SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 14
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 3
การสํารวจความคิดเห็น
( 12 ชั่วโมง )
การสํารวจความคิดเห็นเปนการเก็บรวบรวมขอมูลแบบหนึ่งเปนเรื่องที่ใกลตัว
ผูเรียน ซึ่งผูเรียนควรมีความรูพอที่จะสามารถนําผลที่ไดจากการสํารวจไปชวยในการ
ตัดสินใจบางอยางได
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. รูจักวิธีการสํารวจความคิดเห็นอยางงาย
2. นําผลที่ไดจากการสํารวจความคิดเห็นไปใชในการคาดการณบางอยางได
ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวง
ชั้นทางดานความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรู
ทางดานทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปน และสอดแทรกกิจกรรม ปญหา
หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะกระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงให
ผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ
และมีความเชื่อมั่นในตนเอง
ขอเสนอแนะ
ในการสอนเรื่องการสํารวจความคิดเห็น ซึ่งผลการเรียนรูตองการใหผูเรียนรูจัก
วิธีการสํารวจความคิดเห็นอยางงาย พรอมทั้งสามารถนําไปใชได ดังนั้นในการเรียนการ
สอนจึงควรใหมีภาคปฏิบัติโดยการใชกิจกรรมที่เสริมใหผูเรียนมีความเขาใจในวิธีการและ
ขั้นตอนการสํารวจความคิดเห็นดวยตนเอง และเมื่อผูเรียนไดขอสรุปจากการสํารวจความ
คิดเห็นแลว ผูสอนควรใหผูเรียนทํารายงานเพื่อนําเสนอขอสรุปที่ไดจากการทํางานพรอม
51
ทั้งขอเสนอแนะที่อาจเปนความคิดเห็นสวนตัว ทั้งนี้เพื่อฝกใหผูเรียนมีทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตรตามมาตรฐานการเรียนรูที่ไดกําหนดไว
กิจกรรมเสนอแนะ
กิจกรรมที่ 1
เพื่อใหผูเรียนเกิดความเขาใจในสาระเรื่องการสํารวจขอมูล ผูสอนอาจใชกิจกรรม
ในการสํารวจขอมูลอยางงาย ๆ โดยใชหัวขอที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของผูเรียนใน
การทํากิจกรรมดังกลาว ผูเรียนควรมีความรูเพิ่มเติมในเรื่องตอไปนี้
1. แบบสอบถาม
2. วิธีการสํารวจขอมูลโดยใชแบบสอบถาม
3. การเก็บรวบรวมขอมูลและการสรุปผล
1. แบบสอบถามและการสํารวจขอมูลโดยใชแบบสอบถาม
ในการใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการสํารวจขอมูล จําเปนตองออกแบบ
สอบถามใหเหมาะสมโดยพิจารณาจาก
1) เนื้อหาของแบบสอบถาม กอนที่จะลงมือเขียนแบบสอบถาม สิ่งที่ควรตอง
ทราบคือ จุดประสงคของการสํารวจขอมูล โดยจะตองกําหนดสิ่งที่ตองการสํารวจพรอม
ทั้งเหตุผล และกําหนดรายละเอียดเปนหัวขอ ซึ่งควรจะเรียงตามลําดับของความสําคัญ
โดยตองไมกําหนดหัวขอหรือเนื้อหามากเกินไป เพื่อไมทําใหแบบสอบถามยาวเกินไป
และไดคําถามที่ถามตรงประเด็นที่ตองการ ตัวอยางเชน
จุดประสงคของการสํารวจขอมูล ตองการปรับปรุงคุณภาพของอาหารและ
บริการของโรงอาหาร
หัวขอที่ตองการสํารวจ
1. คุณภาพของอาหาร ไดแก รสชาติ ความสะอาด
2. ความหลากหลายของอาหาร ไดแก ประเภทหรือชนิดของอาหารที่มีผูนิยม
รับประทาน หรือตองการใหมีการขายเพิ่มเติม
52
3. การบริการ เชน ตองการใหมีบริการน้ําดื่ม หรือมีบริการขายอาหารวาง
ชวงเวลาเลิกเรียน
ในการสํารวจขอมูลเกี่ยวกับโรงอาหารในโรงเรียน ผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกัน
ระดมความคิดในสิ่งที่ควรทําการสํารวจ จากนั้นจึงนําขอมูลที่ไดมาเรียบเรียงและหา
ขอสรุปเพื่อเลือกประเด็นที่สําคัญ ที่จะใชในการสํารวจขอมูลโดยใชแบบสอบถาม
ขอแนะนําในการเขียนแบบสอบถาม
1. ใชขอความที่กระชับ ชัดเจน เพื่อใหผูตอบแบบสอบถามเขาใจคําถาม หลีกเลี่ยงการ
ใชขอความที่เกี่ยวของกับความรูสึก เชน มาก / นอย โดยไมจําเปนและใชคําถามที่
ผูตอบสามารถตอบไดอยางชัดเจนไมตองอธิบาย เชน
จงระบุรายชื่ออาหารที่ทานชอบมากที่สุดมา 1 รายการ
2. หลีกเลี่ยงการใชคําถามที่อาจไดคําตอบที่แตกตางกันมากทําใหยากในการสรุปขอมูล
เชน ทานมารับประทานอาหารในโรงอาหารเมื่อใด ซึ่งคําตอบอาจจะเปน
7 โมงเชา และเที่ยง
เฉพาะวันจันทร – วันพฤหัสบดี
พักเที่ยงและพักเชา
3. ในกรณีของคําถามปลายเปด การตีกรอบคําตอบอาจชวยทําใหการสรุปขอมูลทําไดงาย
ขึ้น เชน การถามอายุของผูตอบแบบสอบถาม อาจกําหนดอายุเปนชวง ๆ ไว เชน
11 – 13 ป 17 – 25 ป 36 – 50 ป
14 – 16 ป 26 – 35 ป 51 – 60 ป
4. สรางคําถามที่มีคําตอบตายตัว เชน
1) ทานรับประทานอาหารมังสวิรัติหรือไม
ใช ไมใช บางครั้ง
53
2) ทานรับประทานอาหารในโรงอาหารของโรงเรียนหรือไม
