เมื่อแพทย์มาพบเด็กสาลักน้าคร่าต้องส่งตัวเด็กไปดูอาการที่
โรงพยาบาลอุทัยธานีและปล่อยเด็กทิ้งไว้อีก๑ ชั่วโมงกว่าจะส่งตัวไป
โรงพยาบาลจังหวัด พบว่าเด็กสาลักน้าคร่าเข้าปอด จนทาให้ติดเชื้อ
และให้ญาติทาใจ ในที่สุดเด็กเสียชีวิต
นำง ธำรำ พยำบำลวิชำชีพ ถูกนำยพิมุก กล่ำวหำ ผู้ป่วยเข้ำ
รับกำรรักษำที่รพ. ด้วยอำกำรเลือดออกไม่หยุดหลังจำกไป
ถอนฟันจำกคลินิกแห่งหนึ่ง แพทย์สั่งให้ใช้อะดรีนำลินแพ็ค
ด้วยวำจำ ตำนำงธำรำ นำอะดรีนำลินฉีดเข้ำเส้นเลือดดำ
บริเวณข้อพับ ทำให้ผู้ร้องมีอำกำรกระสับกระส่ำย หัว
ใจเต้นแรง หำยใจไม่ออก
 กระทำผิดวินัย ในกรณีเจตนำดีในกำรดูแลรักษำพยำบำลผู้ป่วย
ไม่ต้องกำรให้ผู้ป่วยใช้มือดึงลวดมัดฟันออก เพรำะกำรดึงลวด
ทำให้ปำกเกิดบำดแผล จึงให้ผู้ช่วยเหลือคนไข้จับมือผู้ป่วยใน
ท่ำกำมือและใช้ผ้ำยำงยืดพันมือโดยรอบ๑ ม้วน หลังพันผู้ป่วย
ยังคงพยำยำมคลำยมืออก จึงได้ใช้ผ้ำยำงยืดพันทับอีก๑ ม้วน
ไม่ได้รำยงำนหัวหน้ำเวร กำรพันดังกล่ำวผิดมำตรฐำนวิชำชีพ
ไม่ได้คลำยผ้ำทุก ๑-๒ ชั่วโมง รวม ๔๑ ชั่วโมง เป็นเหตุให้เลือด
ไปเลี้ยงมือไม่พอ มือทั้ง๒ ข้ำงบวม จนในที่สุดถูกตัดนิ้วมือ
บริเวณปลำยนิ้วนำง และนิ้วก้อยไปครึ่งนิ้ว
 กระทำผิดวินัยร้ำยแรงฐำนปฏิบัติหน้ำที่ด้วยควำมไม่เอำใจใส่
ระมัดระวังประโยชน์ของรำชกำร ประมำทเลินเล่อในหน้ำที่
รำชกำร ตำมมำตรำ ๘๔ วรรคหนึ่ง
 นางสาวนุ้ย ตาแหน่ง พยาบาลวิชาชีพ 7 โรงพยาบาลชุมชน ได ้
ปฏิบัติงานเวรเช ้า เวลาประมาณ 11.30 น. เพื่อนร่วมงานได ้บอกว่า
ยา Ampicilin สาหรับฉีดให ้ผู้ป่ วยเวลาเที่ยงไม่พอหนึ่งคน นางสาว
นุ้ย จึงได ้ไปขอยืมยา Ampicilin จากตึกผู้ป่ วยข ้างเคียง โดยหยิบ
ขวดยาผิด เป็นยา Chloramphenical ซึ่งลักษณะสีของขวดยา
Chloramphenical จะเหมือนกับขวดยา Ampicilin นางสาวนุ้ย
นาไปฉีดให ้ผู้ป่ วยแล ้ว ผู้ป่ วยมีอาการขมคอมากและปวดมาก บริเวณ
ที่ฉีดมีอาการแดง มีผื่นขึ้นบริเวณที่ฉีด แต่คนไข ้ไม่ได ้รับอันตราย
รุนแรงและไม่ติดใจเอาความหรือเรียกร ้องค่าเสียหายใดๆ
 พฤติการณ์ของนางสาวนุ้ย ดังกล่าว เป็นความผิดวินัย
อย่างไม่ร ้ายแรง ฐานไม่เอาใจใส่ระมัดระวัง และประมาทเลินเล่อใน
การปฏิบัติหน้าที่ราชการ ตามมาตรา 84 วรรคหนึ่ง แห่ง
พระราชบัญญัติระเบียบข ้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 ลงโทษ
ภาคทัณฑ์
กำรจัดกำรเมื่อถูกดำเนินคดี
• วันที่ ๓ ก.ค. นาง เนตรดาว ถูกงูกัด ญาตินาส่งรพ. เวลา ๑๖.๓๐
น ผู้ป่วยและญาติแจ้งว่าถูกงูเขียวหางไหม้กัด เวลา ๑๗.๓๐ น. รับ
ไว้ใน รพ. แพทย์เจ้าของไข้กาลังผ่าตัดไส้ติ่ง เวลา ๑๙.๐๐ น.
พยาบาล ไปตรวจพบผู้ป่วยหลับอยู่เรียกไม่ตื่น ช่วยฟื้นคืนชีพ ต่อ
เครื่องช่วยหายใจ จนวันที่ ๔ ก.ค. เสียชีวิต เวลา ๑๖.๔๐ น
• ยื่นฟ้องละเมิด กระทรวง ค่าเสียหาย ๔๐๐,๐๐๐ บาท
• วันที่ ๑๕ ด.ญ. รุ่งอรุณ ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติหตุ ขาซ้ายหัก แบบชนิดปิด รพ.
รับไว้รักษาในตึกิู้ป่ วยใน
• วันที่ ๑๖ เวลา ๙.๐๐น. แพทย์มาดูอาการ เอ็กซเรย์ ดึงกระดูกแบบถ่วงน้าหนักด้วย
ถุงทราย
• วันที่ ๑๗ เวลา ๙.๐๐ น แพทย์มาดูอาการ พบนิ้วเท้าและหลังเท้าของิู้ป่ วยมีสีเขียว
มากขึ้น ส่งต่อ
• รพศ พบว่าเส้นเลือดแดงบริเวณแข็ง มีลิ่มเลือดอุดตัน แสดงว่าขาดเลือดมากกว่า ๖
ชม.ต้องตัดขาข้างซ้าย
• ฟ้ องละเมิด กระทรวงสาธารณสุข ๘,๔๓๑,๘๐๐ บาท
ควรจะจัดการระบบการดูแลอย่างไรในอนาคต
65
การเสนอร่างกฎหมาย
1. กระทรวงสาธารณสุข
- มีคาสั่งที่ ๑๖๙๐/๒๕๕๗ ลว.๒๐ พ.ย.๕๗ แต่งตั้ง
“คณะทางานศึกษาปัญหาอุปสรรคและแนวทางการ
เยียวยาผลกระทบหรือคามเสียหายจาการให ้หรือการรับ
บริการสาธารณสุข”
- คทง.ฯได ้ยกร่าง “พ.ร.บ.กองทุนคุ้มครองผู้ได ้รับ
ผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....” เพื่อ
เตรียมเสนอต่อ สนช.
- ดาเนินการรับฟังความคิดเห็น ภาคส่วนต่าง ๆ
2. คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) ได ้ปรับปรุง “ร่าง
พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
พ.ศ. ....”ของภาคประชาชน และได ้เสนอต่อ สภาปฏิรูป
แห่งชาติ (สปช.)
หลักการที่สาคัญของร่างกฎหมาย
1.คุ้มครองทั้งผู้ให ้บริการ และ ผู้รับบริการ
2.ครอบคลุมทั้ง 3 กองทุน(สปสช., สปส., ข ้าราชการ)
3.คุ้มครองโดยการจ่ายเงินชดเชยความเสียหาย และไม่
รอนสิทธิเดิมที่มีอยู่
4.จ่ายเงินโดยไม่มีการพิสูจน์ถูกผิด
5. ยื่นคาขอภายใน 3 ปี นับแต่รู้ถึงความเสียหายแต่ไม่เกิน
10 ปี
6. กรณีที่ผู้ยื่นคาขอได ้รับเงินชดเชยไปแล ้ว ต ้องสละสิทธิ
เรียกร ้องทางแพ่ง
7. กรณีพิจารณาจ่ายเงินชดเชยแล ้ว แต่ไม่ตกลงรับและไป
ฟ้องเป็นคดีต่อศาล ก็จะยุติการดาเนินการ และไม่มีสิทธิ
ยื่นคาขอได ้อีก
มาตรา ๔๑
ช่วยเหลือเบื้องต้น
สิทธิฟ้ องคดียังคงอยู่
กฎหมายใหม่
 ผู้ให้ + ผู้รับ
รับเงินแล้วยุติแพ่ง
บังคับทุกรายเข้าสู่
กระบวนการ
ฟ้ องกองทุน
ความเสียหายจากการรักษาพยาบาล
เกณฑ์การรับเงินชดเชย
ผู้เสียหาย(ได้รับผลกระทบ) มีสิทธิได้รับเงินชดเชยจากกองทุนโดยไม่
ต้องพิสูจน์ความรับผิด
ยกเว้น
(๑) ความเสียหาย(ผลกระทบ)เกิดขึ้นตามปกติ
ธรรมดาของโรค
(๒) หลีกเลี่ยงไม่ได้จากการให้หรือการรับบริการ
สาธารณสุขตามมาตรฐานวิชาชีพ
การพิจารณาจ่ายเงินชดเชย
ส่งคาขอภายใน 7 วัน
คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชย
พิจารณาภายใน 30 วัน ขยายเวลาได้ไม่เกิน 2 ครั้งๆละ15 วัน
อุทธรณ์ได้ตามกฎหมาย
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
จ่ายบางส่วน จ่ายทั้งหมด
ไม่รับ
เงินชดเชย
ฟ้ องกองทุน
ทาสัญญาประนีประนอมยอมความและ
ยุติคดีแพ่ง
ยื่นภายใน 3 ปีนับแต่วันที่รู้
แต่ไม่เกิน 10 ปีนับแต่วันที่เกิด
สานักงานผู้เสียหายหรือทายาท
ไม่รับคาขอ
รับคาขอ
รับเงินชดเชย
การฟ้ องคดี
ฟ้ องผู้ให้บริการหรือหน่วยงานไม่ได้
ฟ้ องกองทุน หรือ สานักงาน
เมื่อมีการฟ้ องร้อง
จะยุติการดาเนินการ และไม่มี
สิทธิยื่นได้อีก
ร่างกสธ. ร่าง คปก.
การพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้ องกันผลกระทบ
• วิเคราะห์สาเหตุแห่งผลกระทบ
• พัฒนาระบบความปลอดภัย
• สร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดี
คกก.หรือหน่วยงาน
ที่คกก.มอบหมาย
• ดาเนินกิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาความ
ปลอดภัย
• จัดระบบการไกล่เกลี่ย
ให้สานักงานสนับสนุน
สถานพยาบาล/หน่วยงาน/
องค์กร
• พัฒนาระบบความปลอดภัยและป้ องกัน
ผลกระทบ (อาจลดอัตราจ่ายเงินสมทบได้)
สถานพยาบาลเอกชน
หมวด๕ หน่วยบริการและมาตรฐานบริการ
• มาตรา ๔๔ ให้สานักงานจัดให้มีการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ
• มาตรา ๔๕ หน่วยบริการมีหน้าที่ดังนี้
–ให้บริการสาธารณสุข
–ให้ข้อมูลกับิู้รับบริการ
–ให้ข้อมูลชื่อแพทย์
–รักษาความลับของิู้รับบริการ
–จัดทาระบบข้อมูล
เรียนรู้สิ่งใหม่ ใส่ใจในทุกสถานการณ์
กลไกป้ องกันความเสียหาย
ความ
เสียหาย
พัฒนาระบบคุณภาพ
บริการ
การสื่อสาร
ทาความเข้าใจ
ความคาดหวังต่อ
การรักษา
• ผู้บริหารและพยาบาลต ้องรู้
กฎหมาย
• เรียนรู้จากสิ่งที่เกิดขึ้นมาทบทวน
• หมั่นส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
ทั้งกับผู้รับบริการและทีมงาน
การแก้ไขปัญหาทาอย่างไร
บทบาทผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน
• รู้จักขอโทษ (การขอโทษไม่ได ้แปลว่าผิด)
• พูดคุยและสร ้างสัมพันธภาพ ช่วยเหลือก่อนบานปลาย
• เอาใจเขามาใส่ใจเรา เมื่อเกิดเหตุล ้วนสูญเสีย
• เข ้าไปช่วยให ้ได ้รับการคุ้มครองสิทธิ (เมื่อต ้องได ้ ม๔๑)
• ต ้องสร ้างเครือข่าย และรู้จักใช ้เพื่อนเพื่อลดความรุนแรง
• เยียวยาคนของเราที่ขวัญเสีย
• ทบทวนให ้แน่ใจว่าทาทุกอย่างได ้มาตรฐานแล ้วจริง
สำนักกฎหมำย สปสช.
ผู้ประกอบวิชาชีพ มืออาชีพ
• มีพฤติกรรมแห่งความรู้ของผู้ประกอบวิชาชีพ
• มีความรู้ในเนื้อหาของวิชาชีพ
อะไรควรทา อะไรพึงทา และอะไรไม่ควรทา
• มีความรู้ ในกฎหมาย ที่เกี่ยวข ้อง
• มีบทบาทในการปกป้องคุ้มครองผู้รับบริการให ้ได ้บริการที่มี
คุณภาพมาตรฐาน
• มีสามัญสานึกการมีส่วนร่วม
แผนภูมิโครงสร้างและอัตรากาลัง กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข
240,565
ขรก. – 201,751
พรก. – 9,696
ลจป. – 29,118
สานักงานรัฐมนตรี
34
ขรก. - 26
พรก. - 1
ลจป. - 7
กลุ่มภารกิจ
ด้านพัฒนาการแพทย์
กรมการแพทย์
11,830
ขรก. – 9,275
พรก. - 707
ลจป. – 1,848
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ทางเลือก
226
ขรก. - 189
พรก. - 35
ลจป. - 2
กลุ่มภารกิจ
ด้านพัฒนาการสาธารณสุข
กรมควบคุมโรค
5,894
ขรก. – 3,173
พรก. - 883
ลจป. – 1,838
กรมอนามัย
3,777
ขรก. – 2,149
พรก. - 493
ลจป. – 1,135
พนักงานกระทรวงสาธารณสุข/ลูกจ้างชั่วคราว
เงินงบประมาณ
เงินนอกงบประมาณ - 167,965
-
กรมสุขภาพจิต
5,240
ขรก. – 3,392
พรก. - 687
ลจป. – 1,161
กลุ่มภารกิจ
ด้านสนับสนุนงานบริการสุขภาพ
กรมสนับสนุน
บริการสุขภาพ
1,191
ขรก. -
896พรก. -
86ลจป. -
209
กรมวิทยาศาสตร์
การแพทย์
1,316
ขรก. –
1,021พรก. -
111ลจป. -
184
สานักคณะกรรมการ
อาหารและยา
679
ขรก. - 622
พรก. - 14
ลจป. - 43
สานักงานปลัดกระทรวง
210,378
ขรก. – 181,008
พรก. – 6,679
ลจป. – 22,691
ข้อมูล ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557
ข้าราชการ
50%
ลูกจ้างประจา
6%
พนักงานราชการ
2%
พนักงานกระทรวง
สาธารณสุข
32%
ลูกจ้างชั่วคราว
10%
บุคลากรสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขแบ่งตามประเภทการจ้าง
Smart
• Strategy
• Structure
Manpower
Money
Moral
• Act
(Ethic)
• Action
• Relation
• Risk
• Respect
• Technology
MS A R T
สวัสดีค่ะ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552puangpaka
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...Utai Sukviwatsirikul
 
Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี
 Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินีnawaporn khamseanwong
 
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)Sakarin Habusaya
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Jaratpan Onghununtakul
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพsoftganz
 

La actualidad más candente (19)

กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
ความเข้มแข็ง
ความเข้มแข็งความเข้มแข็ง
ความเข้มแข็ง
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
Financing for Emergency patients
Financing for Emergency patientsFinancing for Emergency patients
Financing for Emergency patients
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
 
Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 
Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี
 Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ นักทัศนมาตร กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหาราชินี
 
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
 
Medical Law
Medical LawMedical Law
Medical Law
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557
 
Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56
 
Final ad ทศวรรษ
Final ad ทศวรรษFinal ad ทศวรรษ
Final ad ทศวรรษ
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 

Similar a เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ

ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์thaitrl
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Parun Rutjanathamrong
 
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...Sakarin Habusaya
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2patientrightsth
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมีUtai Sukviwatsirikul
 
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)taem
 
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาสปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 

Similar a เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ (20)

ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน
ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกันระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน
ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
 
ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
Thai clinic ร่างพ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม-version12.กันยายน.2557
 
what
whatwhat
what
 
ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54
 
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
Powerpoint ประชาพิจารณ์ของกระทรวงสธ.
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 
สปสช.การบริหารAsthma&copd57
สปสช.การบริหารAsthma&copd57สปสช.การบริหารAsthma&copd57
สปสช.การบริหารAsthma&copd57
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
 
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
 
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
 

Más de กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์

ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยกรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 

Más de กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ (20)

พระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptxพระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptx
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์
 
เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรี
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวนการพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
วันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิวันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิ
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
เทคนิค
เทคนิคเทคนิค
เทคนิค
 
