SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 41
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 2
การวิเคราะหขอมูลเบื้องตน
( 20 ชั่วโมง )
สถิติเปนวิชาที่มีบทบาทในชีวิตประจําวัน และเปนวิชาที่มีบทบาทในแทบทุก
วงการ การใหผูเรียนไดมีความรูพื้นฐานทางสถิติอยางเพียงพอ และสามารถวิเคราะห
ขอมูลอยางงายไดจึงเปนสิ่งที่จําเปนตอการเรียนรูของผูเรียน
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. เลือกใชคากลางที่เหมาะสมกับขอมูลที่กําหนดใหและวัตถุประสงคที่ตองการ
2. วิเคราะหขอมูลเบื้องตนโดยใชคากลาง (คาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม) การ
วัดการกระจายโดยใชสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาตําแหนงที่ของขอมูลโดยใช
เปอรเซ็นไทลได
3. ใชขอมูลขาวสารและคาสถิติชวยในการตัดสินใจบางอยางได
ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น
ทางดานความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรู
ทางดานทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปน และสอดแทรกกิจกรรม ปญหา
หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะกระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียน
ทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมี
ความเชื่อมั่นในตนเอง
ขอเสนอแนะ
1. สถิติเปนวิชาที่วาดวยการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาขอสรุปจากขอมูลเพื่ออธิบาย
หรือตอบปญหาที่สนใจ การวิเคราะหขอมูลที่ผูเรียนจะตองศึกษาในชั้นนี้เปนศาสตรที่
กลาวถึงการสรุปสาระสําคัญที่มีอยูในขอมูลและนําเสนอขอมูลดวยคาสถิติ เชน คากลาง
10
คาการวัดการกระจาย แผนภาพ ฯลฯ เพื่ออธิบายลักษณะของขอมูลชุดนั้น ซึ่งในปจจุบัน
ไดมีการพัฒนาโปรแกรมสําเร็จรูป เครื่องคํานวณ เชน เครื่องคิดเลขที่สามารถหาคาสถิติได
ทําใหสามารถหาคาที่ตองการไดอยางรวดเร็ว ในปจจุบันการเรียนการสอนวิชาสถิติ จึงไม
จําเปนตองมุงฝกทักษะการหาคาสถิติตาง ๆ ใหถูกตองแมนยํา เนื่องจากในชีวิตจริงของ
ผูเรียนจะตองใชเครื่องคํานวณมาชวยในการหาคาสถิติที่ตองการอยูแลว สิ่งที่ผูสอนควร
คํานึงคือการสอนใหผูเรียนมีความรูพื้นฐาน มีความเขาใจ และสามารถนําความรู ความ
เขาใจในวิชาสถิติไปใชในการแกปญหาและชวยในการตัดสินใจบางอยางได
2. เนื่องจากในชวงชั้นที่ 3 (ม.1 – ม.3) ผูเรียนมีพื้นฐานในเรื่องการหาคากลาง
มาแลว ดังนั้น การกลาวถึงการหาคากลางในชวงชั้นนี้จึงกลาวถึงในลักษณะของการ
ทบทวน และในสวนที่เพิ่มเติมจากวิธีการที่กลาวไวตอจากชวงชั้นที่ 3 เชน การหาคากลาง
ของขอมูลที่แจกแจงความถี่ในรูปอันตรภาคชั้น
สําหรับวิธีการหาคากลางโดยการทอนคาของขอมูลใหนอยลง ดังวิธีการใน
ตัวอยางที่ 12 หัวขอการหาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลที่แจกแจงความถี่แลว มีไวเพื่อให
ผูเรียนไดเขาใจวิธีการหาคากลางแบบตาง ๆ และอาจหาคากลางของขอมูลที่มีจํานวนไมมาก
นักโดยใชวิธีการขางตนไดเมื่อไมมีเครื่องคํานวณชวย แตไมมีวัตถุประสงคใหผูเรียนฝก
ทักษะในสวนนี้แตอยางใด
3. การสรางตารางแจกแจงความถี่นั้นเปนการจัดระบบขอมูลเบื้องตน แตมีขอเสีย
คือ ทําใหเราไมทราบคาที่แทจริงของขอมูล ทราบแตเพียงคราว ๆ วา คาของขอมูลอยู
ในชวงที่กลาวถึง ดังนั้นยิ่งอันตรภาคชั้นมีความกวางมากขึ้นก็ยิ่งทําใหเราทราบลักษณะของ
ขอมูลนอยลง รวมทั้งการนําตารางที่ไดไปหาคากลางของขอมูล เมื่อแตละตารางที่สราง
ขึ้นมีอันตรภาคชั้นไมเทากันจะทําใหไดคากลางที่แตกตางกันดวย ในปจจุบันนี้การหา
คาสถิติของขอมูลที่มีจํานวนมากมักจะใชเครื่องคิดเลขหรือโปรแกรมคอมพิวเตอรทางสถิติ
มาชวยในการคํานวณซึ่งจะทําใหตัดปญหาเรื่องการแบงอันตรภาคชั้นออกไป ดังนั้น
ผูสอนจึงควรชี้แจงใหผูเรียนมีความเขาใจในเรื่องนี้ดวย
4. การแจกแจงความถี่โดยใชแผนภาพตน-ใบ เปนวิธีการจัดระบบขอมูลที่เรา
สามารถทราบคาที่แทจริงของขอมูลได และสามารถวิเคราะหขอมูลอยางคราว ๆ จาก
แผนภาพดังกลาวได การใชแผนภาพตน-ใบ เปนวิธีการสรุปขอมูลโดยแผนภาพและจัด
11
กลุมหรือจัดเรียงขอมูลไวดวยกัน นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมคอมพิวเตอรที่สามารถสราง
แผนภาพดังกลาวไดดวย การนําวิธีการแจกแจงความถี่โดยใชแผนภาพตน-ใบ ซึ่งเปน
วิธีการที่ไดมีการพัฒนาขึ้นเมื่อไมนานมากนัก ทําใหผูเรียนไดเรียนรูวิธีการใชแผนภาพและ
สามารถนําแผนภาพตน -ใบ ไปใชในการวิเคราะหขอมูลเบื้องตนได เชน ดูลักษณะการ
กระจายของขอมูล ในกรณีที่มีขอมูลเบื้องตนไมมากนัก
กิจกรรมเสนอแนะ
กิจกรรมที่ 1
จุดประสงค เพื่อใหผูเรียนไดเห็นวา การเลือกตัวอยางโดยการสุมจะทําใหไดตัวอยาง
ซึ่งเปนตัวแทนของประชากรที่มีคาสถิติ เชน คากลาง คาที่ใชวัดการ
กระจาย มีคาใกลเคียงกับคาที่ไดจากประชากร
ผูสอนยกตัวอยางขอมูลที่เปนคะแนน ซึ่งมีจํานวนขอมูลทั้งหมด 500 รายการ
และถือวาขอมูลชุดนี้คือขอมูลที่ไดจากประชากร (ขอมูลชุดนี้มีคาเฉลี่ยเลขคณิต (µ) 50
และมีสวนเบี่ยงมาตรฐาน (σ) 10 ทั้งนี้ผูสอนไมตองบอกรายละเอียดสวนนี้ใหผูเรียน
ทราบ)
ขอมูลทั้งหมดของประชากรนํามาแจกแจงความถี่ไดดังนี้
คะแนน ความถี่ คะแนน ความถี่
20
21
22
23
24
25
26
27
1
0
0
1
1
1
1
1
28
29
30
31
32
33
34
35
2
2
3
3
4
5
6
6
12
คะแนน ความถี่ คะแนน ความถี่
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
7
9
10
11
12
13
14
16
17
18
18
19
19
20
20
20
19
19
18
18
17
16
14
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
13
12
11
10
9
7
6
6
5
4
3
3
2
2
1
1
1
1
1
0
0
1
ผูสอนใหผูเรียนสุมตัวอยางโดยมีขั้นตอนดังนี้
13
1. ใหผูเรียนชวยกันเขียนสลากของขอมูลที่เปนคะแนนทั้งหมด 500 รายการใส
กลองไว (นั่นคือ เขียนคะแนนบนสลาก ใหจํานวนสลากของแตละคะแนนเทากับความถี่
ของคะแนนนั้น เชน เขียนคะแนน 20 จํานวน 1 ใบ ไมตองเขียนคะแนน 21 เพราะมี
ความถี่เปน 0 และเขียนคะแนน 50 จํานวน 20 ใบ)
2. ผูสอนแบงผูเรียนในชั้นเปนกลุม กลุมละ 3 ถึง 4 คน ใหผูเรียนในแตละกลุม
ชวยกันหยิบสลากขอมูลกลุมละ 20 ชิ้น โดยกลุมแรกหยิบสลาก 20 ชิ้น จดขอมูลที่ไดไว
แลวคืนสลากที่หยิบมาไวในกลองอยางเดิม เขยากลองแลวใหกลุมตอไปทําเหมือนกันจน
ครบทุกกลุม
3. เมื่อผูเรียนทํากิจกรรมในขอ 2 แลว ใหเขียนขอมูลที่ไดเรียงจากขอมูลที่มีคา
นอยไปหาคามาก แลวใหหา คาเฉลี่ยเลขคณิต (X ) มัธยฐาน และสวนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (s)
ตัวอยางขอมูล 10 ชุด ชุดละ 20 ตัวอยาง ที่นักเรียนสุมขึ้นมาอาจเปนดังนี้
ชุดที่ ขอมูล
1. 55 48 55 50 51 64 48 39* 49 48 54 59 66* 42 53 51 44 58 57 45
2. 44 47 43 63 60 69 47 56 46 36 53 52 49 72* 47 34 66 49 26* 63
3. 79 58 72 80* 56 46 64 44* 59 55 60 60 47 44 47 62 50 47 45 58
4. 52 51 38 58 42 53 47 50 43 55 42 59 63* 46 57 53 54 34* 48 50
5. 53 53 64 51 52 48 42 58 40 58 51 42 60 57 47 40* 68* 51 55 46
6. 33* 49 50 37 40 51 38 55 62 58 46 68* 43 35 63 41 42 36 45 48
7. 45 55 54 46 49 62 47 49 50 48 48 53 25* 52 44 48 39 63* 57 51
8. 59 47 36 43 53 37 66* 52 48 39 56 63 65 35* 58 37 62 55 58 52
9. 61* 20* 46 53 30 39 44 57 61 48 59 34 59 43 55 41 35 26 48 31
10. 54 52 41* 60* 53 51 53 49 47 50 48 52 45 42 55 49 58 43 57 50
* คาที่มากที่สุดหรือนอยที่สุดของขอมูลแตละชุด
14
หมายเหตุ ในทางปฏิบัติ ผูสอนใหผูเรียนเปนผูสุมขอมูลแตละชุดดวยตนเองตามวิธีการที่ได
กลาวมาขางตน ตัวอยางที่ใหไวนี้ มีไวเพื่อใชยกตัวอยางในการอภิปรายในตอน
ตอไปเทานั้น
จากขอมูลที่ได ผูสอนใหผูเรียนแตละกลุมสรางแผนภาพตน -ใบ แลวหาคาเฉลี่ย
เลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และพิสัยของขอมูลที่ได โดยอาจดําเนินการดังนี้
1. ผูสอนใหผูเรียนพิจารณาแผนภาพตน -ใบ ที่เขียนไว แลวประมาณคาเฉลี่ย
เลขคณิตวาควรมีคาเทาใด เชน
ขอมูลจากชุดที่ 1
3 9
4 2 4 5 8 8 8 9
5 0 1 1 3 4 5 5 7 8 9
6 4 6
จากขอมูลในแผนภาพตน -ใบ ของชุดที่ 1 ผูเรียนควรประมาณวา คา X ควร
มีคาใกลเคียงกับ 50 โดยอาจมีคามากกวา 50 เล็กนอย เนื่องจากขอมูลสวนใหญอยูในชวง
50 – 59 และขอมูลที่มีคามากกวา 50 มี 11 จํานวน ซึ่งมากกวาขอมูลที่มีคานอยกวา 50
ที่มี 8 จํานวน จากนั้นผูสอนใหผูเรียนหาคา X , มัธยฐาน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
พิสัยจากคาจริง ซึ่งจะได
X = 51.8 มัธยฐาน เทากับ 51
s = 6.95 และ พิสัย เทากับ 66 – 39 = 27
ผูสอนใหผูเรียนกลุมอื่นประมาณคา X โดยใชวิธีการเชนเดียวกับที่กลาว
มาแลว เชน จากขอมูลของชุดที่ 3
15
ขอมูลจากชุดที่ 3
4 4 4 5 6 7 7 7
5 0 5 6 8 8 9