ทุกวัน บางวัน นาน ๆ ครั้ง ไมเคยใชบริการ
3) ทานคิดวาอาหารในโรงอาหารของโรงเรียนมีคุณภาพอยางไร (โดยรวม)
ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง
4) โดยเฉลี่ยแลวทานใชเงินในการจายคาอาหารแตละครั้ง เมื่อใชบริการจากโรงอาหาร
10 – 20 บาท 21 – 50 บาท มากกวา 50 บาท
5) เครื่องดื่มที่ทานเลือกจากรานคาในโรงอาหารเปนประจําไดแก
(ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ)
น้ําเปลา น้ําอัดลม ชา กาแฟ
น้ําผลไม เครื่องดื่มบํารุงสุขภาพ (นม น้ําเตาหู)
สําหรับคําถามที่เกี่ยวของกับความคิดเห็นอาจกําหนดใหผูตอบแบบสอบถาม
เรียงลําดับความสําคัญของคําตอบ เชน
1. จงลําดับประเภทอาหารที่ทานชอบโดยให 1 เปนอาหารที่ทานชอบมากที่สุด และ 5
เปนอาหารที่ทานชอบนอยที่สุด
กวยเตี๋ยวแหง น้ํา
ขาวและกับขาว
ขาวมันไก
ขาวขาหมู
อาหารตามสั่ง
54
2. จงบอกเหตุผลที่ทานไมชอบใชบริการจากโรงอาหารของโรงเรียน โดยลําดับความ
ไมชอบมากที่สุดเปน 1 และนอยที่สุดเปน 5
แพงเกินไป
คุณภาพไมดี
รสชาติไมดี
มีใหเลือกนอยอยาง
เสียเวลาคอยนาน
นอกจากนั้นควรจะจัดทําแบบสอบถามที่งายตอการทําความเขาใจ และสามารถ
ตอบคําถามไดงายไมสับสน ในแบบสอบถามควรมีคํากลาวนําถึงจุดประสงคของ
แบบสอบถาม ซึ่งไดแกที่มาและสิ่งที่จะดําเนินการเมื่อไดขอสรุปจากแบบสอบถามแลว
เพื่อใหผูตอบแบบสอบถามไดทราบที่มาและประโยชนในการสํารวจขอมูล
กอนที่จะทําการสํารวจจริงผูสอนอาจใหผูเรียนแตละกลุมนําแบบสอบถามที่กลุม
ของตนเขียนมานําเสนอใหเพื่อนและครูผูสอนไดชวยกันพิจารณาปรับปรุงใหเหมาะสม
กอนนําไปใช สําหรับวิธีการสํารวจขอมูลโดยใชแบบสอบถาม
ผูสอนควรใหผูเรียนศึกษาจากหนังสือเรียน แลวนํามาเสนอวิธีการของแตละกลุม
กับผูสอนและเพื่อน เพื่ออภิปรายหาขอสรุปและคําแนะนํากอนดําเนินการ
ขอเสนอแนะในการเก็บรวบรวมขอมูล และการสรุปผล
1. ในการเก็บรวบรวมขอมูล ผูสอนแนะนําใหผูเรียนนําวิธีการในหนังสือเรียนมาใชโดย
อาจสรุปขอมูลที่ไดใหอยูในรูปรอยละ เชน ตัวอยางจากขอมูลสมมติตอไปนี้
55
ผลการสํารวจเรื่องการรับประทานอาหารในโรงอาหารของโรงเรียน มีดังนี้
จํานวนผูตอบแบบสอบถาม
(คน)
รอยละ
ทุกวัน
บางวัน
นาน ๆ ครั้ง
ไมเคยใชบริการ
57
38
16
9
47.5
31.7
13.3
7.5
รวม 120
จากการสํารวจขอมูลพบวา คนสวนมาก (92.5%) มารับประทานอาหารในโรง
อาหารของโรงเรียน และสวนใหญของผูที่มารับประทาน จะมารับประทานทุกวัน มีเพียง
สวนนอย (7.5%) ที่ไมเคยใชบริการ
2. สําหรับการสรุปความคิดเห็นที่ใหกําหนดลําดับตามความสําคัญ อาจสรุปไดดัง
ตัวอยางตอไปนี้
ประเภทอาหารที่มีผูนิยมรับประทานมากที่สุด สรุปจากคําตอบของผูตอบ
แบบสอบถามที่เลือกเปนอันดับ 1 มีดังนี้
รายการอาหาร จํานวนผูที่เลือกใหเปนอันดับ 1 รอยละ
กวยเตี๋ยวแหง น้ํา
อาหารตามสั่ง
ขาวมันไก
ขาวขาหมู
ขาวและกับขาว
34
15
29
19
23
28.3
12.5
24.2
15.8
19.2
56
จากขอสรุปขางตนพบวา อาหารที่มีผูนิยมรับประทานมากที่สุดโดยเลือกใหเปน
อันดับ 1 คือ กวยเตี๋ยวแหง น้ํา
นอกจากการสรุปโดยใชวิธีที่แสดงขางตน อาจสรุปโดยกําหนดน้ําหนักของ
คะแนนของแตละรายการเปน 1, 2, 3, 4 และ 5 สําหรับการเลือกลําดับที่ 1, 2, 3, 4
และ 5 ตามลําดับ
ใหกวยเตี๋ยวแหง น้ํา มีผูเลือกใหคะแนนเปนลําดับที่ 1 – 5 ดังนี้
ลําดับที่ (n) คะแนน (x) ความถี่ (f)
1
2
3
4
5
1
2
3
4
5
34
31
22
24
9
รวม 120
การหาคะแนนรวมซึ่งเปนคะแนนนิยมของอาหารชนิดนี้ทําไดโดยหาผลรวมของ
คะแนนนิยมที่ไดจากการหาผลคูณคะแนน (x) ของลําดับที่กับจํานวนความถี่ (f) ของผูตอบ
แบบสอบถาม จากตารางขางตน ดังนี้
เนื่องจากจํานวนผูที่เลือกใหกวยเตี๋ยวแหง น้ํา เปนอาหารที่นิยมมากที่สุดเปน
อันดับ 1 มี 34 คน จะไดคะแนนเทากับ 1 × 34 หรือ 34 คะแนน สําหรับคะแนนที่ได
จากลําดับความนิยม 2 – 5 หาไดดังนี้
ลําดับ
(n)
คะแนน
(x)
จํานวนผูที่เลือก
(f)
คะแนนนิยม
(xf)
2
3
4
5
2
3
4
5
31
22
24
9
2 × 31 หรือ 62
3 × 22 หรือ 66
4 × 24 หรือ 96
5 × 9 หรือ 45
57
จากคะแนนที่ไดทั้งหมดนํามาสรุปผลคะแนนนิยมของผูที่เลือกกวยเตี๋ยวแหง น้ํา
ซึ่งเทากับ 303 ไดดังนี้
ลําดับที่ (n) ความถี่ (f) คะแนนนิยม (xf)
1
2
3
4
5
34
31
22
24
9
1 × 34 = 34
2 × 31 = 62
3 × 22 = 66
4 × 24 = 96
5 × 9 = 45
รวม 303
โดยใชวิธีการเดียวกันหาคะแนนนิยมของอาหารแตละชนิดจากผลสรุปของ
แบบสอบถาม โดยใชเกณฑการใหคะแนนตามที่กลาวมาดังนี้
คะแนน
1) กวยเตี๋ยวแหง น้ํา 303
2) อาหารตามสั่ง 432
3) ขาวมันไก 302
4) ขาวขาหมู 377