สรุปงานชมรม
สรุปงานชมรมสรุปงานชมรม
สรุปงานชมรม
 
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
 
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
 
Sup kan 57
Sup kan 57Sup kan 57
Sup kan 57
 
Intro kan57
Intro kan57Intro kan57
Intro kan57
 
Fte kan57
Fte kan57Fte kan57
Fte kan57
 

เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ

  • 2. 2 สิทธิของประชาชนตาม พ.ร.บ. เข้ารับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน และมีประสิทธิภาพตามที่กาหนดโดย พ.ร.บ.นี้ ประเภท/ขอบเขตตาม คกก. กาหนด (มาตรา 5) เลือกหน่วยบริการประจา / เปลี่ยนหน่วยบริการประจาได้ ตามขอบเขตที่กาหนด ( มาตรา 6 ) รับบริการที่หน่วยบริการประจา ยกเว้น...อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉินหรือ เหตุสมควร สามารถเข้าที่สถานบริการอื่น นอกเหนือจากหน่วยบริการประจาได้ ( มาตรา 7 ) สิทธิว่าง ใช้สิทธิครั้งแรกที่หน่วยบริการใดก็ได้ ( มาตรา8)
  • 3. 3 สิทธิของประชาชนตาม พ.ร.บ. ร้องเรียน เมื่อ..ได้รับบริการที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ได้รับความสะดวกตามสมควร ไม่ได้ รับบริการตามสิทธิ ถูกเรียกเก็บเงิน ( มาตรา 57, 59 ) ขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น เมื่อ.. เกิดความเสียหายจากการ เข้ารับบริการ ( มาตรา 41)
  • 4. มติ ครม.20 เม.ย.2558 อนุมัติงบประมาณปี 2559 4
  • 6. รายงานผลการตรวจสอบของ คตร. วันที่ 15 พ.ค.2558 ตรวจพบความบกพร่องในการบริหารจัดการเงินกองทุนฯ มีการใช ้จ่ายเงินผิดวัตถุประสงค์ ไม่เป็นไป ตาม พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ใน 6 ประเด็น ประเด็นที่ 1 การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว – การช่วยเหลือเบื้องต ้นผู้ให ้บริการ (จ่ายไม่ได ้ เพราะ พรบ.หลักประกันฯ ไม่กาหนดวัตถุประสงค์ และไม่ได ้ให ้ อานาจ) – การนาเงินค่าบริการเหมาจ่ายไปใช ้เป็นค่าใช ้จ่ายในกรณีอื่นที่ขัดต่อวัตถุประสงค์ตามกฎหมาย (ไม่ให ้เป็นค่าใช ้จ่าย ประจาในกิจการของโรงพยาบาล เช่น ค่าจ ้างลูกจ ้างชั่วคราว,ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของจนท. ค่าตอบแทนภาระงาน ค่าสาธารณูปโภค ค่าจ ้างเหมาบริการ ค่าพัฒนาบุคลากร(ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางประชุม/อบรม)) ประเด็นที่ 2. เงินค่าเสื่อม – การมอบอานาจการบริหารจัดการเงินค่าเสื่อม ระดับหน่วยบริการไม่ครบถ ้วน – การใช ้จ่ายเงินค่าเสื่อมขัดต่อวัตถุประสงค์ตามกฎหมาย (นาไปจัดหา ปรับปรุง และซ่อมแซมสิ่งก่อสร ้างและครุภัณฑ์ ที่มิได ้ใช ้ในการให ้บริการโดยตรง) ประเด็นที่ 3 บริการสร ้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค – การจ่ายเงินให ้กับหน่วยงานหรือองค์กรที่ไม่มีสิทธิได ้รับตามกฎหมาย – การใช ้จ่ายเงิน PP ของ สสจ.ขัดต่อวัตถุประสงค์ตามกฎหมาย (กก.หลักประกันฯ ยังไม่กาหนดประเภทและขอบเขต ในการให ้บริการ PP และพบว่าหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการนาไปใช ้ดาเนินโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ หลายรายการ เป็นเหตุให ้เสียหายแก่กองทุนฯ และประชาชนเสียโอกาสที่จะได ้รับการบริการที่มีคุณภาพได ้ มาตรฐานทางการแพทย์) ประเด็นที่ 4 เงินช่วยเหลือเบื้องต ้นกรณีผู ้รับบริการได ้รับความเสียหาย (ให ้ไล่เบี้ยตาม ม.42) ประเด็นที่ 5 การจ่ายเงินค่าตอบแทนที่เกี่ยวกับการล ้างไตผ่านช่องท ้อง ขัดต่อวัตถุประสงค์ ประเด็นที่ 6 มีผลประโยชน์จากการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์ (เสนอควรจ่ายให ้โรงพยาบาลในฐานะที่เป็น สถานบริการสาธารณสุข) ง 6
  • 7. การดาเนินการต่อผลสอบของ คตร. • นายกรัฐมนตรี มีบัญชาให ้รองนายกรัฐมนตรี (นายยงยุทธ ยุทธวงศ์) และ รมว.สธ. พิจารณาดาเนินการแก ้ไขข ้อบกพร่องในทุกประเด็น ให ้แล ้วเสร็จใน 1 เดือน ทั้งนี้ใน กรณีที่พบการทุจริต ต ้องหาผู้รับผิดชอบและพิจารณาลงโทษ ทั้งทางวินัย/อาญา และ รายงานผลการปฎิบัติงานให ้นายกรัฐมนตรีทราบด ้วย • มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ 3 ชุด เพื่อดาเนินการตามบัญชาของนายกรัฐมนตรี (ให ้ แล ้วเสร็จภายใน 12 มิ.ย.2558 ซึ่งขณะนี้กรรมการทั้ง 3 ชุด ได ้รายงานผลการ ดาเนินการไปแล ้ว) 1) คาสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 130/2558 ลงวันที่ 2 มิ.ย.2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาประเด็นข ้อ กฎหมายเพื่อสร ้างความชัดเจนในการบริหารจัดการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 2) คาสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 876/2558 ลงวันที่ 3 มิ.ย.2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ข ้อเท็จจริง (ตรวจสอบ ประเด็นค่าเสื่อม) 3) คาสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 87/2558 ลงวันที่ 3 มิ.ย.2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจการบริหาร จัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ตรวจสอบ ประเด็นที่ 6 มีผลประโยชน์จากการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์ ) • สปสช. ออกแนวทางปฏิบัติในประเด็นการดาเนินการบริหารเงนกองทุนฯ ปี 2558 ที่ เกี่ยวข ้องกับผลสอบของ คตร. ไว ้ก่อน จนกว่านายกรัฐมนตรีจะพิจารณารายงานผล ของกรรมการทั้ง 3 ชุด แล ้วจึงจะกาหนดการดาเนินการต่อไป
  • 8. พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 • มาตรา 41 ให้คณะกรรมการกันเงินจานวนไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงิน ที่จะจ่ายให้หน่วยบริการ ไว้เป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ ผู้รับบริการ ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหาย ที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการ โดยหา ผู้กระทาผิดมิได้ หรือหาผู้กระทาผิดได้ แต่ยังไม่ได้รับ ค่าเสียหายภายในระยะเวลาอันสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกาหนด
  • 9. พพรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 รบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 • มาตรา 42 ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหาย ที่เกิดขึ้นจาก การรักษาพยาบาลของหน่วยบริการ โดยหาผู้กระทาผิดได้ แต่ยังไม่ได้รับค่าเสียหายภายในระยะเวลาอันสมควรตาม มาตรา 41 เมื่อสานักงานได้จ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ให้แก่ผู้รับบริการไปแล้ว สานักงานมีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ ผู้กระทาผิดได้