6 0 0 2 4
7 2 9
8 0
จะเห็นวา ขอมูลที่มีคานอยกวา 60 มีทั้งหมด 13 คา ซึ่งนาจะมีคาประมาณ
50 × 13 หรือ 650 และคาที่มากกวาหรือเทากับ 60 คะแนน มี 7 คา ซึ่งนาจะมี
คาประมาณ 65 × 7 หรือ 455 และเมื่อนําผลรวมจากคาประมาณซึ่งเทากับ 650 + 455
หรือ 1105 มาหาคาเฉลี่ย จะไดคา X ซึ่งเปนคาประมาณเทากับ 1105 ÷ 20 หรือ
55.25
เมื่อหาคา X , มัธยฐาน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และพิสัยโดยการคํานวณ
จากคาจริง จะได
X = 56.65 มัธยฐาน เทากับ 56 58
2
+
= 57
s = 10.98 และ พิสัย เทากับ 80 – 44 หรือ 36
ผูสอนใหผูเรียนกลุมอื่น ๆ ทํากิจกรรมเชนเดียวกันจนครบทุกกลุม เพื่อให
ผูเรียนฝกวิธีการประมาณคา X โดยพิจารณาจากแผนภาพตน -ใบ และใชทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตรที่เหมาะสม กิจกรรมที่กลาวมานี้ไมไดเนนความถูกตอง
เรื่องการประมาณคาแตตองการใหผูเรียนมองภาพความสัมพันธของขอมูลโดยใชแผนภาพ
ตน -ใบ และฝกทักษะการวิเคราะหขอมูลเบื้องตน
2. เมื่อผูเรียนหาคา X ของขอมูลไดแลว ใหผูเรียนแตละกลุมพิจารณาวา ขอมูล
แตละตัวในขอมูลตัวอยางของกลุมตางจากคา X มากหรือนอยเพียงใด จากนั้นจึงให
สองกลุมใด ๆ จับคูกันแลวพิจารณาโดยใชการประมาณคาและอธิบายเหตุผลวา ขอมูล
ของกลุมใดควรจะมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมากกวากัน เมื่อไดขอสรุปแลวใหผูเรียนหา
16
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยการคํานวณจากสูตรเพื่อพิจารณาวาขอสรุปที่ไดจากการ
ประมาณใกลความจริงมากหรือนอยเพียงใด
3. ในกรณีที่มีเครื่องคิดเลขที่สามารถหาคาสถิติเบื้องตนได ผูสอนใหผูเรียน
หาคา µ และ σ ของประชากรที่กําหนดให (ในกรณีที่ไมมีเครื่องคิดเลขใหผูสอนบอก
คาดังกลาวแกผูเรียน) แลวใหผูเรียนชวยกันพิจารณาวา ขอมูลของผูเรียนแตละกลุมมี
คาเฉลี่ยเลขคณิต และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานแตกตางจากคาดังกลาวของประชากรมาก
นอยเพียงใด
การสุมตัวอยางที่กลาวมา ผูสอนอาจจะใหผูเรียนทํากิจกรรมซ้ํา โดยใหสุมตัวอยาง
เพิ่มเติมจาก 20 ตัวอยาง เปน 50 หรือ 100 ตัวอยาง เพื่อใหไดจํานวนตัวอยางเพิ่มมากขึ้น
แลวพิจารณาใหมวา ขอสรุปจากจํานวนตัวอยางที่มากขึ้นจะทําใหคาเฉลี่ยเลขคณิต และ
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ไดจากตัวอยางใกลเคียงกับคาที่ไดจากประชากรมากขึ้นหรือไม
แมวาขอสรุปที่ไดจากการทํากิจกรรมที่กลาวมาในตัวอยาง จะไมไดใชวิธีการสถิติ
ขั้นสูงและไมสามารถใหขอสรุปในกรณีทั่วไปไดก็ตาม แตการใชกิจกรรมนี้มีจุดประสงค
ที่จะแสดงใหผูเรียนไดมองเห็นความสัมพันธระหวางคาสถิติของขอมูลตัวอยางที่เลือก
ขึ้นมาโดยการสุม กับคาสถิติของประชากร โดยผูสอนควรบอกใหผูเรียนไดทราบวา
ในทางปฏิบัติ การที่จะเลือกตัวอยางขึ้นมาจากประชากรใดนั้นจะตองอาศัยความรูทางดาน
คณิตศาสตร และสถิติอีกมากซึ่งผูเรียนจะไดเรียนเมื่อเลือกเรียนวิชาสถิติใน
ระดับอุดมศึกษา
กิจกรรมที่ 2
จุดประสงค เพื่อใหผูเรียนเขาใจความหมายของคากลางและการกระจายของขอมูล
ขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม
1. ผูสอนตั้งคําถามใหผูเรียนดังนี้
ถามีขอมูลสองชุดที่มีคาเฉลี่ยเทากันแลว จะบอกไดหรือไมวาขอมูลที่มีคาเฉลี่ย
เลขคณิตเทากันจะตองมีขอมูลที่มีการกระจายใกลเคียงกัน โดยใหผูเรียนตอบโดย
ยกตัวอยางเพื่อแสดงเหตุผลประกอบ
17
ในกรณีที่ผูเรียนไมสามารถยกตัวอยางเพื่อแสดงเหตุผลประกอบคําตอบได ให
ผูสอนยกตัวอยางขอมูลที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากันหลาย ๆ ตัวอยางเพื่อใหผูเรียนสรุป
คําตอบ เชน ผูสอนยกตัวอยางขอมูล 4 ชุด ซึ่งแตละชุดประกอบดวยขอมูล 5 จํานวน
และมี X เทากับ 5 ดังนี้
ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4
1 1 1
4 4 4
5 5 5 5 5 5 5 5
6 6 6
9 9 9
2. ผูสอนแนะนําใหผูเรียนหาพิสัยของขอมูลแตละชุด เพื่อแสดงวาคาดังกลาว
สามารถบอกลักษณะของขอมูลไดอยางคราว ๆ วามีการกระจายมากนอยเพียงใด
จากนั้นผูสอนจึงสรุปใหผูเรียนทราบวา การใชคากลางซึ่งในที่นี้ใชคาเฉลี่ยเลข
คณิต ไมสามารถบอกลักษณะการกระจายของขอมูลที่กําหนดใหได แตเราอาจใชพิสัย
เพื่อบอกลักษณะการกระจายของขอมูลอยางคราว ๆ ได
3. ผูสอนตั้งคําถามกับผูเรียนตอวา ถามีขอมูลสองชุดที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิตและพิสัย
เทากันแลว ขอมูลทั้งสองชุดจะตองเหมือนกันหรือมีลักษณะใกลเคียงกันหรือไม โดยให
ผูเรียนยกตัวอยางประกอบเหตุผลในการตอบ
ในกรณีที่ผูเรียนไมสามารถยกตัวอยางได ผูสอนอาจแสดงตัวอยางตอไปนี้
เพื่อใหผูเรียนเขาใจวา พิสัยสามารถบอกลักษณะการกระจายของขอมูลไดอยางคราว ๆ
เทานั้น
ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3
1 1 1 1
4 2
5 5 5
6 8
9 9 9 9
18
4. ผูสอนแนะนําวิธีการวัดการกระจายของขอมูล โดยใชการเฉลี่ยความแตกตาง
ของขอมูลแตละคาจากคาเฉลี่ยเลขคณิต ซึ่งวิธีที่นิยมใชกันทั่วไปคือการใชสวนเบี่ยงเบน
มาตรฐานตามวิธีการในหนังสือเรียน
ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. จากตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบของนักเรียน 100 คน ตอไปนี้
1) จงสรางตารางแจกแจงความถี่สะสมของคะแนนสอบของนักเรียนกลุมนี้
2) จากตารางแจกแจงความถี่สะสมในขอ 1) จงหาวามัธยฐานของขอมูลชุดนี้อยู
ในชวงคะแนนใด
3) จงหารอยละของจํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนต่ํากวา 51 คะแนน
คะแนน จํานวนนักเรียน
21 – 30
31 – 40
41 – 50
51 – 60
61 – 70
71 – 80
81 – 90
91 – 100
2
3
5
11
15
23
26
15
รวม 100
2. ขอมูลในลักษณะใดตอไปนี้ที่ไมควรใชคาเฉลี่ยเลขคณิตในการหาคากลาง
1) ความเร็วของรถยนต (กิโลเมตร / ชั่วโมง)
2) เพศ (ชาย หญิง)
3) อายุ (ป)
4) ระดับคะแนน (1, 2, 3, 4, 5)
5) น้ําหนัก (ต่ํากวามาตรฐาน อยูในเกณฑมาตรฐาน
เกินมาตรฐาน)
19
3. จากขอมูลที่กําหนดให
3 15 21 30 9
11 4 18 21 30
30 14 5 11 22
23 13 12 5 13
12 21 4 13 8
1) จงสรางแผนภาพตน-ใบ
2) จงหาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของขอมูลชุดนี้
4. ขอมูลที่เปนเวลาที่คนไขใชในการรอพบแพทยในโรงพยาบาลแหงหนึ่งเปนดังนี้
เวลา (นาที)
0
1
2
3
3 9 4 5 5 4 8
5 1 8 4 1 3 2 3 2 3
1 1 2 3 1
0 0 0
1) จงหา เวลาที่นานที่สุดที่คนไขตองรอพบแพทย
2) เวลาที่คนไขตองรอพบแพทยต่ํากวา 10 นาที มีกี่เปอรเซ็นตของขอมูลทั้งหมด
3) จงหามัธยฐานของขอมูลชุดนี้
5. จากตารางแผนภาพตน-ใบ ที่แสดงอายุของนักทองเที่ยวที่เดินทางมาเที่ยวเกาะชาง
ตอไปนี้
อายุ (ป)
0 6 7
3 9 3 4 6 6
4 0 0 1 2 2 2 4 7
5 3 5 8 1 3 2 1
6 1 1 2
20
จงหา
1) จํานวนนักทองเที่ยวกลุมนี้
2) อายุที่นอยที่สุด และอายุที่มากที่สุดของนักทองเที่ยวกลุมนี้
3) คาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของอายุของนักทองเที่ยวกลุมนี้
6. จากผลการสอบวิชาคณิตศาสตร นัทไดคะแนนเทากับเปอรเซ็นไทลที่ 65 ขอความใด
ตอไปนี้ถูกตอง
1) นัทสอบไดคะแนน 65%
2) 35% ของนักเรียนที่เขาสอบไดคะแนนเทากับหรือนอยกวาคะแนนที่นัทได
3) 65% ของนักเรียนที่เขาสอบไดคะแนนมากกวาคะแนนของนัท
4) 65% ของนักเรียนที่เขาสอบไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับคะแนนของนัท
7. ในการสอบครั้งหนึ่งมีผูเขาสอบทั้งหมด 280 คน ถาเปอรเซ็นไทลที่ 75 ของคะแนน
สอบครั้งนี้คือ 84 จงหาวา มีนักเรียนกี่คนที่สอบไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับ
84 คะแนน
เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. 1)
คะแนน ความถี่ ความถี่สะสม
21 – 30
31 – 40
41 – 50
51 – 60
61 – 70
71 – 80
81 – 90
91 – 100
2
3
5
11
15
23
26
15
2
5
10
21
36
59
85
100
21
2) มัธยฐานอยูในชวงคะแนน 71 – 80
3) จํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนต่ํากวา 51 คะแนน มี 10
100
100
× = 10%
2. ขอมูลที่ไมควรใชคาเฉลี่ยเลขคณิตในการหาคากลาง ไดแก
2) เพศ (ชาย, หญิง)
5) น้ําหนัก (ต่ํากวามาตรฐาน, อยูในเกณฑมาตรฐาน, เกินมาตรฐาน)
3. 1) 0 3 4 4 5 5 8 9
1 1 1 2 2 3 3 3 4 5 8
2 1 1 1 2 3
3 0 0 0
2) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 14.72
มัธยฐาน คือ 13
ฐานนิยม สําหรับขอมูลชุดนี้อาจกลาวไดวาไมมีฐานนิยมเพราะมีคาที่มีความถี่
เทากันมากกวาสองคา ไดแก 13, 21 และ 30
4. 1) 30 นาที
2) 28%
3) 13 นาที
5. 1) 25 คน
2) อายุนอยที่สุด คือ 6 ป
อายุมากที่สุด คือ 62 ป
3) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 43.44
มัธยฐาน คือ 42
ฐานนิยม คือ 42
22
6. ขอ 4) 65% ของนักเรียนที่เขาสอบไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับคะแนนของนัท
7. คะแนน 84 คะแนนคือคะแนนในตําแหนง P75
นั่นคือ ถามีนักเรียน 100 คน จะมี 75 คนที่ไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับ 84
ดังนั้น เมื่อมีนักเรียน 280 คน จะมีนักเรียน 75
280
100
× = 210 คนที่ไดคะแนน
นอยกวาหรือเทากับ 84 คะแนน
เฉลยแบบฝกหัด
เฉลยแบบฝกหัด 2.1
1. 1)
ยอดเงินที่จาย (บาท) จํานวนลูกคา
ต่ํากวา 100
100 – 199
200 – 299
300 – 399
400 – 499
500 – 599
600 – 699
2
4
11
13
14
5
1
2) 400 – 499 บาท
3) มากกวา 1 คน
4) ประมาณจํานวนเงินในชวงต่ํากวา 100 ใหเทากับ 50 บาท หาคากึ่งกลางของ
แตละอันตรภาคชั้นและประมาณจํานวนเงินที่ลูกคาจายโดยใชจุดกึ่งกลาง
23
จุดกึ่งกลาง จํานวนลูกคา จํานวนเงิน
50
149.5
249.5
349.5
449.5
549.5
649.5
2
4
11
13
14
5
1
50 × 2
149.5 × 4
249.5 × 11
349.5 × 13
449.5 × 14
549.5 × 5
649.5 × 1
รวม 17,676
ลูกคาทั้ง 50 คนใชเงินในการซื้อสินคาประมาณ 17,676 บาท
2. จากตารางแจกแจงความถี่สะสมที่กําหนดให จะไดตารางแจกแจงความถี่ดังนี้
อายุ (ป) ความถี่ (คน)
10 – 19
20 – 29
30 – 39
40 – 49
50 – 59
60 – 69
2
15
10
5
0
3
รวม 35
1) จากตารางแจกแจงความถี่ที่ได คนที่มีอายุอยูในชวง 10 - 19 ป มี 2 คน ชวง
20 – 29 ป มี 15 คน ชวง 30 – 39 ป มี 10 คน ชวง 40 – 49 ป มี 5 คน ไมมีคน
ที่มีอายุอยูในชวง 50 – 59 ป และคนที่มีอายุอยูในชวง 60 – 69 ป มี 3 คน
2) 20 – 29 ป
24
3. 1) 80 – 89 คะแนน มี 8 คน
60 – 89 คะแนน มี 49 คน
2) 3 คน
3) 70 – 79 คะแนน
4) 31 คน
4. 1) เนื่องจากคาต่ําสุดของขอมูลคือ 345 คน และสูงสุดคือ 730 คน
สรางตารางแจกแจงความถี่ใหมี 10 อันตรภาคชั้นไดดังนี้
จํานวนประชากร รอยขีด จํานวนหมูบาน
341 – 380
381 – 420
421 – 460
461 – 500
501 – 540
541 – 580
581 – 620
621 – 660
661 – 700
701 – 740
//
//// //
////
//// //// ////
//// //// /
//// //// /
//// //// /
///
/
/
2
7
5
14
11
11
11
3
1
1
25
2)
อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สะสม
341 – 380
381 – 420
421 – 460
461 – 500
501 – 540
541 – 580
581 – 620
621 – 660
661 – 700
701 – 740
2
7
5
14
11
11
11
3
1
1
2
9
14
28
39
50
61
64
65
66
(1) 28 หมูบาน
(2) 48 หมูบาน
(3) จํานวนหมูบานที่มีประชากรอาศัยอยูเกิน 660 คน เทากับ 66 – 64 หรือ
2 หมูบาน ซึ่งคิดเปนรอยละ 2
100
66
× หรือประมาณรอยละ 3
5. 1)
เวลา (t นาที) รอยขีด ความถี่
0 < t ≤ 5
5 < t ≤ 10
10 < t ≤ 15
15 < t ≤ 20
20 < t ≤ 25
25 < t ≤ 30
/
////
//// ////
//// ////
//// /
/
1
5
9
10
6
1
รวม 32
26
2) จากตารางนักเรียนจํานวนมากที่สุดใชเวลาเดินทางมากกวา 15 นาที แตไมเกิน 20
นาที
3 ) จากขอมูลขางตนนาจะสรุปไดวา ที่พักของนักเรียนเหลานี้ไมไกลจากโรงเรียน
มากนัก (ครูกับผูเรียนอาจอภิปรายเพิ่มเติมจากขอมูลก็ได โดยคําตอบและ
คําอธิบายที่ใหควรสมเหตุสมผล และอาจเปนประเด็นใหทําการสํารวจขอมูล
ตอไป)
6. 1)
จํานวนเด็ก (คน) รอยขีด ความถี่
(ครอบครัว)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
////
//// /
//// //// //// ////
//// //
//// //
//
///
/
5
6
19
7
7
2
3
0
1
รวม 50
2) (1) 19 ครอบครัว (2) 25 ครอบครัว (6 + 19)
(3) 11 ครอบครัว (5 + 6) (4) 30 ครอบครัว (19 + 6 + 5)
(5) 20 ครอบครัว (50 – 30) (6) 30 ครอบครัว (19 + 6 + 5)
3) (1) 20
100
50
× หรือ รอยละ 40 (2) 30
100
50
× หรือ รอยละ 60
(3) 20
100
50
× หรือ รอยละ 40 (4) 13
100
50
× หรือ รอยละ 26
27
7. 1)
คะแนน ความถี่ ความถี่สัมพัทธ ความถี่สะสม
30 – 39
40 – 49
50 – 59
60 – 69
70 – 79
80 – 89
90 – 99
2
0
6
6
10
13
8
4.44
0
13.33
13.33
22.22
28.89
17.78
2
2
8
14
24
37
45
2) ชวงคะแนน 80 – 89 คะแนน
3) 13.3%
4) 37 คน
5) 17.8%
8. 1) (1) 2,467,839 คน (2) 38,074 คน
(3) 4,954,109 คน (4) 3,794,796 คน
2) (1) 16.53% (2) 1.73%
(3) 24.32% (4) 33.24%
(5) 31.75%
9. 1) นักเรียนที่ไดคะแนนวิชาคณิตศาสตรตั้งแต 80 ถึง 89 คะแนน มี 8 คน
นักเรียนที่ไดคะแนนวิชาคณิตศาสตรตั้งแต 60 ถึง 89 คะแนน มี 58 – 9 = 49 คน
2) นักเรียนที่ไดคะแนนวิชาคณิตศาสตรต่ํากวา 50 คะแนน มี 3 คน
3) ชวงคะแนนที่มีจํานวนนักเรียนไดมากที่สุด คือ ชวง 70 – 79 คะแนน
4) นักเรียนที่ไดคะแนนวิชาคณิตศาสตรตั้งแต 70 คะแนนขึ้นไป มี 60 – 29 = 31 คน
28
10. 1)
ระดับคะแนน จํานวนนักเรียน
4
3
2
1
ไมผาน
8
13
10
12
2
รวม 45
2) ระดับคะแนน 3
11. 1)
คะแนนสอบ ความถี่ ความถี่สะสม
701 – 800
601 – 700
501 – 600
401 – 500
301 – 400
201 – 300
4
10
15
18
11
2
60
56
46
31
13
2
2) จํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนมากกวา 700 คะแนน มี 4 คน
จํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนต่ํากวา 301 คะแนน มี 2 คน
จํานวนนักเรียนทั้งสองกลุมเทากับ 6 คน คิดเปนรอยละ 6
100
60
× หรือ 10%
ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด
29
กิจกรรม
กิจกรรมนี้ผูสอนใหผูเรียนแบงกลุมกันกําหนดระดับคะแนนและใหแตละกลุม
มานําเสนอความคิดเห็นของตน เพื่อฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร โดยใชความรู
สถิติในเรื่องที่เรียนมา ทั้งนี้อาจใชคะแนนในโจทยขอ 11 หรือนักเรียนกําหนดคะแนนขึ้น
เองก็ได
เฉลยแบบฝกหัด 2.2.1
1. 1) ตารางแจกแจงความถี่ของจํานวนบุหรี่ที่ผูปวยสูบในแตละวัน
จํานวนบุหรี่ (มวน) รอยขีด จํานวนผูปวย (คน)
7 – 9
10 – 12
13 – 15
16 – 18
19 – 21
/
////
////
////
//
1
5
4
4
2
2) ฮิสโทแกรมแสดงจํานวนบุหรี่ที่ผูปวยสูบในแตละวัน
1
0
3
2
5
4
จํานวนบุหรี่ (มวน)
จํานวนผูปวย (คน)
118 14 17 20
30
2. 1) ตารางแจกแจงความถี่ของน้ําหนักนักเรียน 50 คน
น้ําหนัก รอยขีด ความถี่
40 – 44
45 – 49
50 – 54
55 – 59
60 – 64
///
//// ////
//// //// //// //// /
//// //// ///
////
3
9
21
13
4
2) ฮิสโทแกรมแสดงน้ําหนักนักเรียน
3. 1) นักเรียนที่สูงที่สุด สูง 175 เซนติเมตร นักเรียนที่เตี้ยที่สุด สูง 151 เซนติเมตร
ทั้งสองคนมีความสูงแตกตางกัน 24 เซนติเมตร
2) ตารางแจกแจงความถี่แสดงความสูงของนักเรียน
ความสูง รอยขีด จํานวนนักเรียน
150 – 156
155 – 159
160 – 164
165 – 169
170 – 174
175 – 179
//// //
//// //// //// ///
//// ////
//// /
//// ///
/
7
18
10
6
8
1
3
0
9
6
15
12
น้ําหนัก (กิโลกรัม)
จํานวนนักเรียน (คน)
21
18
42 47 52 57 62
31
3) ฮิสโทแกรมแสดงความสูงของนักเรียน
4. 1) 50 ผล
2) 36 ผล คิดเปน 72% ของจํานวนผลสมทั้งหมด
3)
3
0
9
6
15
12
152
ความสูง (ซม.)
จํานวนนักเรียน (คน)
157 162 167 172
21
18
177
2
0
6
4
10
8
64.5 น้ําหนัก (กรัม) / ผล
จํานวนผลสม (ผล)
74.5 84.5 94.5 104.5
12
114.5 124.5 134.5
32
เฉลยแบบฝกหัด 2.2.2
1. 1) จากขอมูลที่กําหนดใหนํามาจัดเรียงใหมไดดังนี้
19
24 24 24 23
31 35 36 38 34 38 33 36
44 43 47 44 42 49 48
จากขอมูลที่จัดเรียงขางตนนํามาเขียนแผนภาพตน-ใบ ไดดังนี้
1 9
2 3 4 4 4
3 1 3 4 5 6 6 8 8
4 2 3 4 4 7 8 9
2) จากแผนภาพตน-ใบ พบวา ในชวง 30 – 39 คะแนนมีจํานวนนักเรียนมากที่สุด
2. 1) จากขอมูลที่กําหนดใหเขียนแผนภาพตน-ใบ ไดดังนี้
0 7 8 9
1 1 2 3 4 6 7 8 8 9
2 2 2 4 5
3 0 2 2 3 4 5
4 1 3 5 6
5 1 6 6
6 1
2) อายุต่ําสุดของผูเขาชมนิทรรศการ คือ 7 ป
อายุสูงสุดของผูเขาชมนิทรรศการ คือ 61 ป
3) ผูเขาชมนิทรรศการมีอายุอยูในชวง 10 – 19 ป มากที่สุด
33
3. 1) 12 3 9 9
13 1 2 5 7
14 4 8
15 0 1 1 3 4 4 8 9
16 0 0 1 6
17 0 5 6
18 0 3 5 9
19 8
20 6
2) คนไขมีความดันโลหิตในชวง 150 – 159 มากที่สุด
4. 1) 9 20 20 60 80 90
10 00 40
11 20 40 50 70
12 40 40 60 60 70
13 00 30 50 60 60
14 00 30 60 80
15 20 50 60 70
16 10 80
17 20
18
19 40
20 00 90
9 20 แทน 920
10 00 แทน 1000
34
2) พนักงานไดรับเงินสมทบในชวง 900 – 990 บาท 1200 – 1290 บาท และ
1300 – 1390 บาท ชวงละ 5 คนเทากัน จึงอาจกลาวไดวาไมมีชวงจํานวนเงินใดที่
มีพนักงานจํานวนมากที่สุดไดรับเงินในชวงนั้น
3) พนักงานที่ไดรับเงินสมทบในชวงต่ําสุด มี 5 คน ซึ่งมากกวาพนักงานที่ไดรับเงิน
สมทบในชวงสูงสุด 3 คน
5. 1) 25 คน
2) เวลาที่นอยที่สุด 41 นาที
เวลาที่มากที่สุด 90 นาที
6. มี 11 คน หรือคิดเปน 11
100
25
× หรือ 44%
7. 1) 0 5 5
1 0 0 5 5
2 0 0 0 0 0 0 0 0 5 5 5 5 5 5 5 5
3 0 0 0 0 5
4 0 5 5
2) 20 – 29 นาที
8. 1) 9 0 5 8
10 4 4 5 6
11 1 2 3 7
12 2 2 3 4 5 8 8
13 1 2 3 4 5 9 9
2) มี 14
100
25
× หรือ 56%
35
9. 1) คาประมาณของความสูงของตนไมที่ประมาณไวสูงมากที่สุด คือ 6.6 เมตร