5) ขาวและกับขาว 386
รวม 1,800 คะแนน
จากขอสรุปโดยใชเกณฑการใหคะแนนนิยมขางตนจะพบวา อาหารที่มีผูนิยม
รับประทานมากที่สุดจะเปนอาหารที่มีคะแนนนอยที่สุดไดแก ขาวมันไก (302 คะแนน)
รองลงมาไดแก กวยเตี๋ยวแหง น้ํา (303 คะแนน) ขาวขาหมู (377 คะแนน) และขาวและ
กับขาว (386 คะแนน) สวนอาหารซึ่งมีคะแนนมากที่สุด คือ อาหารตามสั่งมีคะแนน 432
คะแนน จะเปนอาหารที่มีผูนิยมรับประทานนอยที่สุด
58
ผูสอนควรจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดทําการสํารวจความคิดเห็น โดยผูเรียนจะตองนํา
ความรูที่ไดจากหนังสือเรียนไปทดลองปฏิบัติ เพื่อใหรูจักวิธีการสํารวจความคิดเห็น และ
สามารถนําไปใชประโยชนได
กิจกรรมที่ 2
ในการสํารวจความคิดเห็นจากกลุมบุคคล ในเรื่องตาง ๆ เชน จากคอลัมนใน
หนังสือพิมพรายสัปดาหฉบับหนึ่ง กลาวถึงการสํารวจความเห็นของหญิงไทยตอการ
ทําศัลยกรรมตกแตงวา “ผูหญิงในกรุงเทพฯ สวนใหญ (21.5%) มีความเห็นวา การ
ทําศัลยกรรมตกแตงทําใหสวยขึ้น และเกิดความมั่นใจในตัวเองมากขึ้น ในการสํารวจ
ความเห็นขางตน เปนการสํารวจความคิดเห็นของผูหญิงไทยที่อยูในวัยทํางาน
(ประชากร) โดยสุมตัวอยางจากผูหญิงที่อยูในวัยทํางานในกรุงเทพฯ 200 คน”
จากที่กลาวมาอาจมีขอสงสัยวา ขอสรุปนาเชื่อถือไดหรือไมเพียงใด ในวิชาสถิติมี
วิธีการที่จะบอกไดวา ขอสรุปที่ไดจากการใชตัวอยางเพียงไมกี่ตัวอยาง สามารถที่จะ
บอกลักษณะบางอยางของกลุมประชากรที่สนใจไดอยางถูกตอง หรือนาเชื่อถือไดเพียงใด
โดยการทดสอบสมมติฐาน (testing hypothesis) ซึ่งเปนการวิเคราะหผลที่ไดจากการสุม
ตัวอยางอยางมีหลักเกณฑตามหลักวิธีการทางสถิติที่ถูกตอง อันจะทําใหผลหรือขอสรุปที่
ไดนาเชื่อถือ
การที่จะทดสอบสมมติฐานไดนั้น จําเปนตองมีความรูทางสถิติชั้นสูง
นอกเหนือจากการเรียนรูเนื้อหาสถิติในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อแสดงใหเห็นวา
ขอสรุปที่ไดนาเชื่อถือเพียงใด โดยใชแนวความคิดทางสถิติ และพื้นฐานความรูในเรื่อง
ความนาจะเปน เปนเครื่องมือที่ใชในการวิเคราะหผล ในการทํากิจกรรมที่จะกลาวถึง
ตอไปนี้ ผูสอนควรอธิบายตัวอยางใหผูเรียนเขาใจกอนจากนั้นจึงใหผูเรียนสํารวจความ
คิดเห็นในเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากกลุมนักเรียนในหองจํานวน 25 คน เมื่อไดขอสรุปแลวจึง
คอยดําเนินการเพื่อทดสอบวาขอสรุปที่ไดนาเชื่อถือเพียงใดโดยใชวิธีการดังตัวอยาง
ตอไปนี้
59
ในการสํารวจความคิดเห็นของผูปกครองกลุมหนึ่งที่มีบุตรหลานเปนวัยรุนและมี
อายุต่ํากวา 18 ป มีความเห็นดวยหรือไมวา ผูมีสิทธิ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎรไดควรมีอายุตั้งแต 20 ป บริบูรณขึ้นไป
การสํารวจความคิดเห็นกระทําโดยการสอบถามผูที่มีบุตร จํานวน 25 คน ดวยการ
สุมตัวอยางจากสมุดรายนามผูใชโทรศัพทในเขตกรุงเทพมหานครไดผลสรุปวา
มีผูเห็นดวย 15 คน
มีผูไมเห็นดวย 10 คน
รวมจํานวนผูแสดงความคิดเห็น 25 คน
จากการสุมตัวอยาง สรุปไดวามี คนในเขตกรุงเทพมหานคร เห็นดวยกับ
ความคิดที่วา ผูมีสิทธิ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรได ควรมีอายุ 20 ป
บริบูรณ ขึ้นไป มีจํานวน 15 คน จาก 25 คน หรือคิดเปน 60% ของผูถูกสํารวจ
ขอสรุปดังกลาว เชื่อถือไดหรือไม
เพื่อใหเกิดความมั่นใจมากขึ้นวา คนสวนใหญ (หรือประมาณ 60% ขึ้นไป)
เห็นดวยจริงหรือไม ในทางปฏิบัติอาจจะใชวิธีการสุมซ้ําซึ่งหมายถึงการสํารวจความ
คิดเห็นจากคนที่ถูกสุมมา 25 คน อีกหลาย ๆ กลุมตัวอยาง แลวสํารวจดูวา มีกี่กลุม
ตัวอยางที่มีผูเห็นดวยตั้งแต 15 คน ขึ้นไป
60
พิจารณาผลการสํารวจขอมูลเพิ่มอีก 100 กลุมตัวอยาง ดังนี้
จํานวนผูตอบวาเห็นดวย ความถี่ (จํานวนกลุมตัวอยาง)
0 0
1 0
2 0
3 0
4 0
5 0
6 0
7 1
8 2
9 7
10 9
11 14
12 18
13 15
14 11
15 9
16 7
17 5
18 2
19 0
20 0
21 0
22 0
23 0
24 0
25 0
23 ตัวอยาง
61
จากผลการสํารวจขางตน สรุปไดวา
1. จากการสอบถามจากกลุมตัวอยาง 100 กลุม ไมพบกลุมตัวอยางที่มีผูเห็นดวย 0 ถึง 6 คน
และ 19 ถึง 25 คน จากกลุมตัวอยางละ 25 คน
2. จํานวนกลุมตัวอยางที่มีผูตอบวา เห็นดวย ตั้งแต 15 คน ถึง 18 คน มีทั้งหมด 23 กลุม
ตัวอยาง จาก 100 กลุมตัวอยางดังนี้
15 คน มี 9 กลุมตัวอยาง
16 คน มี 7 กลุมตัวอยาง
17 คน มี 5 กลุมตัวอยาง
18 คน มี 2 กลุมตัวอยาง
รวม 23 กลุมตัวอยาง
สรุปไดวา มี 23 กลุมจาก 100 กลุม ที่มีความเห็นเชนเดียวกับขอสรุปขางตน
จึงกลาวไดวา จากการสอบถามจากกลุมตัวอยางทั้งหมด 100 กลุมตัวอยาง ซึ่งแต