  • 10. หนังสือ สปสช. เรื่องติดตามการฟ้องร้องคดี กรณีมาตรา 41 สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน สอบถาม คณะกรรมการหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ เกี่ยวกับการจ่ายเงิน + การไล่เบี้ยเอาแก่ผู้กระทาผิดตามมาตรา 41 ,42 มติที่ประชุมคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เห็นชอบในหลักการ การพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ไม่ต้องรอพิสูจน์ ถูก-ผิด การจะใช้สิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผู้กระทาผิดตามมาตรา 42 ได้ เมื่อมีคาวินิจฉัยหรือคาพิพากษาถึงที่สุดแล้ว สปสช. แจ้งให้ติดตามและรายงานข้อมูลที่มีการฟ้องร้องคดีทุกกรณีที่เกี่ยวกับ ความเสียหายที่เกิดจากการรักษาพยาบาล
  • 12. ความเป็ นมา.... ของมาตรา ๔๑ สานักกฎหมาย สปสช. - ยื่นคาร้อง ภายใน 90 วัน - ตาย 80,000 - พิการ 50,000 - บาดเจ็บ 20,000 ข้อบังคับฯ ฉ.1 มีผล 10 มิ.ย.46 ข้อบังคับฯ ฉ.2 มีผล 25 พ.ค.47 ครอบคลุม ความเสียหายก่อน ออกข้อบังคับ ฉ.1 (19 พ.ย.45 – 9 มิ.ย.46) ข้อบังคับฯ ฉ.3 มีผล 18 ธ.ค.47 ขยายเวลา ยื่นคาร้องเป็ น 1 ปี ข้อบังคับฯ พ.ศ.2549 มีผล 1 ก.พ.49 ยกเลิกข้อบังคับฯ เดิม ทั้ง 3 ฉบับ - เพิ่ม ผู้อุปการะ - เพิ่ม เหตุสุดวิสัย * - เพิ่มวงเงิน ตาย 200,000 บาท พิการ 120,000 บาท บาดเจ็บ 50,000 บาท ข้อบังคับฯ พ.ศ.2555 มีผล 1 ต.ค.55 ยกเลิกข้อบังคับฯ ปี 49 (ยกเว้นกรณี ความเสียหายเกิด ก่อน 1 ต.ค.55 ) - เพิ่มวงเงิน ** ตาย 240,000-400,000 พิการ100,000-240,000 บาดเจ็บ ไม่เกิน 100,000 -ให้ทารกเสียชีวิตในครรภ์ เป็ นความเสียหาย 6(1) - ให้อานาจ คกก.ควบคุม เทียบเคียงกรณีความ เสียหายอื่นๆ 12 *คกก.หลักประกันสุขภาพฯ มีมติครั้งที่ 6/2554 เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2554 ให้การทาหมันแล้วตั้งครรภ์เป็นเหตุสุดวิสัย ** มาจากคาพิพากษาปกครองสูงสุด
  • 14. ประเภท 1 (240,000 - 400,000) ความสัมพันธ์ของความเสียหาย กับการรักษาพยาบาล ระดับความรุนแรง เสียชีวิต ทุพพลภาพ ถาวร เรื้อรัง รุนแรง พึ่งพา ตลอดเวลา ความเสียหายสัมพันธ์กับการ รักษาพยาบาล และไม่สัมพันธ์กับ โรคที่เจ็บป่ วย 400,000 400,000 320,000 – 360,000 ความเสียหายสัมพันธ์กับการ รักษาพยาบาล และสัมพันธ์กับโรคที่ เจ็บป่ วย 360,000 320,000 – 360,000 280,000 – 320,000 ความเสียหายบางส่วนสัมพันธ์กับ การรักษาพยาบาล 320,000 280,000 – 320,000 240,000 – 280,000 14สานักกฎหมาย สปสช.
  • 15. ประเภท 2 (100,000 - 240,000) ความสัมพันธ์ของความเสียหาย กับการรักษาพยาบาล ระดับความรุนแรงของผลกระทบ จากพิการหรือเสียอวัยวะ หรือเจ็บป่ วยเรื้อรัง มาก ปานกลาง น้อย ความเสียหายสัมพันธ์กับการ รักษาพยาบาล และไม่สัมพันธ์กับโรค ที่เจ็บป่ วย 240,000 216,000 – 240,000 100,000 – 216,000 ความเสียหายสัมพันธ์กับการ รักษาพยาบาล และสัมพันธ์กับโรคที่ เจ็บป่ วย 216,000 192,000 – 216,000 100,000 - 192,000 ความเสียหายบางส่วนสัมพันธ์กับการ รักษาพยาบาล 192,000 168,000 – 192,000 100,000 – 168,000 15สานักกฎหมาย สปสช.
  • 16. ประเภท 3(ไม่เกิน 100,000) ความสัมพันธ์ของความเสียหาย กับการรักษาพยาบาล การบาดเจ็บหรือเจ็บป่ วย ต่อเนื่องต้องใช้เวลาและ ค่าใช้จ่ายในการรักษาหรือฟื้นฟู มาก ปานกลาง น้อย ความเสียหายสัมพันธ์กับการ รักษาพยาบาล และไม่สัมพันธ์กับ โรคที่เจ็บป่ วย 100,000 90,000 – 100,000 ไม่เกิน 80,000 ความเสียหายสัมพันธ์กับการ รักษาพยาบาล และสัมพันธ์กับโรคที่ เจ็บป่ วย 90,000 80,000 - 90,000 ไม่เกิน 70,000 ความเสียหายบางส่วนสัมพันธ์กับ การรักษาพยาบาล 80,000 70,000 - 80,000 ไม่เกิน 60,000 16สานักกฎหมาย สปสช.
  • 17. ปี944 รวมคำ ร้อง ไม่ เข้ำ เกณฑ์ เข้ำเกณฑ์ (รำย) เสียชีวิต (รำย) พิกำร (รำย) บำดเจ็บ (รำย) อุทธรณ์ (รำย) ผลรวมกำร พิจำรณำจ่ำย (บำท) 2547 99 26 73 49 11 13 12 4,865,000 2548 221 43 178 113 29 36 32 12,815,000 2549 443 72 371 215 71 85 60 36,653,500 2550 511 78 433 239 74 120 59 52,177,535 2551 658 108 550 303 73 174 74 64,858,148 2552 810 150 660 344 97 219 67 73,223,000 2553 876 172 704 361 139 204 72 81,920,000 2554 965 182 783 401 141 241 114 92,206,330 2555 951 117 834 401 140 293 88 98,527,000 2556 1,182 187 995 533 125 337 98 191,575,300 2557 1,112 181 931 478 116 337 112 218,439,200 รวม 7,828 1,316 6,512 3,437 1,016 2,059 788 927,260,013 ภาพรวมผลการพิจารณาคาร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ปีงบประมาณ 2547 – 2557
  • 18. อัตราการเพิ่มจานวนคาร้องตามมาตรา 41 ปีงบประมาณ 2547-2557 ปีงบประมาณ จานวนคาร้อง (ราย) อัตราการ เปลี่ยนแปลง (ร้อยละ) 2547 99 - 2548 221 23.23 2549 443 100.45 2550 511 15.35 2551 658 28.77 2552 810 23.10 2553 876 8.15 2554 965 10.16 2555 951 -1.45 2556 1,182 24.29 2557 1,112 -5.92 0 200 400 600 800 1000 1200 99 221 443 511 658 810 876 965 951 1182 1112 จานวนคาร ้อง 07/12/58 กลุ่มงานพิทักษ์สิทธิ สานัก กฎหมาย
  • 19. จานวนคาร ้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต ้นทั้งหมด ปีงบประมาณ 2547 - 2557 49 113 215 239 303 344 361 401 401 533 478 11 29 71 74 73 97 139 141 140 125 116 13 36 85 120 174 219 204 241 293 337 337 - 100 200 300 400 500 600 ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 จานวน (ราย) 1. เสียชีวิต /ทุพลภาพถาวร 2. สูญเสียอวัยวะ /พิการ 3. บาดเจ็บ /เจ็บป่ วยต่อเนื่อง
  • 20. ผลการพิจารณาของคอก.จังหวัดปี งบประมาณ 2557 จาแนกตามประเภทหน่วยบริการ หน่วยบริการ คาร้อง ไม่ เข้าเกณฑ์ เข้าเกณฑ์ (1) (2) (3) จานวนเงิน (บาท) รพศ. 192 42 150 91 17 42 31,876,600 รพท. 296 47 249 137 42 70 50,704,800 รพช. 574 68 506 269 53 184 92,368,900 คณะแพทย์ 28 6 22 12 6 4 4,324,000 รพ.เอกชน 24 9 15 6 1 8 1,940,000 รพ.สต.,สอ. 34 5 29 6 3 20 2,479,000 สังกัด กทม. 8 2 6 4 - 2 1,220,000 สังกัด กรมการแพทย์ 9 4 5 2 - 3 640,000 คลินิก 2 - 2 1 - 1 410,000 รพ.สังกัด เหล่าทัพ 5 2 3 2 1 - 600,000 อื่น ๆ 10 2 8 3 2 3 1,610,000 รวม 1,182 187 995 533 125 337 188,173,300 07/12/58 กลุ่มงานพิทักษ์สิทธิ สานักกฎหมาย