คาประมาณของความสูงของตนไมที่ประมาณไวสูงนอยที่สุด คือ 2.4 เมตร
2) จํานวนนักเรียนที่ประมาณความสูงของตนไมต่ํากวา 4 เมตร มี 12
100
30
× = 40%
เฉลยแบบฝกหัด 2.3
1. เนื่องจากมีนักเรียน 9 คน ที่ไดคะแนนสอบนอยกวาหรือเทากับ 25 คะแนน
และ คะแนน 25 คะแนนเปนคะแนนในตําแนง P25
ดังนั้น นักเรียน 9 คน คิดเปนรอยละ 25 ของจํานวนนักเรียนที่เขาสอบทั้งหมด
ถาใหจํานวนนักเรียนทั้งหมด คือ N คน จะได 25
N
100
× = 9 ซึ่งได N = 36
นั่นคือ มีนักเรียนเขาสอบครั้งนี้ทั้งหมด 36 คน
หมายเหตุ อาจมีนักเรียนบางคนคิดวา P25 คือคะแนนของนักเรียนในตําแหนงที่ 9 แลว ใชสูตร
เขียนสมการ 25(N+1) = 9
100
จะไดวา N = 35 และตอบวามีนักเรียนเขาสอบทั้งหมด
35 คน การตอบเชนนี้ก็ถือวาเปนคําตอบที่ถูกตองเชนกัน เพราะคะแนน 25 ซึ่งเปน
คะแนนของตําแหนง P25 อาจเปนคะแนนของนักเรียนคนที่ 9 หรืออยูระหวาง
คะแนนของคนที่ 9 และคนที่ 10 ก็ได และถาคะแนน 25 เปนคะแนนของคนที่ 9 ก็
จะไดวามีนักเรียนเขาสอบ 35 คน แตถาคะแนนนั้นเปนคะแนนระหวางคนที่ 9 และ
คนที่ 10 ก็จะไดวามีนักเรียนเขาสอบ 36 คน ดังนั้นเมื่อนักเรียนตอบ 35 หรือ 36 คน
ก็ถือวาตอบถูกตองทั้งคู ขึ้นอยูวานักเรียนมีกระบวนการคิดเชนไร
2. คะแนนในตําแหนงเปอรเซ็นไทลที่ 40 เทากับ 78 คะแนน และมีนักเรียน 8 คนที่
ไดคะแนนเทากับหรือนอยกวา 78 คะแนน
จาก 40
N 8
100
× = จะได N = 20
ดังนั้น จะมีนักเรียนที่ไดคะแนนมากกวา 78 คะแนน อยู 20 – 8 หรือ 12 คน
3. เนื่องจาก 20
100
25
× = 80%
ดังนั้น คะแนน 92 คะแนนอยูในเปอรเซ็นไทลที่ 80
36
4. 80% ของคนที่สอบวิชาภาษาไทยเหมือนเตาไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับคะแนน
ที่เตาได
5. 6 คน
6. เนื่องจากรอยละ 68 ของนักเรียนที่เขาสอบทั้งหมด 25 คน เทากับ 68
25
100
× หรือ 17
คน ดังนั้น คะแนนที่อยูในตําแหนงเปอรเซ็นไทลที่ 68 คือ 88 คะแนน
7. จากขอมูลที่กําหนดให สรางแผนภาพตน-ใบไดดังนี้
3 0 4 9
4 0 7 9
5 0 0 1 2 2 3 4 4 4 4 5 6 7 8 8 9
6 0 1 3 4 4 9 9 9
7 0 1
จากแผนภาพตน-ใบ
1) นักเรียนตองสอบได 52 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้
ประมาณรอยละ 30 หรือประมาณ 10 คน จาก 32 คน
นักเรียนตองสอบได 56 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้
ประมาณรอยละ 55 หรือประมาณ 18 คน จาก 32 คน
2) นักเรียนตองสอบได 54 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้
ประมาณ 4 ใน 10 หรือประมาณ 13 คน จาก 32 คน
นักเรียนตองสอบได 69 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้
ประมาณ 9 ใน 10 หรือประมาณ 29 คน จาก 32 คน
3) นักเรียนตองสอบได 63 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาอยู 3 ใน 4
หรือประมาณ 24 คน จาก 32 คน
37
เฉลยแบบฝกหัด 2.4
1. คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 8
มัธยฐาน คือ 8
ฐานนิยม คือ 8
ขอความที่เปนจริงสําหรับขอมูลชุดนี้คือ ขอความ 2) และขอความ 4)
2. คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 40
มัธยฐาน คือ 40
ดังนั้น ขอความ 2) ถูกตอง
3. ขอมูลทั้งหมด 7 จํานวน มีคาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 81
จะได ผลรวมของขอมูลทั้ง 7 จํานวน คือ 81 × 7 = 567
ตัดขอมูลออกไป 1 จํานวน คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 78
จะไดผลรวมของขอมูล 6 จํานวน คือ 78 × 6 = 468
นั่นคือ ขอมูลที่ถูกตัดออกไปมีคา 567 – 468 = 99
4. 1) X = 3 มัธยฐาน = 3 ฐานนิยม = 3
2) X = 3 มัธยฐาน = 2 ฐานนิยม = 1
3) X = 2 มัธยฐาน = 1 ฐานนิยม = 1
4) X = 4 มัธยฐาน = 3 ฐานนิยม = 1
จะได ขอมูลชุด 1) ที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมเทากัน
5. คาเฉลี่ยเลขคณิตของน้ําหนักนักเรียนสามคน คือ 38 กิโลกรัม
จะไดผลรวมของน้ําหนักของนักเรียนสามคน เทากับ 38 × 3 = 114 กิโลกรัม
มีนักเรียนหนึ่งคนในกลุมนี้หนัก 46 กิโลกรัม
ดังนั้น อีกสองคนที่เหลือมีน้ําหนักรวมกัน 114 – 46 = 68 กิโลกรัม
แตสองคนที่เหลือมีน้ําหนักเทากัน
จะไดวา แตละคนมีน้ําหนัก 68
2
= 34 กิโลกรัม
38
6. ตองการคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบ 4 ครั้งเปน 85 คะแนน
จะไดผลรวมของคะแนนสอบ 4 ครั้ง เทากับ 85 × 4 = 340 คะแนน
สอบ 3 ครั้ง เจี๊ยบไดคะแนน 78, 89 และ 82 คะแนน
ดังนั้น สอบครั้งที่ 4 เจี๊ยบตองไดคะแนน 340 – (78 + 89 + 82) = 91 คะแนน
7. มัธยฐาน คือ 87 ซึ่งตองอยูเปนอันดับที่ 3 ของขอมูลที่เรียงคะแนนจากนอยไปมาก
ฐานนิยมคือ 80 ซึ่งนอยกวามัธยฐาน ดังนั้นขอมูลมี 80 อยู 2 จํานวน
คาเฉลี่ยเลขคณิตเปน 86 จะไดผลรวมของขอมูลทั้ง 5 จํานวนเปน 86 × 5 = 430 คะแนน
นั่นคือ ขอมูลอีก 2 จํานวน ตองมีผลรวมเปน 430 – (87 + 80 + 80) = 183 คะแนน
ขอมูลที่อยูถัดจากมัธยฐานไปจะมีคานอยที่สุดที่เปนไปไดคือ 88 คะแนน
ดังนั้น คะแนนสอบสูงสุดที่เปนไปไดคือ 183 – 88 = 95 คะแนน
8. คาเฉลี่ยเลขคณิตของจํานวนเต็มบวกหาจํานวน คือ 360
จะได ผลรวมของจํานวนเต็มบวกหาจํานวน เทากับ 360 × 5 = 1800
สองจํานวนสุดทาย คือ 102 และ 99
นั่นคือ ผลรวมของจํานวนเต็มบวกอีกสามจํานวน ที่เหลือจะเปน
1800 – (102 + 99) = 1599
และมีการเรียงลําดับจํานวนจากมากไปนอย นั่นคือ สองจํานวนกอนหนา คะแนนสูงสุด
จะมีคานอยสุดที่เปนไปไดคือ 102 กับ 102
ดังนั้น จํานวนมากที่สุดที่เปนไปไดคือ 1599 – (102 + 102) = 1395
9. คาเฉลี่ยเลขคณิตของหาวิชา ตองได 90 เปนอยางนอย
จะไดผลรวมของคะแนนหาวิชา อยางนอยตองเทากับ 90 × 5 = 450 คะแนน
ผลการสอบ 4 ครั้ง เกงสอบได 85, 89, 87 และ 96 คะแนน
ดังนั้น ครั้งที่ 5 เกงตองไดคะแนนอยางนอย 450 – (85 + 89 + 87 + 96) = 93 คะแนน
10. 1) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 8
จะได ตัวเลขที่สุมไดที่มากกวาคาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 10 กับ 13
ดังนั้น ความนาจะเปน เทากับ 2
6
= 1
3
39
2) มัธยฐานเทากับ 7 8
2
+
= 7.5
จะไมมีตัวเลขที่สุมไดที่มีคาเทากับมัธยฐาน
ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะสุมไดตัวเลขที่เทากับ มัธยฐานจึงเปน 0
11. คาเฉลี่ยเลขคณิต เทากับ 17 14 11 6 x
5
+ + + +
= 48 x
5
+
แยกกรณีพิจารณาคา x
กรณีที่ 1 ถา x ≤ 11
มัธยฐานคือ 11
จะได 48 x
5
+
= 11
x = 55 – 48 = 7
กรณีที่ 2 ถา 11 < x < 14
มัธยฐานคือ x
จะได 48 x
5
+
= x
48 + x = 5x
x = 12
กรณีที่ 3 ถา x ≥ 14
มัธยฐานคือ 14
จะได 48 x
5
+
= 14
x = 70 – 48 = 22
นั่นคือ x มีคาเทากับ 7, 12 และ 22 จะทําใหคาเฉลี่ยเลขคณิตและมัธยฐานของ
ขอมูลมีคาเทากัน
12. 1) ควรใชมัธยฐานเปนตัวแทนของขอมูลชุดนี้ เพราะจากแผนภาพขอมูลสวนใหญ
อยูในชวง 3 – 29 และขอมูลมีการกระจายมาก
2) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 28
มัธยฐาน คือ 22
40
13. 1) แผนภาพตน-ใบ
12 3 9 9
13 1 2 5 7
14 4 8
15 0 1 1 3 4 4 8 9
16 0 0 1 6
17 0 5 6
18 0 3 5 9
19 8
20 6
2) จากแผนภาพควรใชคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนคากลางแทนขอมูลชุดนี้ เพราะขอมูล
ไมกระจายมาก
3) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 158.23
มัธยฐาน คือ 154 158
2
+
= 156
ขอสังเกต ขอมูลชุดนี้ไมกระจายมาก ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิต และมัธยฐาน
จึงไมแตกตางกันมาก
14. 1) คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนที่คาดวาจะไดควรจะสูงกวาคาเฉลี่ยเลขคณิตของ
คะแนนจริง เนื่องจากคะแนนสวนใหญ (16 จาก 21 จํานวน) มีคาอยูระหวาง
30 – 48 คะแนน ในขณะนี้คะแนนจริงที่มีคาระหวาง 30 – 50 คะแนน
มี 13 จํานวน จาก 21 จํานวน
2) คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนที่คาดวาจะได คือ 36.43 คะแนน
คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนที่นักเรียนไดจริง คือ 33.05 คะแนน
ซึ่งคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนที่คาดวาจะไดมีคาสูงกวาคะแนนที่นักเรียนไดจริง
41
15. 1) จํานวนนักเรียนทั้งหมดที่ทําแบบทดสอบ มี 25 คน
2) เวลาที่มากที่สุดที่ใชทําแบบทดสอบ 90 นาที
เวลานอยที่สุดที่ใชทําแบบทดสอบ 41 นาที
3) มัธยฐาน คือ 65 นาที
ฐานนิยม คือ 71 นาที
16. 1) นักเรียนที่สูงที่สุดสูง 172 เซนติเมตร
2) คาเฉลี่ยเลขคณิตของความสูง คือ 157.6 เซนติเมตร
มัธยฐาน คือ 159 เซนติเมตร
3) นักเรียนที่สูงมากกวา 169 เซนติเมตร มี 20% ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด
17. X = 25.04 กิโลกรัม
มัธยฐาน = 22 กิโลกรัม
ฐานนิยม = 22 กิโลกรัม
เฉลยแบบฝกหักหัด 2.5
1. 1) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย
จะได s ≈ =
7 2
4
−
= 1.25
X = 20
5
= 4
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s =
n
2
i
i 1
(X X)
n 1
=
−
−
∑
จะได s = 4 1 1 9 1
4
+ + + +
= 4 = 2
พิสัย
4
42
2) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย
จะได s ≈ =
37 20
4
−
= 4.25
X = 150
5
= 30
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s =
n
2
i
i 1
(X X)
n 1
=
−
−
∑
s = 100 25 9 1 49
4
+ + + +
= 46
≈ 6.78
3) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈
6 1
4
−
= 1.25
X = 33
11
= 3
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = 4 0 1 4 1 9 1 4 1 0 1
10
+ + + + + + + + + +
≈ 2.60 ≈ 1.61
4) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈
12 2
4
−
= 2.5
X = 60
12
= 5
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = 4 49 0 1 4 9 1 0 1 0 0 1
11
+ + + + + + + + + + +
≈ 6.3636 ≈ 2.52
พิสัย
4
43
5) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈
15 5
4
−
= 2.5
X = 60
6
= 10
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = 25 9 1 1 9 25
5
+ + + + +
≈ 14 ≈ 3.74
6) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈
95 74
4
−
= 5.25
X = 588
7
= 84
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = 16 25 121 4 16 64 100
6
+ + + + + +
≈ 57.67 ≈ 7.59
7) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈
75 42
4
−
= 8.25
X = 580
10
= 58
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร
s = 256 169 100 100 16 4 36 144 256 289
9
+ + + + + + + + +
= 152.22 ≈ 12.34
8) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈
21 3
4
−
= 4.5
X = 110
10
= 11
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร
s = 9 100 4 16 25 16 64 9 36 1
9
+ + + + + + + + +
= 31.11 ≈ 5.58
44
9) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈
116 99
4
−
= 4.25
X = 763
7
= 109
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = 64 36 25 100 9 9 49
6
+ + + + + +
≈ 48.67 ≈ 6.98
10) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈
2.5 1.6
4
−
= 0.225
X = 14.7
7
= 2.1
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร
s = 0 0.01 0.04 0.25 0.16 0.01 0.09
6
+ + + + + +
= 0.0933 ≈ 0.306
2. 1) a
2) c
3) d
4) g
5) b
6) e
7) f
3. พิจารณาความแตกตางคาจากการสังเกตกับคา X ของขอมูลแตละชุดดังนี้
1) ขอมูล 0, 10, 20, 30, 40 มี X = 20
5
i
i 1
X X
=
−∑ = 20 + 10 + 0 + 10 + 20
= 60
0 10 20 30 40
× × × × ×
45
2) ขอมูล 0, 0, 20, 40, 40 มี X = 20
5
i
i 1
X X
=
−∑ = 20 + 20 + 0 + 20 + 20
= 80
3) ขอมูล 0, 19, 20, 21, 40 มี X = 20
5
i
i 1
X X
=
−∑ = 20 + 1 + 0 + 1 + 20
= 42
พิจารณาจากคา
5
i
i 1
X X
=
−∑ ของขอมูลแตละชุด พบวา ขอมูลในขอ 2) ควรมี
การกระจายมากที่สุด และขอมูลในขอ 3) ควรมีการกระจายนอยที่สุด
และเมื่อหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตรพบวา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ
ขอมูลในแตละขอมีดังนี้
1) s = 15.81 2) s = 20 3) s = 14.16
4. 1) ขอมูล 5, 5, 5, 5, 5, 5 มี X = 5
จะเห็นวา ขอมูลแตละตัวไมแตกตางจากคาเฉลี่ยเลขคณิต
ดังนั้น สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนี้จะเทากับ 0
2) ขอมูล 10, 10, 10, 20, 20, 20 มี X = 15
จะเห็นวา ขอมูลแตละตัวตางจากคาเฉลี่ยเลขคณิต เทากับ 5 และ iX X− = 5
พิจารณาคา
6
i
i 1
X X
6
=
−∑
ของขอมูลชุดนี้ซึ่งเทากับ 6 5
6
×
หรือ 5
แสดงวา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนี้ควรมีคาใกลเคียง 5
จากการหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากสูตรพบวา s = 5.47
0 10 20 30 40
×
×
× ×
×
0 10 20 30 40
×× ×× ×
46
3) ขอมูล 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20, 22 มี X = 14
พิจารณาคา
9
i
i 1
X X
9
=
−∑
ของขอมูลชุดนี้ ซึ่งเทากับ
8 6 4 2 0 2 4 6 8
9
+ + + + + + + +
≈ 4.4
แสดงวา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนี้ควรมีคาใกลเคียง 5
จากการหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากสูตรพบวา s = 5.47
4) ขอมูล 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40, 45 มี X = 25
พิจารณาคา
9
i
i 1
X X
9
=
−∑
ของขอมูลชุดนี้ ซึ่งเทากับ
20 15 10 5 0 5 10 15 20
9
+ + + + + + + +
= 100
9
≈ 11.11
แสดงวา ขอมูลชุดนี้ไมควรมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานใกลเคียงกับ 5
จากการหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากสูตรพบวา s = 13.69
5. ขอมูลชุดแรก 16, 23, 34, 56, 78, 92, 93 มี X = 56
ขอมูลชุดที่สอง 20, 27, 38, 60, 82, 96, 97 มี X = 60
พิจารณาความแตกตางคาจากการสังเกตกับคา X ของขอมูลแตละชุดดังนี้
ชุดแรก
X 60=
ชุดที่สอง
15 25 35 45 55 65 75 85 95 105
X 56=
19 29 39 49 59 69 79 89 99 109
× × × × × ××
× × × × × ××
47
จากแผนภาพจะเห็นวา ขอมูลทั้ง 2 ชุด มีการกระจายจากคาเฉลี่ยเลขคณิต (X )
ในลักษณะที่ใกลเคียงกัน ดังนั้น ถาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดแรกมีคา 30
(โดยประมาณ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดที่สองควรจะมีคา 30 (โดยประมาณ)
ดวย หาคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลทั้งสองชุด โดยใชสูตรไดดังนี้
ขอมูลชุดแรก s =
n
2
i
i 1
(X X)
n 1
=
−
−
∑
s = 1600 1089 484 0 484 1296 1369
6
+ + + + + +
= 6322
6
≈ 32.46
ขอมูลชุดที่สอง s =
n
2
i
i 1
(X X)
n 1
=
−
−
∑
s = 1600 1089 484 0 484 1296 1369
6
+ + + + + +
= 6322
6
≈ 32.46
จากการคํานวณคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานพบวา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ
ขอมูลทั้งสองชุดนี้เทากัน
6. 1) X = 201
10
= 20.1
2) s =
n
2
i
i 1
(X X)
n 1
=
−
−
∑
= 0.01 0.01 1.21 0.81 0.81 4.41 0.01 3.61 8.41 9.61
9
+ + + + + + + + +
= 28.9
9
≈ 1.79
48
3) ถาขอมูลชุดนี้มีคาเฉลี่ยเลขคณิตและมัธยฐานเทากัน ขอมูลชุดนี้ควรจะมีการ
กระจายแบบสมมาตร
7. 1) X = 51 และ s = 2.26
2) เนื่องจากการสุมชั่งน้ําหนักมันสําปะหลัง 15 กระสอบ พบวา
คาเฉลี่ยเลขคณิตของน้ําหนักมันสําปะหลังหนึ่งกระสอบ คือ 51 กิโลกรัม
ดังนั้น ถาใหน้ําหนักของมันสําปะหลังหนึ่งกระสอบ คือ 51 กิโลกรัม
รถบรรทุกซึ่งบรรทุกน้ําหนักไดไมเกิน 5 ตัน (5,000 กิโลกรัม) จึงควรบรรทุก
มันสําปะหลังไดไมเกินคันละ 5000
51
หรือ 98 กระสอบ
เฉลยคําถามเพิ่มเติม
1. 1) จากแผนภาพกลองของนักเรียนหอง ม.5/1
คาต่ําสุด คือ 60 คาสูงสุดคือ 100
และ Q1 = 67, Q2 = 75 และ Q3 = 88
ดังนั้น 25% ของนักเรียนหอง 5/1 ที่ไดคะแนนอยูในกลุมต่ําสุด อยูในชวง
คะแนน 60 – 67 โดยมีคะแนนต่ําสุด 60 และคะแนนสูงสุด 67 คะแนน
2) จากแผนภาพกลองของนักเรียนหอง ม.5/2
60
67 75 88
100
64
77 85 91
98
49
คาต่ําสุดคือ 64 คาสูงสุดคือ 98
และ Q1 = 77, Q2 = 85 และ Q3 = 91
ดังนั้น นักเรียนหอง ม. 5/2 ที่ไดคะแนนมากกวาหรือเทากับ 91 คะแนน
มีประมาณ 25%
3) มีนักเรียนหอง ม. 5/1 อยู 50% ที่ไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับ 75 คะแนน
4) มีนักเรียนหอง ม. 5/2 อยู 75% ที่ไดคะแนนมากกวาหรือเทากับ 77 คะแนน
5) ถาผูสอนใหระดับคะแนน 4 แกผูสอบที่ไดคะแนนตั้งแต 80 คะแนนขึ้นไป
จากแผนภาพกลองพบวา นักเรียนหอง ม.5/2 มีผูที่สอบไดคะแนน 80 คะแนน
ซึ่งไดระดับคะแนน 4 เกิน 50% ในขณะที่หอง ม.5/1 มีนักเรียนที่ไดคะแนน
ตั้งแต 80 คะแนนขึ้นไป ไมถึง 50% (เนื่องจาก Q2 เทากับ 75 คะแนน)
ดังนั้น หอง ม.5/2 ควรจะมีผูที่ไดระดับคะแนน 4 มากกวาหอง ม.5/1
2. เปนไปไมไดที่แผนภาพที่สามจะแทนคะแนนเฉลี่ยจากการสอบทั้งสองครั้งของ
นักเรียนแตละคนในกลุมนี้ เพราะคะแนนสูงสุดของแผนภาพที่สาม ไมใชคะแนน
เฉลี่ยสูงสุดของนักเรียนกลุมนี้ ถึงแมวานักเรียนที่ไดคะแนนสูงสุดจากการสอบทั้งสอง
ครั้งเปนคนเดียวกันก็ตาม
หมายเหตุ ผูสอนอาจใหผูเรียนอภิปรายรวมกันวาถาคะแนนเต็มของการสอบแตละ
ครั้งไมเทากัน เหตุผลขางตนยังเปนไปไดหรือไม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงพัน พัน
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"พัน พัน
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตAon Narinchoti
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 