ละกลุมตัวอยางแทนผลการสํารวจความคิดเห็นของคน 25 คน พบวามีเพียง 23 กลุม
ตัวอยาง จาก 100 กลุมตัวอยาง หรือเพียง 23% ที่เห็นดวย แสดงวาขอสรุปนี้มีไมถึง
50% ที่เห็นดวย จึงไมนาที่จะใชแทนความคิดเห็นของคนสวนใหญ (ประชากร) ได หรือ
กลาวไดวา ขอสรุปจากผลจากการสํารวจความคิดเห็นครั้งแรกยังไมนาเชื่อถือ
กิจกรรมดังกลาวนี้เปนแนวคิดหนึ่งที่สามารถทําใหเกิดความเขาใจในเรื่องของการ
ทดลองสุมและการตีความจากการสํารวจความคิดเห็นวา สมควรที่จะเชื่อถือไดหรือไม
แตอยางไรก็ดี ผลการสํารวจแตละครั้งจะนาเชื่อถือหรือไมนั้น จะตองอาศัยความรูทาง
สถิติ ในเรื่องการเลือกตัวอยางและการวิเคราะหและสรุปผลการสํารวจอีกมาก กิจกรรมนี้
จึงเปนเพียงการเสนอแนวความคิดใหกับผูเรียนซึ่งยังไมมีความรูทางสถิติลึกซึ้งไดเขาใจ
ความหมายของการตีความจากการสํารวจไดงายขึ้นเทานั้น
62
กิจกรรมเพิ่มเติม
1. ใหผูเรียนกําหนดหัวขอที่สนใจเพื่อสอบถามความคิดเห็นจากเพื่อนนักเรียนใน
ชั้น เชน การใหผูเรียนชวยกันสํารวจวา มีกิจกรรมใดที่ผูเรียนตองการใหโรงเรียน
สนับสนุน ตัวอยางเชน
1) ดานกีฬา
2) ดานดนตรี
3) การเพิ่มความรูทางวิชาการ
4) พื้นฐานการงานอาชีพที่สามารถนําไปใชได
5) การออม
หรือการใหผูเรียนสอบถามจากผูเรียนที่ใชหองสมุดของโรงเรียนวา ตองการใหมี
หนังสือวารสาร ฯลฯ ประเภทใดเพิ่มเติมในหองสมุด หรือตองการใหหองสมุดของ
โรงเรียนมีบริการใดเพิ่มเติมบาง
2. เมื่อผูเรียนไดหัวขอที่สนใจแลว จึงใชวิธีการสุมเพื่อสอบถามความคิดเห็นจาก
เพื่อนที่อยูในหองเรียนเดียวกันจํานวน 10 คน และเมื่อไดขอสรุปจากการสอบถามความ
คิดเห็นครั้งนี้แลว จึงทําการสอบถามเพิ่มเติมจากผูเรียนในหองเรียนอื่น หรือชั้นเรียนอื่น
โดยสอบถามใหครบ 10 คน แลวสรุปและใหทําซ้ําจนครบ 50 กลุม หรือ 100 กลุม เพื่อ
หาขอสรุปวา ผูเรียนสวนใหญมีความคิดเห็นสอดคลองกับผูเรียน 10 คนแรกที่อยูใน
หองเรียนเดียวกันหรือไม
การประเมินผล
เนื่องจากการเรียนการสอนในบทนี้ตองการใหผูเรียนมีความเขาใจวิธีการและนําผล
ที่ไดจากการสํารวจความคิดเห็นไปใชได ผูสอนจึงควรประเมินผลการเรียนรูโดยประเมิน
จากกิจกรรมที่มอบหมายใหแตละกลุมไปปฏิบัติโดยใชวิธีการที่หลากหลาย เชน การ
สังเกตการทํางานรวมกันเปนกลุม การวางแผนการทํางาน การคนควาขอมูล เพิ่มเติม
ความคิดสรางสรรคในการทํางาน ความสามารถในการสื่อสารขอมูลไดอยางถูกตอง และ
ชัดเจนรวมทั้งผลงานที่นําเสนอในรูปรายงานดวย
63
ตารางเลขสุม
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
1 03 47 43 73 89 36 96 47 36 61 46 98 63 71 62 33 26 16 80 45
2 97 74 24 67 62 42 81 14 54 20 42 53 32 37 32 27 07 36 07 51
3 16 76 62 27 66 56 50 26 71 07 32 90 79 78 83 13 55 38 58 89
4 12 56 85 99 26 96 96 68 27 31 05 03 72 93 15 57 12 10 14 21
5 55 59 56 35 64 38 54 82 46 22 31 62 43 09 90 06 18 44 32 53
6 60 11 14 10 95 06 22 77 94 39 49 54 43 54 81 17 37 93 23 78
7 24 51 79 89 73 84 42 17 53 31 57 24 55 06 88 77 04 74 47 67
8 88 97 54 14 10 63 01 63 78 59 16 95 55 67 19 98 10 50 71 75
9 88 26 49 81 76 33 21 12 34 29 78 64 56 07 82 52 42 07 44 38
10 23 83 01 30 30 53 60 86 32 44 06 47 27 96 54 49 17 46 09 62
11 87 35 20 96 43 84 26 34 91 64 18 18 07 92 46 44 17 16 53 09
12 21 76 33 50 25 83 92 12 06 76 26 62 38 97 75 84 16 07 44 99
13 12 86 73 58 07 44 36 52 38 79 23 42 40 64 74 82 92 77 77 81
14 15 51 11 13 42 99 66 02 79 54 52 36 28 19 95 50 92 26 11 79
15 90 52 84 77 27 08 02 73 43 28 37 85 94 35 12 83 39 50 08 30
16 39 83 86 19 62 06 76 50 30 10 55 23 64 05 05 70 29 14 12 13
17 83 11 46 32 24 20 14 85 88 45 10 93 72 88 70 56 62 18 37 35
18 07 45 32 14 08 32 98 94 07 72 93 85 79 10 75 19 49 57 22 77
19 00 56 76 31 38 80 22 02 53 35 86 60 42 04 53 16 08 15 04 72
20 42 34 03 96 88 54 42 06 87 78 36 35 25 48 39 31 16 93 32 43
21 40 33 20 38 26 13 89 51 03 74 17 76 37 13 04 07 74 21 19 30
22 96 83 50 87 75 97 12 25 93 47 70 33 24 03 54 97 77 46 44 80
23 88 42 94 45 72 16 64 36 16 00 04 43 18 66 79 94 77 24 21 90
24 33 27 14 37 09 45 89 34 68 40 12 72 07 33 45 99 27 72 90 14
25 50 27 89 87 10 20 15 37 00 47 52 85 66 60 44 38 68 88 11 80