  • 21. การจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ตามาตรา๔๑ ปี๒๕๕๘ เดือน คำร้อง(รำย) เข้ำเกณฑ์(รำย) จำนวนเงิน(บำท) ตุลาคม 92 73 15,357,200 พฤศจิกายน 130 103 25,935,000 ธันวาคม 76 59 14.474,000 มกราคม 98 80 18,735,500 กุมภาพันธ์ 85 68 15,953,000 มีนาคม 53 41 9,749,600 เมษายน 62 48 12,884,000 พฤษภาคม 85 70 19,535,000 มิถุนายน 120 92 20,918,000 รวม 801 579 153,541,30021
  • 22. สถานะคดี ศาลปกครอง ชั้นต้น ศาลปกครองสูงสุด รวม อยู่ระหว่าง ศาลพิจารณา 13 5 18 มีคาพิพากษา 8 1 9 รวม 21 6 27 ข้อมูลการฟ้ องคดี มาตรา 41 ตั้งแต่ปี 2549 ถึงปัจจุบัน
  • 23. ผู้ถูกฟ้ องคดี จานวน (คดี) คณะอนุกก. จังหวัด 17 คกก.ควบคุมคุณภาพฯ 25 คกก.หลักประกันฯ 2 สปสช. 19 หน่วยบริการ 1 รมต. 1 สสจ. 1 ผู้ถูกฟ้ องคดี •
  • 24. จานวนการฟ้ องคดี จังหวัดเชียงใหม่ หลังจากพิจารณา ม.41 ปีงบ 2549 - 2557 จานวนเรื่องที่พิจารณา 167 ราย ไม่จ่าย 47 ราย จ่าย 120 ราย ฟ้ องศาลปกครอง 4 คดี ฟ้ องศาลปกครอง 1 คดี ฟ้ องศาลแพ่ง 2 คดี อยู่ภายใน กระบวนการพิจารณา 3 คดี ยกฟ้ อง1 คดี คู่ความไม่อุทธรณ์ อยู่ในกระบวนการพิจารณา ศาลชั้นต้น ตัดสินให้ จ่าย ค่าเสียหาย 1 คดี คู่ความไม่ อุทธรณ์ อยู่ใน กระบวน การ พิจารณา 1 คดี กรณีที่ 1 เจ็บข้อนิ้วมือเรื้อรังแพทย์วินิจััยรรคิิด กรณีที่ 2 ิ่าตัดตาต้อกระจกล่าช้าแพทย์วินิจััยิิด กรณีที่ 3 เสียชีวิตจากการติดเชื้อในกระแสเลือด เท้าิิดรูป เดินไม่ถนัด จากอุบัติเหตุรถชน กระดูกแตก ิู้ร้องแจ้ง ว่าแพทย์กลั่นแกล้ง มีอาการคล้ายรปลิรอ หลังัีดวัคซีนรปลิรอ (ฟ้ อง สปสช./คณะอนุ ม.41) ถูกรถชน รักษาไม่ทันเวลา เกิดภาวะขาดเลือดไปเลี้ยง ถูกตัดขา มีอาการคล้ายรปลิรอ หลังหยอดวัคซีนรปลิรอ (ฟ้ องกระทรวง สธ./องค์การเภสัชฯ) ข้อมูล ณ วันที่ 31 มี.ค 2557
  • 25. สรุปคาพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีระหว่าง ผู้ฟ้ องคดี กับ สปสช. ผู้ถูกฟ้ องคดีที่ ๑ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพฯ ผู้ถูกฟ้ องคดีที่ ๒ คดีดาที่ อ.๗๗๙/๒๕๕๓ คดีแดงที่ อ.๔๖/๒๕๕๗ 07/12/58 25สานักฎหมาย สปสช.
  • 26. เมื่อวันที่ ๒๓ มค. ๔๙ ผู้ฟ้ องคดีเป็ นสามีของผู้รับบริการ นาผู้รับบริการเข้ารักษาที่โรงพยาบาลจังหวัด ด้วยอาการแน่น หน้าอก ขณะเข้ารับรักษาผู้รับบริการยังเดินได้และพูดได้ ตามปกติ แต่ได้เสียชีวิตในวันเดียวกันนั้น โดยใบมรณะบัตรระบุ เหตุที่ตายว่า เกิดจากภาวะหัวใจหยุดเต้นฉับพลัน ผู้ฟ้ องคดีเห็น ว่า ผู้รับบริการเสียชีวิตเพราะแพทย์ไม่รีบตรวจและทาการรักษา และไม่มีแพทย์ที่ชานาญการอยู่ที่ห้องฉุกเฉินในขณะนั้น วันที่ ๑ กพ. ๔๙ ผู้ฟ้ องคดียื่นคาร้องขอรับเงินช่วยเหลือ เบื้องต้นในกรณีการเสียชีวิตของผู้รับบริการ คณะอนุกรรมการฯ จังหวัด มีมติให้จ่ายเงินช่วยเหลือ เบื้องต้นแก่ผู้ฟ้ องคดีเป็ นเงินจานวน ๒๐,๐๐๐ บาท โดยให้ เหตุผลว่า ไม่เข้าหลักเกณฑ์การจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นแต่ เพื่อเป็ นการช่วยเหลือทางด้านศีลธรรมและบรรเทาความ เดือดร้อนของครอบครัว ผู้ฟ้ องคดีได้รับเงินและอุทธรณ์คาสั่ง ข้อเท็จจริง 07/12/58 26สานักฎหมาย สปสช.
  • 27. คณะอนุกรรมการอุทธรณ์ฯ เสนอความเห็นต่อผู้ถูกฟ้องคดี ที่ ๒ ให ้จ่ายเงินช่วยเหลือเพิ่มอีก ๖๐,๐๐๐ บาท รวมกับที่ได ้รับไปแล ้ว ๒๐,๐๐๐ บาท เป็ น ๘๐,๐๐๐ บาท โดยให ้เหตุผลว่า เกิดจากเหตุ สุดวิสัยในระบบการให้บริการสาธารณสุข ซึ่งผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ได ้ มีมติเห็นชอบด ้วย วันที่ ๑๑ ตค ๔๙ ผู้ฟ้องคดีได ้รับเงินแล ้ว เห็นว่าการจ่ายเงินไม่ เป็ นไปตามข ้อ ๖ (๑) ของข ้อบังคับฯซึ่งกาหนดไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท จึงฟ้อง สปสช.คดีต่อศาล ขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่ง ให้ สปสช. ผู้ถูกฟ้ องคดีที่ ๑ จ่ายเงินที่เหลืออีก ๑๒๐,๐๐๐ บาท และให ้ปฏิบัติตามข ้อบังคับโดยเคร่งครัดเพื่อเป็ นแบบอย่างของสังคม ต่อไป ศาลปกครองชั้นต ้นได ้กาหนดให้คณะกรรมการควบคุม คุณภาพและมาตรฐานฯ เป็ นผู้ถูกฟ้ องคดีที่ ๒ เนื่องจากเป็ นผู้มี อานาจในการวินิจฉัยอุทธรณ์ ข้อเท็จจริง (ต่อ) 07/12/58 27สานักฎหมาย สปสช.
  • 28. คดีที่ 2 • ผู้ถูกฟ้ อง---รมว.สาธารณสุขจาเลยที่1 สปสช.จาเลยที่2 คกก. หลักประกันฯจาเลยที่ 3 คกก.ควบคุมจาเลยที่ 4 อกก.เฉพาะกิจจาเลยที่ 5 อกก.จังหวัดจาเลยที่ 6 • ข้อกล่าวหา---คลอดบุตร และบุตรเสียชีวิต • มติ อกก.จังหวัด---เหตุแทรกซ้อน (20,000 บาท) • มติ คกก.ควบคุม---ยกอุทธรณ์ • คาขอคดีปกครอง---ขอให้จ่ายเต็มอัตรา (200,000 บาท) • ผลคดี---อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล 07/12/58 สานักฎหมาย สปสช. 28
  • 29. คดีที่ 3 • ผู้ถูกฟ้ อง--- คกก.หลักประกันฯจาเลยที่ 1 คกก.ควบคุมจาเลยที่ 2 เลขาธิการจาเลยที่ 3 สานักงานสาขาจังหวัดจาเลยที่ 4 อกกก.จังหวัด จาเลยที่ 5 • ข้อกล่าวหา---วินิจฉัยล่าช้าทาให้เสียชีวิต • มติ อกก.จังหวัด---เป็นไปตามพยาธิสภาพ (ไม่จ่าย) • มติ คกก.ควบคุม---ยกอุทธรณ์ • คาขอคดีปกครอง---ให้ชาระค่าเสียหาย ให้กาหนดหลักเกณฑ์ใหม่ • ผลคดี---อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล 07/12/58 สานักฎหมาย สปสช. 29
  • 30. คดีที่ 4 • ผู้ถูกฟ้ อง---สปสช.จาเลยที่1 อกก.กรุงเทพฯจาเลยที่ 2 คกก.ควบคุม จาเลยที่ 3 • ข้อกล่าวหา---รักษาไม่ได้มาตรฐานเป็นเหตุให้เสียชีวิตจากโรคมะเร็ง • มติ อกก.จังหวัด---เป็นไปตามพยาธิสภาพ (ไม่จ่าย) • มติ คกก.ควบคุม---ยกอุทธรณ์ • คาขอคดีปกครอง---ให้ผู้ถูกฟ้ องคดีชดใช้ค่าสินไหมทดแทน • ผลคดี---อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล 07/12/58 สานักฎหมาย สปสช. 30
  • 31. คดีที่ 5 • ถูกฟ้ อง---สปสช.จาเลยที่1 อกก.กรุงเทพฯจาเลยที่ 2 คกก.ควบคุม จาเลยที่ 3 • ข้อกล่าวหา---รักษาไม่ได้มาตรฐานเป็นเหตุให้อวัยวะเพศไม่คืนรูป • มติ อกก.จังหวัด---ไม่ได้เกิดจากการรักษาพยาบาล (ไม่จ่าย) • มติ คกก.ควบคุม---เกิดจากผู้รับบริการ (ไม่จ่าย) • คาขอคดีปกครอง---ให้สปสช.ชดใช้ค่าเสียหาย (400,000 บาท) • ผลคดี---อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล 07/12/58 สานักฎหมาย สปสช. 31
  • 32. • เมื่อวันที่ 19 พ.ย.57 ที่ศาลนนทบุรี นัดอ่านคาพิพากษาศาลฎีกา คดี หมายเลขแดงที่ พ 1541/2549 ที่นาง ดวงนภา มารดาของนายยงยุทธ ปันนิ นา เป็นโจทก์ยื่นฟ้ องกระทรวง สาธารณสุขในฐานะจาเลย ซึ่งเป็นต้น สังกัดของโรงพยาบาลร้องกวาง จ. แพร่ ได้ทาการรักษานายยงยุทธ ผู้เสียหายผิดพลาด จนทาให้นายยง ยุทธกลายคนพิการทุพลภาพ 07/12/58 สานักฎหมาย สปสช. 32