La actualidad más candente (20)

โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 

Destacado

5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไขKrudodo Banjetjet
 
ร้อยละ
ร้อยละร้อยละ
ร้อยละkroojaja
 
เอกสารตำแหน่งที่และกระจายปี
เอกสารตำแหน่งที่และกระจายปีเอกสารตำแหน่งที่และกระจายปี
เอกสารตำแหน่งที่และกระจายปีkrurutsamee
 

Destacado (20)

Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
 
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล285 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
 
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
 
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
 
ร้อยละ
ร้อยละร้อยละ
ร้อยละ
 
เอกสารตำแหน่งที่และกระจายปี
เอกสารตำแหน่งที่และกระจายปีเอกสารตำแหน่งที่และกระจายปี
เอกสารตำแหน่งที่และกระจายปี
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 

Similar a Basic m5-2-chapter2

แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมันPreecha Yeednoi
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9Jirathorn Buenglee
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1Hathaichon Nonruongrit
 

Similar a Basic m5-2-chapter2 (20)

58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม แผน 9 นวัตกรรม
แผน 9 นวัตกรรม
 
Add m1-1-chapter4
Add m1-1-chapter4Add m1-1-chapter4
Add m1-1-chapter4
 
เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมัน
 
58 statistics
58 statistics 58 statistics
58 statistics
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Set
SetSet
Set
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
 

Más de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Más de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (18)

Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4
 
Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1
 
Basic m3-1-link
Basic m3-1-linkBasic m3-1-link
Basic m3-1-link
 
Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
Basic m2-2-chapter3
Basic m2-2-chapter3Basic m2-2-chapter3
Basic m2-2-chapter3
 
Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4
 

Basic m5-2-chapter2

  • 1. บทที่ 2 การวิเคราะหขอมูลเบื้องตน ( 20 ชั่วโมง ) สถิติเปนวิชาที่มีบทบาทในชีวิตประจําวัน และเปนวิชาที่มีบทบาทในแทบทุก วงการ การใหผูเรียนไดมีความรูพื้นฐานทางสถิติอยางเพียงพอ และสามารถวิเคราะห ขอมูลอยางงายไดจึงเปนสิ่งที่จําเปนตอการเรียนรูของผูเรียน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. เลือกใชคากลางที่เหมาะสมกับขอมูลที่กําหนดใหและวัตถุประสงคที่ตองการ 2. วิเคราะหขอมูลเบื้องตนโดยใชคากลาง (คาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม) การ วัดการกระจายโดยใชสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาตําแหนงที่ของขอมูลโดยใช เปอรเซ็นไทลได 3. ใชขอมูลขาวสารและคาสถิติชวยในการตัดสินใจบางอยางได ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น ทางดานความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรู ทางดานทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปน และสอดแทรกกิจกรรม ปญหา หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะกระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียน ทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมี ความเชื่อมั่นในตนเอง ขอเสนอแนะ 1. สถิติเปนวิชาที่วาดวยการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาขอสรุปจากขอมูลเพื่ออธิบาย หรือตอบปญหาที่สนใจ การวิเคราะหขอมูลที่ผูเรียนจะตองศึกษาในชั้นนี้เปนศาสตรที่ กลาวถึงการสรุปสาระสําคัญที่มีอยูในขอมูลและนําเสนอขอมูลดวยคาสถิติ เชน คากลาง
  • 2. 10 คาการวัดการกระจาย แผนภาพ ฯลฯ เพื่ออธิบายลักษณะของขอมูลชุดนั้น ซึ่งในปจจุบัน ไดมีการพัฒนาโปรแกรมสําเร็จรูป เครื่องคํานวณ เชน เครื่องคิดเลขที่สามารถหาคาสถิติได ทําใหสามารถหาคาที่ตองการไดอยางรวดเร็ว ในปจจุบันการเรียนการสอนวิชาสถิติ จึงไม จําเปนตองมุงฝกทักษะการหาคาสถิติตาง ๆ ใหถูกตองแมนยํา เนื่องจากในชีวิตจริงของ ผูเรียนจะตองใชเครื่องคํานวณมาชวยในการหาคาสถิติที่ตองการอยูแลว สิ่งที่ผูสอนควร คํานึงคือการสอนใหผูเรียนมีความรูพื้นฐาน มีความเขาใจ และสามารถนําความรู ความ เขาใจในวิชาสถิติไปใชในการแกปญหาและชวยในการตัดสินใจบางอยางได 2. เนื่องจากในชวงชั้นที่ 3 (ม.1 – ม.3) ผูเรียนมีพื้นฐานในเรื่องการหาคากลาง มาแลว ดังนั้น การกลาวถึงการหาคากลางในชวงชั้นนี้จึงกลาวถึงในลักษณะของการ ทบทวน และในสวนที่เพิ่มเติมจากวิธีการที่กลาวไวตอจากชวงชั้นที่ 3 เชน การหาคากลาง ของขอมูลที่แจกแจงความถี่ในรูปอันตรภาคชั้น สําหรับวิธีการหาคากลางโดยการทอนคาของขอมูลใหนอยลง ดังวิธีการใน ตัวอยางที่ 12 หัวขอการหาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลที่แจกแจงความถี่แลว มีไวเพื่อให ผูเรียนไดเขาใจวิธีการหาคากลางแบบตาง ๆ และอาจหาคากลางของขอมูลที่มีจํานวนไมมาก นักโดยใชวิธีการขางตนไดเมื่อไมมีเครื่องคํานวณชวย แตไมมีวัตถุประสงคใหผูเรียนฝก ทักษะในสวนนี้แตอยางใด 3. การสรางตารางแจกแจงความถี่นั้นเปนการจัดระบบขอมูลเบื้องตน แตมีขอเสีย คือ ทําใหเราไมทราบคาที่แทจริงของขอมูล ทราบแตเพียงคราว ๆ วา คาของขอมูลอยู ในชวงที่กลาวถึง ดังนั้นยิ่งอันตรภาคชั้นมีความกวางมากขึ้นก็ยิ่งทําใหเราทราบลักษณะของ ขอมูลนอยลง รวมทั้งการนําตารางที่ไดไปหาคากลางของขอมูล เมื่อแตละตารางที่สราง ขึ้นมีอันตรภาคชั้นไมเทากันจะทําใหไดคากลางที่แตกตางกันดวย ในปจจุบันนี้การหา คาสถิติของขอมูลที่มีจํานวนมากมักจะใชเครื่องคิดเลขหรือโปรแกรมคอมพิวเตอรทางสถิติ มาชวยในการคํานวณซึ่งจะทําใหตัดปญหาเรื่องการแบงอันตรภาคชั้นออกไป ดังนั้น ผูสอนจึงควรชี้แจงใหผูเรียนมีความเขาใจในเรื่องนี้ดวย 4. การแจกแจงความถี่โดยใชแผนภาพตน-ใบ เปนวิธีการจัดระบบขอมูลที่เรา สามารถทราบคาที่แทจริงของขอมูลได และสามารถวิเคราะหขอมูลอยางคราว ๆ จาก แผนภาพดังกลาวได การใชแผนภาพตน-ใบ เปนวิธีการสรุปขอมูลโดยแผนภาพและจัด
  • 3. 11 กลุมหรือจัดเรียงขอมูลไวดวยกัน นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมคอมพิวเตอรที่สามารถสราง แผนภาพดังกลาวไดดวย การนําวิธีการแจกแจงความถี่โดยใชแผนภาพตน-ใบ ซึ่งเปน วิธีการที่ไดมีการพัฒนาขึ้นเมื่อไมนานมากนัก ทําใหผูเรียนไดเรียนรูวิธีการใชแผนภาพและ สามารถนําแผนภาพตน -ใบ ไปใชในการวิเคราะหขอมูลเบื้องตนได เชน ดูลักษณะการ กระจายของขอมูล ในกรณีที่มีขอมูลเบื้องตนไมมากนัก กิจกรรมเสนอแนะ กิจกรรมที่ 1 จุดประสงค เพื่อใหผูเรียนไดเห็นวา การเลือกตัวอยางโดยการสุมจะทําใหไดตัวอยาง ซึ่งเปนตัวแทนของประชากรที่มีคาสถิติ เชน คากลาง คาที่ใชวัดการ กระจาย มีคาใกลเคียงกับคาที่ไดจากประชากร ผูสอนยกตัวอยางขอมูลที่เปนคะแนน ซึ่งมีจํานวนขอมูลทั้งหมด 500 รายการ และถือวาขอมูลชุดนี้คือขอมูลที่ไดจากประชากร (ขอมูลชุดนี้มีคาเฉลี่ยเลขคณิต (µ) 50 และมีสวนเบี่ยงมาตรฐาน (σ) 10 ทั้งนี้ผูสอนไมตองบอกรายละเอียดสวนนี้ใหผูเรียน ทราบ) ขอมูลทั้งหมดของประชากรนํามาแจกแจงความถี่ไดดังนี้ คะแนน ความถี่ คะแนน ความถี่ 20 21 22 23 24 25 26 27 1 0 0 1 1 1 1 1 28 29 30 31 32 33 34 35 2 2 3 3 4 5 6 6
  • 4. 12 คะแนน ความถี่ คะแนน ความถี่ 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 7 9 10 11 12 13 14 16 17 18 18 19 19 20 20 20 19 19 18 18 17 16 14 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 13 12 11 10 9 7 6 6 5 4 3 3 2 2 1 1 1 1 1 0 0 1 ผูสอนใหผูเรียนสุมตัวอยางโดยมีขั้นตอนดังนี้
  • 5. 13 1. ใหผูเรียนชวยกันเขียนสลากของขอมูลที่เปนคะแนนทั้งหมด 500 รายการใส กลองไว (นั่นคือ เขียนคะแนนบนสลาก ใหจํานวนสลากของแตละคะแนนเทากับความถี่ ของคะแนนนั้น เชน เขียนคะแนน 20 จํานวน 1 ใบ ไมตองเขียนคะแนน 21 เพราะมี ความถี่เปน 0 และเขียนคะแนน 50 จํานวน 20 ใบ) 2. ผูสอนแบงผูเรียนในชั้นเปนกลุม กลุมละ 3 ถึง 4 คน ใหผูเรียนในแตละกลุม ชวยกันหยิบสลากขอมูลกลุมละ 20 ชิ้น โดยกลุมแรกหยิบสลาก 20 ชิ้น จดขอมูลที่ไดไว แลวคืนสลากที่หยิบมาไวในกลองอยางเดิม เขยากลองแลวใหกลุมตอไปทําเหมือนกันจน ครบทุกกลุม 3. เมื่อผูเรียนทํากิจกรรมในขอ 2 แลว ใหเขียนขอมูลที่ไดเรียงจากขอมูลที่มีคา นอยไปหาคามาก แลวใหหา คาเฉลี่ยเลขคณิต (X ) มัธยฐาน และสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (s) ตัวอยางขอมูล 10 ชุด ชุดละ 20 ตัวอยาง ที่นักเรียนสุมขึ้นมาอาจเปนดังนี้ ชุดที่ ขอมูล 1. 55 48 55 50 51 64 48 39* 49 48 54 59 66* 42 53 51 44 58 57 45 2. 44 47 43 63 60 69 47 56 46 36 53 52 49 72* 47 34 66 49 26* 63 3. 79 58 72 80* 56 46 64 44* 59 55 60 60 47 44 47 62 50 47 45 58 4. 52 51 38 58 42 53 47 50 43 55 42 59 63* 46 57 53 54 34* 48 50 5. 53 53 64 51 52 48 42 58 40 58 51 42 60 57 47 40* 68* 51 55 46 6. 33* 49 50 37 40 51 38 55 62 58 46 68* 43 35 63 41 42 36 45 48 7. 45 55 54 46 49 62 47 49 50 48 48 53 25* 52 44 48 39 63* 57 51 8. 59 47 36 43 53 37 66* 52 48 39 56 63 65 35* 58 37 62 55 58 52 9. 61* 20* 46 53 30 39 44 57 61 48 59 34 59 43 55 41 35 26 48 31 10. 54 52 41* 60* 53 51 53 49 47 50 48 52 45 42 55 49 58 43 57 50 * คาที่มากที่สุดหรือนอยที่สุดของขอมูลแตละชุด
  • 6. 14 หมายเหตุ ในทางปฏิบัติ ผูสอนใหผูเรียนเปนผูสุมขอมูลแตละชุดดวยตนเองตามวิธีการที่ได กลาวมาขางตน ตัวอยางที่ใหไวนี้ มีไวเพื่อใชยกตัวอยางในการอภิปรายในตอน ตอไปเทานั้น จากขอมูลที่ได ผูสอนใหผูเรียนแตละกลุมสรางแผนภาพตน -ใบ แลวหาคาเฉลี่ย เลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และพิสัยของขอมูลที่ได โดยอาจดําเนินการดังนี้ 1. ผูสอนใหผูเรียนพิจารณาแผนภาพตน -ใบ ที่เขียนไว แลวประมาณคาเฉลี่ย เลขคณิตวาควรมีคาเทาใด เชน ขอมูลจากชุดที่ 1 3 9 4 2 4 5 8 8 8 9 5 0 1 1 3 4 5 5 7 8 9 6 4 6 จากขอมูลในแผนภาพตน -ใบ ของชุดที่ 1 ผูเรียนควรประมาณวา คา X ควร มีคาใกลเคียงกับ 50 โดยอาจมีคามากกวา 50 เล็กนอย เนื่องจากขอมูลสวนใหญอยูในชวง 50 – 59 และขอมูลที่มีคามากกวา 50 มี 11 จํานวน ซึ่งมากกวาขอมูลที่มีคานอยกวา 50 ที่มี 8 จํานวน จากนั้นผูสอนใหผูเรียนหาคา X , มัธยฐาน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ พิสัยจากคาจริง ซึ่งจะได X = 51.8 มัธยฐาน เทากับ 51 s = 6.95 และ พิสัย เทากับ 66 – 39 = 27 ผูสอนใหผูเรียนกลุมอื่นประมาณคา X โดยใชวิธีการเชนเดียวกับที่กลาว มาแลว เชน จากขอมูลของชุดที่ 3
  • 7. 15 ขอมูลจากชุดที่ 3 4 4 4 5 6 7 7 7 5 0 5 6 8 8 9 6 0 0 2 4 7 2 9 8 0 จะเห็นวา ขอมูลที่มีคานอยกวา 60 มีทั้งหมด 13 คา ซึ่งนาจะมีคาประมาณ 50 × 13 หรือ 650 และคาที่มากกวาหรือเทากับ 60 คะแนน มี 7 คา ซึ่งนาจะมี คาประมาณ 65 × 7 หรือ 455 และเมื่อนําผลรวมจากคาประมาณซึ่งเทากับ 650 + 455 หรือ 1105 มาหาคาเฉลี่ย จะไดคา X ซึ่งเปนคาประมาณเทากับ 1105 ÷ 20 หรือ 55.25 เมื่อหาคา X , มัธยฐาน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และพิสัยโดยการคํานวณ จากคาจริง จะได X = 56.65 มัธยฐาน เทากับ 56 58 2 + = 57 s = 10.98 และ พิสัย เทากับ 80 – 44 หรือ 36 ผูสอนใหผูเรียนกลุมอื่น ๆ ทํากิจกรรมเชนเดียวกันจนครบทุกกลุม เพื่อให ผูเรียนฝกวิธีการประมาณคา X โดยพิจารณาจากแผนภาพตน -ใบ และใชทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตรที่เหมาะสม กิจกรรมที่กลาวมานี้ไมไดเนนความถูกตอง เรื่องการประมาณคาแตตองการใหผูเรียนมองภาพความสัมพันธของขอมูลโดยใชแผนภาพ ตน -ใบ และฝกทักษะการวิเคราะหขอมูลเบื้องตน 2. เมื่อผูเรียนหาคา X ของขอมูลไดแลว ใหผูเรียนแตละกลุมพิจารณาวา ขอมูล แตละตัวในขอมูลตัวอยางของกลุมตางจากคา X มากหรือนอยเพียงใด จากนั้นจึงให สองกลุมใด ๆ จับคูกันแลวพิจารณาโดยใชการประมาณคาและอธิบายเหตุผลวา ขอมูล ของกลุมใดควรจะมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมากกวากัน เมื่อไดขอสรุปแลวใหผูเรียนหา