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับmathsanook
 

La actualidad más candente (20)

28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับ
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
 
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น171 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
 
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
 
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
 
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 

Destacado

Destacado (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล285 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
 
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 

Similar a Basic m5-2-chapter3

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3sopa sangsuy
 
แผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตแผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตkrupornpana55
 
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียงพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียงNalai Rinrith
 
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียงพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียงNalai Rinrith
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบNona Khet
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี starkrurutsamee
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.Kaisorn Sripuwong
 

Similar a Basic m5-2-chapter3 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
8บทที่4
8บทที่4 8บทที่4
8บทที่4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตแผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิต
 
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียงพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
 
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียงพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี star
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Más de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Más de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (15)

Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4
 
Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1
 
Basic m3-1-link
Basic m3-1-linkBasic m3-1-link
Basic m3-1-link
 
Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
Basic m2-2-chapter3
Basic m2-2-chapter3Basic m2-2-chapter3
Basic m2-2-chapter3
 
Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4
 

Basic m5-2-chapter3

  • 1. บทที่ 3 การสํารวจความคิดเห็น ( 12 ชั่วโมง ) การสํารวจความคิดเห็นเปนการเก็บรวบรวมขอมูลแบบหนึ่งเปนเรื่องที่ใกลตัว ผูเรียน ซึ่งผูเรียนควรมีความรูพอที่จะสามารถนําผลที่ไดจากการสํารวจไปชวยในการ ตัดสินใจบางอยางได ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. รูจักวิธีการสํารวจความคิดเห็นอยางงาย 2. นําผลที่ไดจากการสํารวจความคิดเห็นไปใชในการคาดการณบางอยางได ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวง ชั้นทางดานความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรู ทางดานทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปน และสอดแทรกกิจกรรม ปญหา หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะกระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงให ผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง ขอเสนอแนะ ในการสอนเรื่องการสํารวจความคิดเห็น ซึ่งผลการเรียนรูตองการใหผูเรียนรูจัก วิธีการสํารวจความคิดเห็นอยางงาย พรอมทั้งสามารถนําไปใชได ดังนั้นในการเรียนการ สอนจึงควรใหมีภาคปฏิบัติโดยการใชกิจกรรมที่เสริมใหผูเรียนมีความเขาใจในวิธีการและ ขั้นตอนการสํารวจความคิดเห็นดวยตนเอง และเมื่อผูเรียนไดขอสรุปจากการสํารวจความ คิดเห็นแลว ผูสอนควรใหผูเรียนทํารายงานเพื่อนําเสนอขอสรุปที่ไดจากการทํางานพรอม
  • 2. 51 ทั้งขอเสนอแนะที่อาจเปนความคิดเห็นสวนตัว ทั้งนี้เพื่อฝกใหผูเรียนมีทักษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตรตามมาตรฐานการเรียนรูที่ไดกําหนดไว กิจกรรมเสนอแนะ กิจกรรมที่ 1 เพื่อใหผูเรียนเกิดความเขาใจในสาระเรื่องการสํารวจขอมูล ผูสอนอาจใชกิจกรรม ในการสํารวจขอมูลอยางงาย ๆ โดยใชหัวขอที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของผูเรียนใน การทํากิจกรรมดังกลาว ผูเรียนควรมีความรูเพิ่มเติมในเรื่องตอไปนี้ 1. แบบสอบถาม 2. วิธีการสํารวจขอมูลโดยใชแบบสอบถาม 3. การเก็บรวบรวมขอมูลและการสรุปผล 1. แบบสอบถามและการสํารวจขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ในการใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการสํารวจขอมูล จําเปนตองออกแบบ สอบถามใหเหมาะสมโดยพิจารณาจาก 1) เนื้อหาของแบบสอบถาม กอนที่จะลงมือเขียนแบบสอบถาม สิ่งที่ควรตอง ทราบคือ จุดประสงคของการสํารวจขอมูล โดยจะตองกําหนดสิ่งที่ตองการสํารวจพรอม ทั้งเหตุผล และกําหนดรายละเอียดเปนหัวขอ ซึ่งควรจะเรียงตามลําดับของความสําคัญ โดยตองไมกําหนดหัวขอหรือเนื้อหามากเกินไป เพื่อไมทําใหแบบสอบถามยาวเกินไป และไดคําถามที่ถามตรงประเด็นที่ตองการ ตัวอยางเชน จุดประสงคของการสํารวจขอมูล ตองการปรับปรุงคุณภาพของอาหารและ บริการของโรงอาหาร หัวขอที่ตองการสํารวจ 1. คุณภาพของอาหาร ไดแก รสชาติ ความสะอาด 2. ความหลากหลายของอาหาร ไดแก ประเภทหรือชนิดของอาหารที่มีผูนิยม รับประทาน หรือตองการใหมีการขายเพิ่มเติม