  • 33. • ทั้งนี้ สืบเนื่องจาก เมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 47 นายยงยุทธ หรือ น้องโจ้ซึ่งขณะนั้นอายุ19 ปี เพิ่งสอบติด คณะวิศวกรรมเครื่องกล ม.นเรศวร จ.พะเยา ได้ขับขี่มอเตอร์ไซค์ไปซื้อของและถูกรถกระบะเฉี่ยว ชนล้มหมดสติ ก่อนจะถูกนาตัวส่ง รพ.ร้องกวางในเวลาต่อมา และถูกส่งตัวไปรักษาต่อที่ รพ.แพร่ โดยต้องพักรักษาตัวอยู่ในห้อง ICU นานถึง 27 วัน อาการสมองบวมจึงเริ่มดีขึ้น และสมองเริ่ม ตอบสนอง ยกแขนขา เดินได้สื่อสารกับแม่และหมอได้ทานอาหารทางปาก พูดคาสั้น ๆ ได้เขียน หนังสือ+นับเลขและแยกสีลูกบอลได้ • แต่ต่อมา ในวันที่ 13 ก.พ. 48 ทางแพทย์ที่ทาการรักษาได้ทาการถอดท่อหายใจที่คอออก โดยที่ อาการน้องโจ้ในขณะนั้น ยังไม่สามารถหายใจเองไม่ได้ทางแพทย์จึงใส่ท่อช่วยหายใจกลับคืนแต่ ต่อมาในวันที่ 14 ก.พ. 48 แพทย์ที่ทาการรักษากลับให้ถอดท่อหายใจอีกครั้ง โดยไม่ได้อยู่ดูแล อาการต่อ ทาให้น้องโจ้ดิ้นทุรนทุราย เพราะหายใจไม่ออก แม้ว่า นางดวงนภาผู้เป็นแม่ที่เฝ้าดูแล น้องโจ้จะตามพยาบาลมาดูอาการที่เกิดขึ้น หลังการถอดเครื่องช่วยหายใจที่คอก็ตาม แต่พยาบาล กลับบอกว่า ปล่อยไว้สักพักเดี๋ยวก็หายใจได้เอง ทาให้น้องโจ้หัวใจหยุดเต้นในเวลาต่อมา และเมื่อ ปั๊มหัวใจกลับคืนมาได้สมองก็ขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง และเกิดผลกระทบตามมา นอนไม่รู้ตัว ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้แขนขาเกร็ง ทานอาหารเองไม่ได้ถ่ายอุจจาระ-ปัสสาวะไม่รู้ตัว 07/12/58 สานักฎหมาย สปสช. 33
  • 35. สูติฯ มารดา 100 ราย 8.99% สูติฯ(ทารก 309 ราย 27.78% อายุรกรรม 137 ราย 12.32% ศัลยกรรม 184 ราย 16.54% กุมาร 136 ราย 12.23% ทาหมัน 94 ราย 8.45% ศัลยกรรมกระดูก 41 ราย 3.68% อื่นๆ 111 ราย 9.98% ผลการพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต ้น ปีงบประมาณ 2557 จาแนกตามแผนกที่เข ้ารับบริการ
  • 36. คาร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ปี งบประมาณ 2557 กรณีเข้ารับบริการคลอดและทาหมัน สำเหตุของควำมเสียหำย จำนวน(รำย) สัดส่วน (ร้อยละ) ทำหมันแล้วตั้งครรภ์ 94 48.45 บำดเจ็บจำกกำรคลอด 14 7.21 น้ำคร่ำอุดกั้นในปอด/กระแสเลือด 14 7.21 ตกเลือดหลังคลอด/ตัดมดลูก 32 16.49 ผิดพลำดจำกกำรคลอด 5 2.57 มดลูกแตก 4 2.06 ภำวะแทรกซ้อนจำกโรคเดิม/โรคจำกกำร ตั้งครรภ์/พยำธิสภำพของโรค 16 8.24 อื่นๆ 15 7.73 รวม 194 100.0007/12/58 กลุ่มงานพิทักษ์สิทธิ สานัก กฎหมาย
  • 37. คำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ปีงบประมำณ 2557 กรณีเข้ำรับบริกำรคลอดบุตร (ควำมเสียหำยของทำรกแรกเกิด) สาเหตุของความเสียหาย จานวน(ราย) ร้อยละ ภำวะขำดออกซิเจน, RDS, aspiration, IPPH 88 33.08 คลอดติดไหล่ 78 29.32 สำยสะดือพันคอ/สำยสะดือย้อย 19 7.14 บำดเจ็บจำกกำรคลอด 7 2.63 คลอดก่อนกำหนด 3 1.12 ติดเชื้อในกระแสเลือดหลังคลอด 11 4.13 พิกำรแต่กำเนิด 2 0.75 รกลอกตัวก่อนกำหนด 3 1.12 ภำวะแทรกซ้อนจำกโรคของมำรดำ 2 0.75 ทำรกเสียชีวิตในครรภ์ 36 13.53 สมองพิกำรพัฒนำกำรช้ำ 17 6.39 รวม 266 100.00
  • 38. คาร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ปี งบประมาณ 2557 เหตุผลในการพิจารณา ไม่ เข้าเกณฑ์ เข้าเกณฑ์ (1) (2) (3) สัมพันธ์กับการรักษา และไม่สัมพันธ์กับโรค - 79 35 13 31 สัมพันธ์กับการรักษา และสัมพันธ์กับโรค - 214 121 31 62 เหตุสุดวิสัย - 520 252 63 205 บางส่วนสัมพันธ์กับการรักษา - 118 70 9 39 พยาธิสภาพของโรค 129 - - - - ไม่ได้เกิดจากการรักษาพยาบาล 37 - - - - ไม่ใช่ผู้มีสิทธิตาม พ.ร.บ. 9 - - - - ยื่นคาร้องเกิน 1 ปี /ก่อน พ.ร.บ. 6 - - - - รวม 181 931 478 116 337 9
  • 39. ตัวอย่างความเสียหาย จากรับบริการ  ลืมเข็มเย็บแผลไว ้ในช่องคลอดหลังทาคลอด  หลังผ่าตัดต ้อกระจก ติดเชื้อ ตาบอด  แจ ้งผลเลือดผิดพลาด false positive  อุบัติเหตุในโรงพยาบาล เปลหนีบ ตกเตียง โดนของร ้อนลวก...พาราฟิน ข ้าวต ้มลวกมือเด็ก  ผ่าตัดผิดที่ ถอนฟันผิดซี่  เจาะปอดผิดข ้าง ให ้เลือดผิดกรุ๊ป  ให ้ยาผิดวิธี... สั่งพ่น... แต่เอาไปฉีด  ใส่ยาผิดซอง หน้าซองลดความดัน(Enalapril) ในซองยาเบาหวาน (Glipizide)
  • 41. การวินิจฉัย • ผู้ป่วยหญิงอายุ ๕๙ มาตรวจที่แผนกฉุกเฉิน รพช.ด้วยอาการปวดท้อง กลางสะดือ ปวดเป็นพักๆ ได้รับการตรวจให้ยาโรคกระเพาะอาหาร กลับ บ้านแล้วอาการไม่ดีขึ้นมีอาการปวดท้องและถ่ายเหลวร่วมด้วย จึงมา ตรวจอีกครั้ง ได้รับยาแก้ปวดฉีดเข้ากล้ามเนื้อและผงเกลือแร่กลับบ้าน แต่กลับไปแล้วปวดมากขึ้น จึงไปโรงพยาบาลเอกชน
  • 42. การให้ยา • ชายอายุ๖๖ ปี รับไว้รักษาเพื่อให้ยาปฏิชีวนะ หลังให้ยาหมด ผู้ป่วยได้รับการ ฉีด Ventolin ๑:๓ จานวน ๔ ซี.ซี เข้าหลอดเลือดเพื่อล้างสายยาง หลังฉีดยา ผู้ป่วยมีอาการใจสั่น แน่นหน้าอก ให้ยาอมใต้ลิ้น ตรวจEKG ปกติ • ที่จริงคนไข้ควรได้รับ ๕%DW ๕c.c. • ทารกเพศหญิงอายุ๑วัน คลอดปกติ น้าหนักแรกคลอด ๓.๐๘๐ กรัม Apgar score ๑๐,๑๐,๑๐ หลังคลอดได้รับยาขยายหลอดลม (Bricanyl) ขนาด ๐.๑ mg ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง หลังฉีดทารกมีอาการหายใจเร็ว๑๘๐-๑๙๐ ครั้ง/นาที ปลาย มือปลายเท้าเขียว ย้ายไปแผนกเด็กสังเกตอาการ จนอาการดีขึ้น แพทย์ให้กลับ บ้านได้ แต่เด็กควรได้ฉีดวัคซีนป้องกันวัณโรค แต่พยาบาล หยิบเข็มฉีดยาของผู้ป่วยเด็ก อื่น 42
  • 43. แพ้ยา • ผู้ป่วยชาย อายุ ๕๑ ปี มารับการตรวจที่ รพสต. มีประวัติตรวจพบเป็น ผู้ป่วย HIV แพทย์ให้ยาต้านไวรัสARV(Combid,GPO vir-Z) หลัง รับประทานยา ๒ วันผู้ป่วยมีผื่นคันตามตัว มีตุ่มพุพองบริเวณริมฝีปาก และตาอักเสบทั้งสองข้าง ส่งต่อ รพช. • ผู้ป่วยหญิงมีอาการผื่นแดงคันทั่วตัวและหายใจไม่สะดวก หลัง รับประทานยา Dimenhydrinate จานวน ๑ เม็ดจากประวัติผู้ป่วยมาตรวจ ด้วยอาการเวียนศรีษะ หน้ามืด ตาลาย คลื่นไส้ อาเจียนไม่ออก จากประวัติการรักษาผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยาแก้เวียนศรีษะแต่ไม่ทราบชนิด
  • 44. เทคนิคการปฏิบัติ • ผู้ป่วยหญิง เข้ารับบริการด้วยอุบัติเหตุล้มก้นกระแทกพื้น ได้รับยา Dicofenac ฉีดเข้าสะโพก และยาแก้ปวดไปรับประทาน ผู้ป่วยกลับมาอีก ครั้งด้วยอาการชาที่ขา เดินไม่ได้ขาอ่อนแรงและปลายเท้าซ้ายตก • ผู้ป่วยหญิงอายุ ๖๐ ปี เป็นใบ้และมีโรคประจาตัวโรคลมชักและจิตเวช เข้ารับบริการด้วยอาการไข้และไอ รับไว้รักษาเวลา ๒๔.๐๐น.เจ้าหน้าที่ ได้ยินเสียงตุ๊บ พบผู้ป่วยนอนอยู่บนพื้น • ผู้ป่วยชายอายุ๘๘ ปี เป็นโรคความดันโลหิตสูง เข้ารับบริการด้วยอาการ แน่นหน้าอก ญาติเรียก ๑๖๖๙ ไปรับที่บ้าน ขณะเคลื่อนย้ายออกจากบ้าน ผู้ป่วยตกเตียงเคลื่อนย้าย