  • 3. 52 3. การบริการ เชน ตองการใหมีบริการน้ําดื่ม หรือมีบริการขายอาหารวาง ชวงเวลาเลิกเรียน ในการสํารวจขอมูลเกี่ยวกับโรงอาหารในโรงเรียน ผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกัน ระดมความคิดในสิ่งที่ควรทําการสํารวจ จากนั้นจึงนําขอมูลที่ไดมาเรียบเรียงและหา ขอสรุปเพื่อเลือกประเด็นที่สําคัญ ที่จะใชในการสํารวจขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ขอแนะนําในการเขียนแบบสอบถาม 1. ใชขอความที่กระชับ ชัดเจน เพื่อใหผูตอบแบบสอบถามเขาใจคําถาม หลีกเลี่ยงการ ใชขอความที่เกี่ยวของกับความรูสึก เชน มาก / นอย โดยไมจําเปนและใชคําถามที่ ผูตอบสามารถตอบไดอยางชัดเจนไมตองอธิบาย เชน จงระบุรายชื่ออาหารที่ทานชอบมากที่สุดมา 1 รายการ 2. หลีกเลี่ยงการใชคําถามที่อาจไดคําตอบที่แตกตางกันมากทําใหยากในการสรุปขอมูล เชน ทานมารับประทานอาหารในโรงอาหารเมื่อใด ซึ่งคําตอบอาจจะเปน 7 โมงเชา และเที่ยง เฉพาะวันจันทร – วันพฤหัสบดี พักเที่ยงและพักเชา 3. ในกรณีของคําถามปลายเปด การตีกรอบคําตอบอาจชวยทําใหการสรุปขอมูลทําไดงาย ขึ้น เชน การถามอายุของผูตอบแบบสอบถาม อาจกําหนดอายุเปนชวง ๆ ไว เชน 11 – 13 ป 17 – 25 ป 36 – 50 ป 14 – 16 ป 26 – 35 ป 51 – 60 ป 4. สรางคําถามที่มีคําตอบตายตัว เชน 1) ทานรับประทานอาหารมังสวิรัติหรือไม ใช ไมใช บางครั้ง
  • 4. 53 2) ทานรับประทานอาหารในโรงอาหารของโรงเรียนหรือไม ทุกวัน บางวัน นาน ๆ ครั้ง ไมเคยใชบริการ 3) ทานคิดวาอาหารในโรงอาหารของโรงเรียนมีคุณภาพอยางไร (โดยรวม) ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง 4) โดยเฉลี่ยแลวทานใชเงินในการจายคาอาหารแตละครั้ง เมื่อใชบริการจากโรงอาหาร 10 – 20 บาท 21 – 50 บาท มากกวา 50 บาท 5) เครื่องดื่มที่ทานเลือกจากรานคาในโรงอาหารเปนประจําไดแก (ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ) น้ําเปลา น้ําอัดลม ชา กาแฟ น้ําผลไม เครื่องดื่มบํารุงสุขภาพ (นม น้ําเตาหู) สําหรับคําถามที่เกี่ยวของกับความคิดเห็นอาจกําหนดใหผูตอบแบบสอบถาม เรียงลําดับความสําคัญของคําตอบ เชน 1. จงลําดับประเภทอาหารที่ทานชอบโดยให 1 เปนอาหารที่ทานชอบมากที่สุด และ 5 เปนอาหารที่ทานชอบนอยที่สุด กวยเตี๋ยวแหง น้ํา ขาวและกับขาว ขาวมันไก ขาวขาหมู อาหารตามสั่ง
  • 5. 54 2. จงบอกเหตุผลที่ทานไมชอบใชบริการจากโรงอาหารของโรงเรียน โดยลําดับความ ไมชอบมากที่สุดเปน 1 และนอยที่สุดเปน 5 แพงเกินไป คุณภาพไมดี รสชาติไมดี มีใหเลือกนอยอยาง เสียเวลาคอยนาน นอกจากนั้นควรจะจัดทําแบบสอบถามที่งายตอการทําความเขาใจ และสามารถ ตอบคําถามไดงายไมสับสน ในแบบสอบถามควรมีคํากลาวนําถึงจุดประสงคของ แบบสอบถาม ซึ่งไดแกที่มาและสิ่งที่จะดําเนินการเมื่อไดขอสรุปจากแบบสอบถามแลว เพื่อใหผูตอบแบบสอบถามไดทราบที่มาและประโยชนในการสํารวจขอมูล กอนที่จะทําการสํารวจจริงผูสอนอาจใหผูเรียนแตละกลุมนําแบบสอบถามที่กลุม ของตนเขียนมานําเสนอใหเพื่อนและครูผูสอนไดชวยกันพิจารณาปรับปรุงใหเหมาะสม กอนนําไปใช สําหรับวิธีการสํารวจขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ผูสอนควรใหผูเรียนศึกษาจากหนังสือเรียน แลวนํามาเสนอวิธีการของแตละกลุม กับผูสอนและเพื่อน เพื่ออภิปรายหาขอสรุปและคําแนะนํากอนดําเนินการ ขอเสนอแนะในการเก็บรวบรวมขอมูล และการสรุปผล 1. ในการเก็บรวบรวมขอมูล ผูสอนแนะนําใหผูเรียนนําวิธีการในหนังสือเรียนมาใชโดย อาจสรุปขอมูลที่ไดใหอยูในรูปรอยละ เชน ตัวอยางจากขอมูลสมมติตอไปนี้
  • 6. 55 ผลการสํารวจเรื่องการรับประทานอาหารในโรงอาหารของโรงเรียน มีดังนี้ จํานวนผูตอบแบบสอบถาม (คน) รอยละ ทุกวัน บางวัน นาน ๆ ครั้ง ไมเคยใชบริการ 57 38 16 9 47.5 31.7 13.3 7.5 รวม 120 จากการสํารวจขอมูลพบวา คนสวนมาก (92.5%) มารับประทานอาหารในโรง อาหารของโรงเรียน และสวนใหญของผูที่มารับประทาน จะมารับประทานทุกวัน มีเพียง สวนนอย (7.5%) ที่ไมเคยใชบริการ 2. สําหรับการสรุปความคิดเห็นที่ใหกําหนดลําดับตามความสําคัญ อาจสรุปไดดัง ตัวอยางตอไปนี้ ประเภทอาหารที่มีผูนิยมรับประทานมากที่สุด สรุปจากคําตอบของผูตอบ แบบสอบถามที่เลือกเปนอันดับ 1 มีดังนี้ รายการอาหาร จํานวนผูที่เลือกใหเปนอันดับ 1 รอยละ กวยเตี๋ยวแหง น้ํา อาหารตามสั่ง ขาวมันไก ขาวขาหมู ขาวและกับขาว 34 15 29 19 23 28.3 12.5 24.2 15.8 19.2