  • 45. • ผู้ป่วยหญิงอายุ ๑๘ ปี ครรภ์แรก อายุครรภ์ ๔๐ สัปดาห์ คลอดบุตร ปกติ มาตรวจตามนัดหลังคลอดแผลแยก แผลฝีเย็บมีการติดเชื้อ น้าคาวปลามีกลิ่นเหม็น มีไข้ต่า ตรวจพบผ้ากอ๊สค้างอยู่ในช่องคลอด๔ ชิ้น
  • 47. ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล โทษทางอาญา โทษทางแพ่ง (ละเมิด) โทษในฐานะ ผู้ประกอบวิชาชีพ ป.อ. ม.291ประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่น เสียชีวิต หรือ ปอ.ม. 297 (ทาร้ายร่างกายเป็นเหตุให้ ได้รับอันตรายสาหัส), ปอ.ม. 300 (ประมาทเป็นเหตุให้ ได้รับอันตรายสาหัส), ปอ.ม. 390 (ประมาทเป็นเหตุให้ได้รับอันตราย แก่กายหรือจิตใจ) เป็นต้น ป.พ.พ. ม.420 1. กระทำโดยจงใจ/ประมำท 2. หน้ำที่ต้องกระทำแต่ งดเว้นไม่กระทำ 3. กระทำให้บุคคลอื่นเสีย หำยแก่ชีวิต,ร่ำงกำย,อนำมัย, เสรีภำพ,ทรัพย์สิน พระราชบัญญัติ วิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528, ฉบับที่ 2พ.ศ. 2540 (ว่ากล่าว ตักเตือน พักใช้ เพิกถอน)
  • 48. ควำมรับผิดทำงกฎหมำย 1.ความรับผิดทางแพ่ง (ชดใช้ค่าเสียหาย) 2.ความรับผิดทางอาญา (จาคุก/ปรับ) 3.ความรับผิดทางวินัย (ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ปลดออก ไล่ออก) 4.ความรับผิดในการประกอบวิชาชีพ (พักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต)
  • 49. กฎหมายที่มีผลต่อการพยาบาล • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 80 (2) (ปัจจุบันยกเลิก ของใหม่ยังไม่ออก) • พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 47 • พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 5 • พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง ครรภ์ พ.ศ. 2528 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2540
  • 50. กฎหมายที่มีการเปลี่ยนแปลงและกาลัง • กฎกระทรวง กาหนดลักษณะของสถานพยาบาลและลักษณะการ ให้บริการของสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๘ • พระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๖ • พระราชบัญญัติยา • พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจากบริการรับบริการสาธารณสุข
  • 51. กฎหมายใหม่ว่าด้วยการอานวยความสะดวกในการ พิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 เปิ ด ช่องฟ้ องวินัยและแพ่งข้าราชการขี้เกียจ ดึงเรื่อง พูดไม่ ไพเราะ เริ่มบังคับใช้ 21 กรกฎาคม 2558
  • 52.
  • 53.
  • 54.
  • 55.
  • 56.  นำง มันทำ ได้กระทำผิดวินัยไม่ร้ำยแรง ฐำนไม่ปฏิบัติหน้ำที่ รำชกำร กรณี ประมำทเลินเล่อให้เลือดผู้ป่วยผิดคน ทำให้ผู้ป่วย ดังกล่ำวเกิดอำกำรแพ้เป็นกำรกระทำผิดวินัยไม่ร้ำยแรง ฐำนไม่ ปฏิบัติหน้ำที่รำชกำร ตำม ตำม มำตรำ๘๔ วรรคหนึ่งแห่ง พระรำชบัญญัติระเบียบรำชกำรพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงโทษดัด เงินเดือน ๓ เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลำ ๑ เดือน
  • 57.  ผู้ป่วยมาด้วยอุบัติเหตุ ศรีษะฟาดพื้นสลบไป๕นาที มาถึง รพ.เวลา ๑๘.๐๐ น พูดได้ ต่อมามีอาการอาเจียนเป็นเลือด พยาบาลบอกว่าไม่เป็นอะไร  เวลา ๒๒.๐๐ ผู้ป่วยเริ่มสับสน ความรู้สึกตัวลดลง ญาติเข้าไปคุยกับพยาบาล พยาบาลแจ้งว่าไม่เป็นไรแต่ไม่ได้เข้ามาดูคนไข้ ญาติจึงขอย้ายไปโรงพยาบาลเอกชน พยาบาลบอก”ถ้าอยากไป ก็ต้องเซ็นอกสารไม่ยอมอยู่” ญาติจึงเซ็นชื่อ พยาบาลมา บอกอีกว่า “รถโรงพยาบาลไม่ส่งนะ ให้ไปเอง “ จากนั้นพยาบาลถอดน้าเกลือและชุด คนไข้ออก และพูดว่า “ถ้าผู้ป่วยเป็นอะไรทางโรงพยาบาลไม่รับผิดชอบนะ”  ญาติรีบนาผู้ป่วยไปเองถึงโรงพยาบาลเอกชน ใช้เวลาเดินทาง ๒๐ นาที แพทย์แจ้งว่า มาช้า มีเลือดออกทั่วสมองแล้ว รพ.เอกชน จึงส่งตัวไปโรงพยาบาลศูนย์ ใช้ เครื่องช่วยหายใจ ต่อมาผู้ป่วยเสียชีวิต
  • 58.  นางสาว สุดตา ไปคลอดที่ โรงพยาบาล ล.พบนาง สมฤทัย พูดว่า”มา ปวดท้องอะไรเวลาคนจะนอน” หลังเข้าห้องคลอดไปได้ประมาณ ๑ ชม. พยาบาลมาบอกญาติว่า”ปากมดลูกเปิด ๘ เซนติเมตร”ขณะนั้นมีลม เบ่ง พยาบาลบอกอย่าเบ่ง รอแพทย์ใหญ่ก่อน แต่ตนทนไม่ไหวพยาบาล ทาคลอด และพยาบาลเอาเด็กมาวางโดยไม่ดูดน้าคร่าบอกให้รอแพทย์ ก่อน เมื่อแพทย์มาพบเด็กสาลักน้าคร่าต้องส่งตัวเด็กไปดูอาการที่ โรงพยาบาลอุทัยธานีและปล่อยเด็กทิ้งไว้อีก๑ ชั่วโมงกว่าจะส่งตัวไป โรงพยาบาลจังหวัด พบว่าเด็กสาลักน้าคร่าเข้าปอด จนทาให้ติดเชื้อ และให้ญาติทาใจ ในที่สุดเด็กเสียชีวิต
  • 59. นำง ธำรำ พยำบำลวิชำชีพ ถูกนำยพิมุก กล่ำวหำ ผู้ป่วยเข้ำ รับกำรรักษำที่รพ. ด้วยอำกำรเลือดออกไม่หยุดหลังจำกไป ถอนฟันจำกคลินิกแห่งหนึ่ง แพทย์สั่งให้ใช้อะดรีนำลินแพ็ค ด้วยวำจำ ตำนำงธำรำ นำอะดรีนำลินฉีดเข้ำเส้นเลือดดำ บริเวณข้อพับ ทำให้ผู้ร้องมีอำกำรกระสับกระส่ำย หัว ใจเต้นแรง หำยใจไม่ออก
  • 60.  กระทำผิดวินัย ในกรณีเจตนำดีในกำรดูแลรักษำพยำบำลผู้ป่วย ไม่ต้องกำรให้ผู้ป่วยใช้มือดึงลวดมัดฟันออก เพรำะกำรดึงลวด ทำให้ปำกเกิดบำดแผล จึงให้ผู้ช่วยเหลือคนไข้จับมือผู้ป่วยใน ท่ำกำมือและใช้ผ้ำยำงยืดพันมือโดยรอบ๑ ม้วน หลังพันผู้ป่วย ยังคงพยำยำมคลำยมืออก จึงได้ใช้ผ้ำยำงยืดพันทับอีก๑ ม้วน ไม่ได้รำยงำนหัวหน้ำเวร กำรพันดังกล่ำวผิดมำตรฐำนวิชำชีพ ไม่ได้คลำยผ้ำทุก ๑-๒ ชั่วโมง รวม ๔๑ ชั่วโมง เป็นเหตุให้เลือด ไปเลี้ยงมือไม่พอ มือทั้ง๒ ข้ำงบวม จนในที่สุดถูกตัดนิ้วมือ บริเวณปลำยนิ้วนำง และนิ้วก้อยไปครึ่งนิ้ว  กระทำผิดวินัยร้ำยแรงฐำนปฏิบัติหน้ำที่ด้วยควำมไม่เอำใจใส่ ระมัดระวังประโยชน์ของรำชกำร ประมำทเลินเล่อในหน้ำที่ รำชกำร ตำมมำตรำ ๘๔ วรรคหนึ่ง
  • 61.  นางสาวนุ้ย ตาแหน่ง พยาบาลวิชาชีพ 7 โรงพยาบาลชุมชน ได ้ ปฏิบัติงานเวรเช ้า เวลาประมาณ 11.30 น. เพื่อนร่วมงานได ้บอกว่า ยา Ampicilin สาหรับฉีดให ้ผู้ป่ วยเวลาเที่ยงไม่พอหนึ่งคน นางสาว นุ้ย จึงได ้ไปขอยืมยา Ampicilin จากตึกผู้ป่ วยข ้างเคียง โดยหยิบ ขวดยาผิด เป็นยา Chloramphenical ซึ่งลักษณะสีของขวดยา Chloramphenical จะเหมือนกับขวดยา Ampicilin นางสาวนุ้ย นาไปฉีดให ้ผู้ป่ วยแล ้ว ผู้ป่ วยมีอาการขมคอมากและปวดมาก บริเวณ ที่ฉีดมีอาการแดง มีผื่นขึ้นบริเวณที่ฉีด แต่คนไข ้ไม่ได ้รับอันตราย รุนแรงและไม่ติดใจเอาความหรือเรียกร ้องค่าเสียหายใดๆ  พฤติการณ์ของนางสาวนุ้ย ดังกล่าว เป็นความผิดวินัย อย่างไม่ร ้ายแรง ฐานไม่เอาใจใส่ระมัดระวัง และประมาทเลินเล่อใน การปฏิบัติหน้าที่ราชการ ตามมาตรา 84 วรรคหนึ่ง แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบข ้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 ลงโทษ ภาคทัณฑ์