  • 7. 56 จากขอสรุปขางตนพบวา อาหารที่มีผูนิยมรับประทานมากที่สุดโดยเลือกใหเปน อันดับ 1 คือ กวยเตี๋ยวแหง น้ํา นอกจากการสรุปโดยใชวิธีที่แสดงขางตน อาจสรุปโดยกําหนดน้ําหนักของ คะแนนของแตละรายการเปน 1, 2, 3, 4 และ 5 สําหรับการเลือกลําดับที่ 1, 2, 3, 4 และ 5 ตามลําดับ ใหกวยเตี๋ยวแหง น้ํา มีผูเลือกใหคะแนนเปนลําดับที่ 1 – 5 ดังนี้ ลําดับที่ (n) คะแนน (x) ความถี่ (f) 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 34 31 22 24 9 รวม 120 การหาคะแนนรวมซึ่งเปนคะแนนนิยมของอาหารชนิดนี้ทําไดโดยหาผลรวมของ คะแนนนิยมที่ไดจากการหาผลคูณคะแนน (x) ของลําดับที่กับจํานวนความถี่ (f) ของผูตอบ แบบสอบถาม จากตารางขางตน ดังนี้ เนื่องจากจํานวนผูที่เลือกใหกวยเตี๋ยวแหง น้ํา เปนอาหารที่นิยมมากที่สุดเปน อันดับ 1 มี 34 คน จะไดคะแนนเทากับ 1 × 34 หรือ 34 คะแนน สําหรับคะแนนที่ได จากลําดับความนิยม 2 – 5 หาไดดังนี้ ลําดับ (n) คะแนน (x) จํานวนผูที่เลือก (f) คะแนนนิยม (xf) 2 3 4 5 2 3 4 5 31 22 24 9 2 × 31 หรือ 62 3 × 22 หรือ 66 4 × 24 หรือ 96 5 × 9 หรือ 45
  • 8. 57 จากคะแนนที่ไดทั้งหมดนํามาสรุปผลคะแนนนิยมของผูที่เลือกกวยเตี๋ยวแหง น้ํา ซึ่งเทากับ 303 ไดดังนี้ ลําดับที่ (n) ความถี่ (f) คะแนนนิยม (xf) 1 2 3 4 5 34 31 22 24 9 1 × 34 = 34 2 × 31 = 62 3 × 22 = 66 4 × 24 = 96 5 × 9 = 45 รวม 303 โดยใชวิธีการเดียวกันหาคะแนนนิยมของอาหารแตละชนิดจากผลสรุปของ แบบสอบถาม โดยใชเกณฑการใหคะแนนตามที่กลาวมาดังนี้ คะแนน 1) กวยเตี๋ยวแหง น้ํา 303 2) อาหารตามสั่ง 432 3) ขาวมันไก 302 4) ขาวขาหมู 377 5) ขาวและกับขาว 386 รวม 1,800 คะแนน จากขอสรุปโดยใชเกณฑการใหคะแนนนิยมขางตนจะพบวา อาหารที่มีผูนิยม รับประทานมากที่สุดจะเปนอาหารที่มีคะแนนนอยที่สุดไดแก ขาวมันไก (302 คะแนน) รองลงมาไดแก กวยเตี๋ยวแหง น้ํา (303 คะแนน) ขาวขาหมู (377 คะแนน) และขาวและ กับขาว (386 คะแนน) สวนอาหารซึ่งมีคะแนนมากที่สุด คือ อาหารตามสั่งมีคะแนน 432 คะแนน จะเปนอาหารที่มีผูนิยมรับประทานนอยที่สุด
  • 9. 58 ผูสอนควรจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดทําการสํารวจความคิดเห็น โดยผูเรียนจะตองนํา ความรูที่ไดจากหนังสือเรียนไปทดลองปฏิบัติ เพื่อใหรูจักวิธีการสํารวจความคิดเห็น และ สามารถนําไปใชประโยชนได กิจกรรมที่ 2 ในการสํารวจความคิดเห็นจากกลุมบุคคล ในเรื่องตาง ๆ เชน จากคอลัมนใน หนังสือพิมพรายสัปดาหฉบับหนึ่ง กลาวถึงการสํารวจความเห็นของหญิงไทยตอการ ทําศัลยกรรมตกแตงวา “ผูหญิงในกรุงเทพฯ สวนใหญ (21.5%) มีความเห็นวา การ ทําศัลยกรรมตกแตงทําใหสวยขึ้น และเกิดความมั่นใจในตัวเองมากขึ้น ในการสํารวจ ความเห็นขางตน เปนการสํารวจความคิดเห็นของผูหญิงไทยที่อยูในวัยทํางาน (ประชากร) โดยสุมตัวอยางจากผูหญิงที่อยูในวัยทํางานในกรุงเทพฯ 200 คน” จากที่กลาวมาอาจมีขอสงสัยวา ขอสรุปนาเชื่อถือไดหรือไมเพียงใด ในวิชาสถิติมี วิธีการที่จะบอกไดวา ขอสรุปที่ไดจากการใชตัวอยางเพียงไมกี่ตัวอยาง สามารถที่จะ บอกลักษณะบางอยางของกลุมประชากรที่สนใจไดอยางถูกตอง หรือนาเชื่อถือไดเพียงใด โดยการทดสอบสมมติฐาน (testing hypothesis) ซึ่งเปนการวิเคราะหผลที่ไดจากการสุม ตัวอยางอยางมีหลักเกณฑตามหลักวิธีการทางสถิติที่ถูกตอง อันจะทําใหผลหรือขอสรุปที่ ไดนาเชื่อถือ การที่จะทดสอบสมมติฐานไดนั้น จําเปนตองมีความรูทางสถิติชั้นสูง นอกเหนือจากการเรียนรูเนื้อหาสถิติในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อแสดงใหเห็นวา ขอสรุปที่ไดนาเชื่อถือเพียงใด โดยใชแนวความคิดทางสถิติ และพื้นฐานความรูในเรื่อง ความนาจะเปน เปนเครื่องมือที่ใชในการวิเคราะหผล ในการทํากิจกรรมที่จะกลาวถึง ตอไปนี้ ผูสอนควรอธิบายตัวอยางใหผูเรียนเขาใจกอนจากนั้นจึงใหผูเรียนสํารวจความ คิดเห็นในเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากกลุมนักเรียนในหองจํานวน 25 คน เมื่อไดขอสรุปแลวจึง คอยดําเนินการเพื่อทดสอบวาขอสรุปที่ไดนาเชื่อถือเพียงใดโดยใชวิธีการดังตัวอยาง ตอไปนี้
  • 10. 59 ในการสํารวจความคิดเห็นของผูปกครองกลุมหนึ่งที่มีบุตรหลานเปนวัยรุนและมี อายุต่ํากวา 18 ป มีความเห็นดวยหรือไมวา ผูมีสิทธิ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรไดควรมีอายุตั้งแต 20 ป บริบูรณขึ้นไป การสํารวจความคิดเห็นกระทําโดยการสอบถามผูที่มีบุตร จํานวน 25 คน ดวยการ สุมตัวอยางจากสมุดรายนามผูใชโทรศัพทในเขตกรุงเทพมหานครไดผลสรุปวา มีผูเห็นดวย 15 คน มีผูไมเห็นดวย 10 คน รวมจํานวนผูแสดงความคิดเห็น 25 คน จากการสุมตัวอยาง สรุปไดวามี คนในเขตกรุงเทพมหานคร เห็นดวยกับ ความคิดที่วา ผูมีสิทธิ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรได ควรมีอายุ 20 ป บริบูรณ ขึ้นไป มีจํานวน 15 คน จาก 25 คน หรือคิดเปน 60% ของผูถูกสํารวจ ขอสรุปดังกลาว เชื่อถือไดหรือไม เพื่อใหเกิดความมั่นใจมากขึ้นวา คนสวนใหญ (หรือประมาณ 60% ขึ้นไป) เห็นดวยจริงหรือไม ในทางปฏิบัติอาจจะใชวิธีการสุมซ้ําซึ่งหมายถึงการสํารวจความ คิดเห็นจากคนที่ถูกสุมมา 25 คน อีกหลาย ๆ กลุมตัวอยาง แลวสํารวจดูวา มีกี่กลุม ตัวอยางที่มีผูเห็นดวยตั้งแต 15 คน ขึ้นไป
  • 11. 60 พิจารณาผลการสํารวจขอมูลเพิ่มอีก 100 กลุมตัวอยาง ดังนี้ จํานวนผูตอบวาเห็นดวย ความถี่ (จํานวนกลุมตัวอยาง) 0 0 1 0 2 0 3 0 4 0 5 0 6 0 7 1 8 2 9 7 10 9 11 14 12 18 13 15 14 11 15 9 16 7 17 5 18 2 19 0 20 0 21 0 22 0 23 0 24 0 25 0 23 ตัวอยาง
  • 12. 61 จากผลการสํารวจขางตน สรุปไดวา 1. จากการสอบถามจากกลุมตัวอยาง 100 กลุม ไมพบกลุมตัวอยางที่มีผูเห็นดวย 0 ถึง 6 คน และ 19 ถึง 25 คน จากกลุมตัวอยางละ 25 คน 2. จํานวนกลุมตัวอยางที่มีผูตอบวา เห็นดวย ตั้งแต 15 คน ถึง 18 คน มีทั้งหมด 23 กลุม ตัวอยาง จาก 100 กลุมตัวอยางดังนี้ 15 คน มี 9 กลุมตัวอยาง 16 คน มี 7 กลุมตัวอยาง 17 คน มี 5 กลุมตัวอยาง 18 คน มี 2 กลุมตัวอยาง รวม 23 กลุมตัวอยาง สรุปไดวา มี 23 กลุมจาก 100 กลุม ที่มีความเห็นเชนเดียวกับขอสรุปขางตน จึงกลาวไดวา จากการสอบถามจากกลุมตัวอยางทั้งหมด 100 กลุมตัวอยาง ซึ่งแต ละกลุมตัวอยางแทนผลการสํารวจความคิดเห็นของคน 25 คน พบวามีเพียง 23 กลุม ตัวอยาง จาก 100 กลุมตัวอยาง หรือเพียง 23% ที่เห็นดวย แสดงวาขอสรุปนี้มีไมถึง 50% ที่เห็นดวย จึงไมนาที่จะใชแทนความคิดเห็นของคนสวนใหญ (ประชากร) ได หรือ กลาวไดวา ขอสรุปจากผลจากการสํารวจความคิดเห็นครั้งแรกยังไมนาเชื่อถือ กิจกรรมดังกลาวนี้เปนแนวคิดหนึ่งที่สามารถทําใหเกิดความเขาใจในเรื่องของการ ทดลองสุมและการตีความจากการสํารวจความคิดเห็นวา สมควรที่จะเชื่อถือไดหรือไม แตอยางไรก็ดี ผลการสํารวจแตละครั้งจะนาเชื่อถือหรือไมนั้น จะตองอาศัยความรูทาง สถิติ ในเรื่องการเลือกตัวอยางและการวิเคราะหและสรุปผลการสํารวจอีกมาก กิจกรรมนี้ จึงเปนเพียงการเสนอแนวความคิดใหกับผูเรียนซึ่งยังไมมีความรูทางสถิติลึกซึ้งไดเขาใจ ความหมายของการตีความจากการสํารวจไดงายขึ้นเทานั้น
  • 13. 62 กิจกรรมเพิ่มเติม 1. ใหผูเรียนกําหนดหัวขอที่สนใจเพื่อสอบถามความคิดเห็นจากเพื่อนนักเรียนใน ชั้น เชน การใหผูเรียนชวยกันสํารวจวา มีกิจกรรมใดที่ผูเรียนตองการใหโรงเรียน สนับสนุน ตัวอยางเชน 1) ดานกีฬา 2) ดานดนตรี 3) การเพิ่มความรูทางวิชาการ 4) พื้นฐานการงานอาชีพที่สามารถนําไปใชได 5) การออม หรือการใหผูเรียนสอบถามจากผูเรียนที่ใชหองสมุดของโรงเรียนวา ตองการใหมี หนังสือวารสาร ฯลฯ ประเภทใดเพิ่มเติมในหองสมุด หรือตองการใหหองสมุดของ โรงเรียนมีบริการใดเพิ่มเติมบาง 2. เมื่อผูเรียนไดหัวขอที่สนใจแลว จึงใชวิธีการสุมเพื่อสอบถามความคิดเห็นจาก เพื่อนที่อยูในหองเรียนเดียวกันจํานวน 10 คน และเมื่อไดขอสรุปจากการสอบถามความ คิดเห็นครั้งนี้แลว จึงทําการสอบถามเพิ่มเติมจากผูเรียนในหองเรียนอื่น หรือชั้นเรียนอื่น โดยสอบถามใหครบ 10 คน แลวสรุปและใหทําซ้ําจนครบ 50 กลุม หรือ 100 กลุม เพื่อ หาขอสรุปวา ผูเรียนสวนใหญมีความคิดเห็นสอดคลองกับผูเรียน 10 คนแรกที่อยูใน หองเรียนเดียวกันหรือไม การประเมินผล เนื่องจากการเรียนการสอนในบทนี้ตองการใหผูเรียนมีความเขาใจวิธีการและนําผล ที่ไดจากการสํารวจความคิดเห็นไปใชได ผูสอนจึงควรประเมินผลการเรียนรูโดยประเมิน จากกิจกรรมที่มอบหมายใหแตละกลุมไปปฏิบัติโดยใชวิธีการที่หลากหลาย เชน การ สังเกตการทํางานรวมกันเปนกลุม การวางแผนการทํางาน การคนควาขอมูล เพิ่มเติม ความคิดสรางสรรคในการทํางาน ความสามารถในการสื่อสารขอมูลไดอยางถูกตอง และ ชัดเจนรวมทั้งผลงานที่นําเสนอในรูปรายงานดวย
  • 14. 63 ตารางเลขสุม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 1 03 47 43 73 89 36 96 47 36 61 46 98 63 71 62 33 26 16 80 45 2 97 74 24 67 62 42 81 14 54 20 42 53 32 37 32 27 07 36 07 51 3 16 76 62 27 66 56 50 26 71 07 32 90 79 78 83 13 55 38 58 89 4 12 56 85 99 26 96 96 68 27 31 05 03 72 93 15 57 12 10 14 21 5 55 59 56 35 64 38 54 82 46 22 31 62 43 09 90 06 18 44 32 53 6 60 11 14 10 95 06 22 77 94 39 49 54 43 54 81 17 37 93 23 78 7 24 51 79 89 73 84 42 17 53 31 57 24 55 06 88 77 04 74 47 67 8 88 97 54 14 10 63 01 63 78 59 16 95 55 67 19 98 10 50 71 75 9 88 26 49 81 76 33 21 12 34 29 78 64 56 07 82 52 42 07 44 38 10 23 83 01 30 30 53 60 86 32 44 06 47 27 96 54 49 17 46 09 62 11 87 35 20 96 43 84 26 34 91 64 18 18 07 92 46 44 17 16 53 09 12 21 76 33 50 25 83 92 12 06 76 26 62 38 97 75 84 16 07 44 99 13 12 86 73 58 07 44 36 52 38 79 23 42 40 64 74 82 92 77 77 81 14 15 51 11 13 42 99 66 02 79 54 52 36 28 19 95 50 92 26 11 79 15 90 52 84 77 27 08 02 73 43 28 37 85 94 35 12 83 39 50 08 30 16 39 83 86 19 62 06 76 50 30 10 55 23 64 05 05 70 29 14 12 13 17 83 11 46 32 24 20 14 85 88 45 10 93 72 88 70 56 62 18 37 35 18 07 45 32 14 08 32 98 94 07 72 93 85 79 10 75 19 49 57 22 77 19 00 56 76 31 38 80 22 02 53 35 86 60 42 04 53 16 08 15 04 72 20 42 34 03 96 88 54 42 06 87 78 36 35 25 48 39 31 16 93 32 43 21 40 33 20 38 26 13 89 51 03 74 17 76 37 13 04 07 74 21 19 30 22 96 83 50 87 75 97 12 25 93 47 70 33 24 03 54 97 77 46 44 80 23 88 42 94 45 72 16 64 36 16 00 04 43 18 66 79 94 77 24 21 90 24 33 27 14 37 09 45 89 34 68 40 12 72 07 33 45 99 27 72 90 14 25 50 27 89 87 10 20 15 37 00 47 52 85 66 60 44 38 68 88 11 80