  • 63. • วันที่ ๓ ก.ค. นาง เนตรดาว ถูกงูกัด ญาตินาส่งรพ. เวลา ๑๖.๓๐ น ผู้ป่วยและญาติแจ้งว่าถูกงูเขียวหางไหม้กัด เวลา ๑๗.๓๐ น. รับ ไว้ใน รพ. แพทย์เจ้าของไข้กาลังผ่าตัดไส้ติ่ง เวลา ๑๙.๐๐ น. พยาบาล ไปตรวจพบผู้ป่วยหลับอยู่เรียกไม่ตื่น ช่วยฟื้นคืนชีพ ต่อ เครื่องช่วยหายใจ จนวันที่ ๔ ก.ค. เสียชีวิต เวลา ๑๖.๔๐ น • ยื่นฟ้องละเมิด กระทรวง ค่าเสียหาย ๔๐๐,๐๐๐ บาท
  • 64. • วันที่ ๑๕ ด.ญ. รุ่งอรุณ ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติหตุ ขาซ้ายหัก แบบชนิดปิด รพ. รับไว้รักษาในตึกิู้ป่ วยใน • วันที่ ๑๖ เวลา ๙.๐๐น. แพทย์มาดูอาการ เอ็กซเรย์ ดึงกระดูกแบบถ่วงน้าหนักด้วย ถุงทราย • วันที่ ๑๗ เวลา ๙.๐๐ น แพทย์มาดูอาการ พบนิ้วเท้าและหลังเท้าของิู้ป่ วยมีสีเขียว มากขึ้น ส่งต่อ • รพศ พบว่าเส้นเลือดแดงบริเวณแข็ง มีลิ่มเลือดอุดตัน แสดงว่าขาดเลือดมากกว่า ๖ ชม.ต้องตัดขาข้างซ้าย • ฟ้ องละเมิด กระทรวงสาธารณสุข ๘,๔๓๑,๘๐๐ บาท
  • 66. การเสนอร่างกฎหมาย 1. กระทรวงสาธารณสุข - มีคาสั่งที่ ๑๖๙๐/๒๕๕๗ ลว.๒๐ พ.ย.๕๗ แต่งตั้ง “คณะทางานศึกษาปัญหาอุปสรรคและแนวทางการ เยียวยาผลกระทบหรือคามเสียหายจาการให ้หรือการรับ บริการสาธารณสุข” - คทง.ฯได ้ยกร่าง “พ.ร.บ.กองทุนคุ้มครองผู้ได ้รับ ผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....” เพื่อ เตรียมเสนอต่อ สนช. - ดาเนินการรับฟังความคิดเห็น ภาคส่วนต่าง ๆ 2. คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) ได ้ปรับปรุง “ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....”ของภาคประชาชน และได ้เสนอต่อ สภาปฏิรูป แห่งชาติ (สปช.)
  • 67. หลักการที่สาคัญของร่างกฎหมาย 1.คุ้มครองทั้งผู้ให ้บริการ และ ผู้รับบริการ 2.ครอบคลุมทั้ง 3 กองทุน(สปสช., สปส., ข ้าราชการ) 3.คุ้มครองโดยการจ่ายเงินชดเชยความเสียหาย และไม่ รอนสิทธิเดิมที่มีอยู่ 4.จ่ายเงินโดยไม่มีการพิสูจน์ถูกผิด 5. ยื่นคาขอภายใน 3 ปี นับแต่รู้ถึงความเสียหายแต่ไม่เกิน 10 ปี 6. กรณีที่ผู้ยื่นคาขอได ้รับเงินชดเชยไปแล ้ว ต ้องสละสิทธิ เรียกร ้องทางแพ่ง 7. กรณีพิจารณาจ่ายเงินชดเชยแล ้ว แต่ไม่ตกลงรับและไป ฟ้องเป็นคดีต่อศาล ก็จะยุติการดาเนินการ และไม่มีสิทธิ ยื่นคาขอได ้อีก
  • 68. มาตรา ๔๑ ช่วยเหลือเบื้องต้น สิทธิฟ้ องคดียังคงอยู่ กฎหมายใหม่  ผู้ให้ + ผู้รับ รับเงินแล้วยุติแพ่ง บังคับทุกรายเข้าสู่ กระบวนการ ฟ้ องกองทุน ความเสียหายจากการรักษาพยาบาล
  • 70. การพิจารณาจ่ายเงินชดเชย ส่งคาขอภายใน 7 วัน คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินชดเชย พิจารณาภายใน 30 วัน ขยายเวลาได้ไม่เกิน 2 ครั้งๆละ15 วัน อุทธรณ์ได้ตามกฎหมาย วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง จ่ายบางส่วน จ่ายทั้งหมด ไม่รับ เงินชดเชย ฟ้ องกองทุน ทาสัญญาประนีประนอมยอมความและ ยุติคดีแพ่ง ยื่นภายใน 3 ปีนับแต่วันที่รู้ แต่ไม่เกิน 10 ปีนับแต่วันที่เกิด สานักงานผู้เสียหายหรือทายาท ไม่รับคาขอ รับคาขอ รับเงินชดเชย
  • 71. การฟ้ องคดี ฟ้ องผู้ให้บริการหรือหน่วยงานไม่ได้ ฟ้ องกองทุน หรือ สานักงาน เมื่อมีการฟ้ องร้อง จะยุติการดาเนินการ และไม่มี สิทธิยื่นได้อีก ร่างกสธ. ร่าง คปก.
  • 72. การพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้ องกันผลกระทบ • วิเคราะห์สาเหตุแห่งผลกระทบ • พัฒนาระบบความปลอดภัย • สร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดี คกก.หรือหน่วยงาน ที่คกก.มอบหมาย • ดาเนินกิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาความ ปลอดภัย • จัดระบบการไกล่เกลี่ย ให้สานักงานสนับสนุน สถานพยาบาล/หน่วยงาน/ องค์กร • พัฒนาระบบความปลอดภัยและป้ องกัน ผลกระทบ (อาจลดอัตราจ่ายเงินสมทบได้) สถานพยาบาลเอกชน
  • 73. หมวด๕ หน่วยบริการและมาตรฐานบริการ • มาตรา ๔๔ ให้สานักงานจัดให้มีการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ • มาตรา ๔๕ หน่วยบริการมีหน้าที่ดังนี้ –ให้บริการสาธารณสุข –ให้ข้อมูลกับิู้รับบริการ –ให้ข้อมูลชื่อแพทย์ –รักษาความลับของิู้รับบริการ –จัดทาระบบข้อมูล
  • 76. • ผู้บริหารและพยาบาลต ้องรู้ กฎหมาย • เรียนรู้จากสิ่งที่เกิดขึ้นมาทบทวน • หมั่นส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน ทั้งกับผู้รับบริการและทีมงาน การแก้ไขปัญหาทาอย่างไร
  • 77. บทบาทผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน • รู้จักขอโทษ (การขอโทษไม่ได ้แปลว่าผิด) • พูดคุยและสร ้างสัมพันธภาพ ช่วยเหลือก่อนบานปลาย • เอาใจเขามาใส่ใจเรา เมื่อเกิดเหตุล ้วนสูญเสีย • เข ้าไปช่วยให ้ได ้รับการคุ้มครองสิทธิ (เมื่อต ้องได ้ ม๔๑) • ต ้องสร ้างเครือข่าย และรู้จักใช ้เพื่อนเพื่อลดความรุนแรง • เยียวยาคนของเราที่ขวัญเสีย • ทบทวนให ้แน่ใจว่าทาทุกอย่างได ้มาตรฐานแล ้วจริง สำนักกฎหมำย สปสช.
  • 78. ผู้ประกอบวิชาชีพ มืออาชีพ • มีพฤติกรรมแห่งความรู้ของผู้ประกอบวิชาชีพ • มีความรู้ในเนื้อหาของวิชาชีพ อะไรควรทา อะไรพึงทา และอะไรไม่ควรทา • มีความรู้ ในกฎหมาย ที่เกี่ยวข ้อง • มีบทบาทในการปกป้องคุ้มครองผู้รับบริการให ้ได ้บริการที่มี คุณภาพมาตรฐาน • มีสามัญสานึกการมีส่วนร่วม
  • 79. แผนภูมิโครงสร้างและอัตรากาลัง กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข 240,565 ขรก. – 201,751 พรก. – 9,696 ลจป. – 29,118 สานักงานรัฐมนตรี 34 ขรก. - 26 พรก. - 1 ลจป. - 7 กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนาการแพทย์ กรมการแพทย์ 11,830 ขรก. – 9,275 พรก. - 707 ลจป. – 1,848 กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก 226 ขรก. - 189 พรก. - 35 ลจป. - 2 กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนาการสาธารณสุข กรมควบคุมโรค 5,894 ขรก. – 3,173 พรก. - 883 ลจป. – 1,838 กรมอนามัย 3,777 ขรก. – 2,149 พรก. - 493 ลจป. – 1,135 พนักงานกระทรวงสาธารณสุข/ลูกจ้างชั่วคราว เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ - 167,965 - กรมสุขภาพจิต 5,240 ขรก. – 3,392 พรก. - 687 ลจป. – 1,161 กลุ่มภารกิจ ด้านสนับสนุนงานบริการสุขภาพ กรมสนับสนุน บริการสุขภาพ 1,191 ขรก. - 896พรก. - 86ลจป. - 209 กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ 1,316 ขรก. – 1,021พรก. - 111ลจป. - 184 สานักคณะกรรมการ อาหารและยา 679 ขรก. - 622 พรก. - 14 ลจป. - 43 สานักงานปลัดกระทรวง 210,378 ขรก. – 181,008 พรก. – 6,679 ลจป. – 22,691 ข้อมูล ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557
  • 81.
  • 82.
  • 83. Smart • Strategy • Structure Manpower Money Moral • Act (Ethic) • Action • Relation • Risk • Respect • Technology MS A R T
  • 84.
  • 85.