  • 8. 16 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยการคํานวณจากสูตรเพื่อพิจารณาวาขอสรุปที่ไดจากการ ประมาณใกลความจริงมากหรือนอยเพียงใด 3. ในกรณีที่มีเครื่องคิดเลขที่สามารถหาคาสถิติเบื้องตนได ผูสอนใหผูเรียน หาคา µ และ σ ของประชากรที่กําหนดให (ในกรณีที่ไมมีเครื่องคิดเลขใหผูสอนบอก คาดังกลาวแกผูเรียน) แลวใหผูเรียนชวยกันพิจารณาวา ขอมูลของผูเรียนแตละกลุมมี คาเฉลี่ยเลขคณิต และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานแตกตางจากคาดังกลาวของประชากรมาก นอยเพียงใด การสุมตัวอยางที่กลาวมา ผูสอนอาจจะใหผูเรียนทํากิจกรรมซ้ํา โดยใหสุมตัวอยาง เพิ่มเติมจาก 20 ตัวอยาง เปน 50 หรือ 100 ตัวอยาง เพื่อใหไดจํานวนตัวอยางเพิ่มมากขึ้น แลวพิจารณาใหมวา ขอสรุปจากจํานวนตัวอยางที่มากขึ้นจะทําใหคาเฉลี่ยเลขคณิต และ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ไดจากตัวอยางใกลเคียงกับคาที่ไดจากประชากรมากขึ้นหรือไม แมวาขอสรุปที่ไดจากการทํากิจกรรมที่กลาวมาในตัวอยาง จะไมไดใชวิธีการสถิติ ขั้นสูงและไมสามารถใหขอสรุปในกรณีทั่วไปไดก็ตาม แตการใชกิจกรรมนี้มีจุดประสงค ที่จะแสดงใหผูเรียนไดมองเห็นความสัมพันธระหวางคาสถิติของขอมูลตัวอยางที่เลือก ขึ้นมาโดยการสุม กับคาสถิติของประชากร โดยผูสอนควรบอกใหผูเรียนไดทราบวา ในทางปฏิบัติ การที่จะเลือกตัวอยางขึ้นมาจากประชากรใดนั้นจะตองอาศัยความรูทางดาน คณิตศาสตร และสถิติอีกมากซึ่งผูเรียนจะไดเรียนเมื่อเลือกเรียนวิชาสถิติใน ระดับอุดมศึกษา กิจกรรมที่ 2 จุดประสงค เพื่อใหผูเรียนเขาใจความหมายของคากลางและการกระจายของขอมูล ขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม 1. ผูสอนตั้งคําถามใหผูเรียนดังนี้ ถามีขอมูลสองชุดที่มีคาเฉลี่ยเทากันแลว จะบอกไดหรือไมวาขอมูลที่มีคาเฉลี่ย เลขคณิตเทากันจะตองมีขอมูลที่มีการกระจายใกลเคียงกัน โดยใหผูเรียนตอบโดย ยกตัวอยางเพื่อแสดงเหตุผลประกอบ
  • 9. 17 ในกรณีที่ผูเรียนไมสามารถยกตัวอยางเพื่อแสดงเหตุผลประกอบคําตอบได ให ผูสอนยกตัวอยางขอมูลที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากันหลาย ๆ ตัวอยางเพื่อใหผูเรียนสรุป คําตอบ เชน ผูสอนยกตัวอยางขอมูล 4 ชุด ซึ่งแตละชุดประกอบดวยขอมูล 5 จํานวน และมี X เทากับ 5 ดังนี้ ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4 1 1 1 4 4 4 5 5 5 5 5 5 5 5 6 6 6 9 9 9 2. ผูสอนแนะนําใหผูเรียนหาพิสัยของขอมูลแตละชุด เพื่อแสดงวาคาดังกลาว สามารถบอกลักษณะของขอมูลไดอยางคราว ๆ วามีการกระจายมากนอยเพียงใด จากนั้นผูสอนจึงสรุปใหผูเรียนทราบวา การใชคากลางซึ่งในที่นี้ใชคาเฉลี่ยเลข คณิต ไมสามารถบอกลักษณะการกระจายของขอมูลที่กําหนดใหได แตเราอาจใชพิสัย เพื่อบอกลักษณะการกระจายของขอมูลอยางคราว ๆ ได 3. ผูสอนตั้งคําถามกับผูเรียนตอวา ถามีขอมูลสองชุดที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิตและพิสัย เทากันแลว ขอมูลทั้งสองชุดจะตองเหมือนกันหรือมีลักษณะใกลเคียงกันหรือไม โดยให ผูเรียนยกตัวอยางประกอบเหตุผลในการตอบ ในกรณีที่ผูเรียนไมสามารถยกตัวอยางได ผูสอนอาจแสดงตัวอยางตอไปนี้ เพื่อใหผูเรียนเขาใจวา พิสัยสามารถบอกลักษณะการกระจายของขอมูลไดอยางคราว ๆ เทานั้น ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 1 1 1 1 4 2 5 5 5 6 8 9 9 9 9
  • 10. 18 4. ผูสอนแนะนําวิธีการวัดการกระจายของขอมูล โดยใชการเฉลี่ยความแตกตาง ของขอมูลแตละคาจากคาเฉลี่ยเลขคณิต ซึ่งวิธีที่นิยมใชกันทั่วไปคือการใชสวนเบี่ยงเบน มาตรฐานตามวิธีการในหนังสือเรียน ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท 1. จากตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบของนักเรียน 100 คน ตอไปนี้ 1) จงสรางตารางแจกแจงความถี่สะสมของคะแนนสอบของนักเรียนกลุมนี้ 2) จากตารางแจกแจงความถี่สะสมในขอ 1) จงหาวามัธยฐานของขอมูลชุดนี้อยู ในชวงคะแนนใด 3) จงหารอยละของจํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนต่ํากวา 51 คะแนน คะแนน จํานวนนักเรียน 21 – 30 31 – 40 41 – 50 51 – 60 61 – 70 71 – 80 81 – 90 91 – 100 2 3 5 11 15 23 26 15 รวม 100 2. ขอมูลในลักษณะใดตอไปนี้ที่ไมควรใชคาเฉลี่ยเลขคณิตในการหาคากลาง 1) ความเร็วของรถยนต (กิโลเมตร / ชั่วโมง) 2) เพศ (ชาย หญิง) 3) อายุ (ป) 4) ระดับคะแนน (1, 2, 3, 4, 5) 5) น้ําหนัก (ต่ํากวามาตรฐาน อยูในเกณฑมาตรฐาน เกินมาตรฐาน)
  • 11. 19 3. จากขอมูลที่กําหนดให 3 15 21 30 9 11 4 18 21 30 30 14 5 11 22 23 13 12 5 13 12 21 4 13 8 1) จงสรางแผนภาพตน-ใบ 2) จงหาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของขอมูลชุดนี้ 4. ขอมูลที่เปนเวลาที่คนไขใชในการรอพบแพทยในโรงพยาบาลแหงหนึ่งเปนดังนี้ เวลา (นาที) 0 1 2 3 3 9 4 5 5 4 8 5 1 8 4 1 3 2 3 2 3 1 1 2 3 1 0 0 0 1) จงหา เวลาที่นานที่สุดที่คนไขตองรอพบแพทย 2) เวลาที่คนไขตองรอพบแพทยต่ํากวา 10 นาที มีกี่เปอรเซ็นตของขอมูลทั้งหมด 3) จงหามัธยฐานของขอมูลชุดนี้ 5. จากตารางแผนภาพตน-ใบ ที่แสดงอายุของนักทองเที่ยวที่เดินทางมาเที่ยวเกาะชาง ตอไปนี้ อายุ (ป) 0 6 7 3 9 3 4 6 6 4 0 0 1 2 2 2 4 7 5 3 5 8 1 3 2 1 6 1 1 2
  • 12. 20 จงหา 1) จํานวนนักทองเที่ยวกลุมนี้ 2) อายุที่นอยที่สุด และอายุที่มากที่สุดของนักทองเที่ยวกลุมนี้ 3) คาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของอายุของนักทองเที่ยวกลุมนี้ 6. จากผลการสอบวิชาคณิตศาสตร นัทไดคะแนนเทากับเปอรเซ็นไทลที่ 65 ขอความใด ตอไปนี้ถูกตอง 1) นัทสอบไดคะแนน 65% 2) 35% ของนักเรียนที่เขาสอบไดคะแนนเทากับหรือนอยกวาคะแนนที่นัทได 3) 65% ของนักเรียนที่เขาสอบไดคะแนนมากกวาคะแนนของนัท 4) 65% ของนักเรียนที่เขาสอบไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับคะแนนของนัท 7. ในการสอบครั้งหนึ่งมีผูเขาสอบทั้งหมด 280 คน ถาเปอรเซ็นไทลที่ 75 ของคะแนน สอบครั้งนี้คือ 84 จงหาวา มีนักเรียนกี่คนที่สอบไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับ 84 คะแนน เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท 1. 1) คะแนน ความถี่ ความถี่สะสม 21 – 30 31 – 40 41 – 50 51 – 60 61 – 70 71 – 80 81 – 90 91 – 100 2 3 5 11 15 23 26 15 2 5 10 21 36 59 85 100
  • 13. 21 2) มัธยฐานอยูในชวงคะแนน 71 – 80 3) จํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนต่ํากวา 51 คะแนน มี 10 100 100 × = 10% 2. ขอมูลที่ไมควรใชคาเฉลี่ยเลขคณิตในการหาคากลาง ไดแก 2) เพศ (ชาย, หญิง) 5) น้ําหนัก (ต่ํากวามาตรฐาน, อยูในเกณฑมาตรฐาน, เกินมาตรฐาน) 3. 1) 0 3 4 4 5 5 8 9 1 1 1 2 2 3 3 3 4 5 8 2 1 1 1 2 3 3 0 0 0 2) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 14.72 มัธยฐาน คือ 13 ฐานนิยม สําหรับขอมูลชุดนี้อาจกลาวไดวาไมมีฐานนิยมเพราะมีคาที่มีความถี่ เทากันมากกวาสองคา ไดแก 13, 21 และ 30 4. 1) 30 นาที 2) 28% 3) 13 นาที 5. 1) 25 คน 2) อายุนอยที่สุด คือ 6 ป อายุมากที่สุด คือ 62 ป 3) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 43.44 มัธยฐาน คือ 42 ฐานนิยม คือ 42
  • 14. 22 6. ขอ 4) 65% ของนักเรียนที่เขาสอบไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับคะแนนของนัท 7. คะแนน 84 คะแนนคือคะแนนในตําแหนง P75 นั่นคือ ถามีนักเรียน 100 คน จะมี 75 คนที่ไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับ 84 ดังนั้น เมื่อมีนักเรียน 280 คน จะมีนักเรียน 75 280 100 × = 210 คนที่ไดคะแนน นอยกวาหรือเทากับ 84 คะแนน เฉลยแบบฝกหัด เฉลยแบบฝกหัด 2.1 1. 1) ยอดเงินที่จาย (บาท) จํานวนลูกคา ต่ํากวา 100 100 – 199 200 – 299 300 – 399 400 – 499 500 – 599 600 – 699 2 4 11 13 14 5 1 2) 400 – 499 บาท 3) มากกวา 1 คน 4) ประมาณจํานวนเงินในชวงต่ํากวา 100 ใหเทากับ 50 บาท หาคากึ่งกลางของ แตละอันตรภาคชั้นและประมาณจํานวนเงินที่ลูกคาจายโดยใชจุดกึ่งกลาง
  • 15. 23 จุดกึ่งกลาง จํานวนลูกคา จํานวนเงิน 50 149.5 249.5 349.5 449.5 549.5 649.5 2 4 11 13 14 5 1 50 × 2 149.5 × 4 249.5 × 11 349.5 × 13 449.5 × 14 549.5 × 5 649.5 × 1 รวม 17,676 ลูกคาทั้ง 50 คนใชเงินในการซื้อสินคาประมาณ 17,676 บาท 2. จากตารางแจกแจงความถี่สะสมที่กําหนดให จะไดตารางแจกแจงความถี่ดังนี้ อายุ (ป) ความถี่ (คน) 10 – 19 20 – 29 30 – 39 40 – 49 50 – 59 60 – 69 2 15 10 5 0 3 รวม 35 1) จากตารางแจกแจงความถี่ที่ได คนที่มีอายุอยูในชวง 10 - 19 ป มี 2 คน ชวง 20 – 29 ป มี 15 คน ชวง 30 – 39 ป มี 10 คน ชวง 40 – 49 ป มี 5 คน ไมมีคน ที่มีอายุอยูในชวง 50 – 59 ป และคนที่มีอายุอยูในชวง 60 – 69 ป มี 3 คน 2) 20 – 29 ป
  • 16. 24 3. 1) 80 – 89 คะแนน มี 8 คน 60 – 89 คะแนน มี 49 คน 2) 3 คน 3) 70 – 79 คะแนน 4) 31 คน 4. 1) เนื่องจากคาต่ําสุดของขอมูลคือ 345 คน และสูงสุดคือ 730 คน สรางตารางแจกแจงความถี่ใหมี 10 อันตรภาคชั้นไดดังนี้ จํานวนประชากร รอยขีด จํานวนหมูบาน 341 – 380 381 – 420 421 – 460 461 – 500 501 – 540 541 – 580 581 – 620 621 – 660 661 – 700 701 – 740 // //// // //// //// //// //// //// //// / //// //// / //// //// / /// / / 2 7 5 14 11 11 11 3 1 1
  • 17. 25 2) อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สะสม 341 – 380 381 – 420 421 – 460 461 – 500 501 – 540 541 – 580 581 – 620 621 – 660 661 – 700 701 – 740 2 7 5 14 11 11 11 3 1 1 2 9 14 28 39 50 61 64 65 66 (1) 28 หมูบาน (2) 48 หมูบาน (3) จํานวนหมูบานที่มีประชากรอาศัยอยูเกิน 660 คน เทากับ 66 – 64 หรือ 2 หมูบาน ซึ่งคิดเปนรอยละ 2 100 66 × หรือประมาณรอยละ 3 5. 1) เวลา (t นาที) รอยขีด ความถี่ 0 < t ≤ 5 5 < t ≤ 10 10 < t ≤ 15 15 < t ≤ 20 20 < t ≤ 25 25 < t ≤ 30 / //// //// //// //// //// //// / / 1 5 9 10 6 1 รวม 32
  • 18. 26 2) จากตารางนักเรียนจํานวนมากที่สุดใชเวลาเดินทางมากกวา 15 นาที แตไมเกิน 20 นาที 3 ) จากขอมูลขางตนนาจะสรุปไดวา ที่พักของนักเรียนเหลานี้ไมไกลจากโรงเรียน มากนัก (ครูกับผูเรียนอาจอภิปรายเพิ่มเติมจากขอมูลก็ได โดยคําตอบและ คําอธิบายที่ใหควรสมเหตุสมผล และอาจเปนประเด็นใหทําการสํารวจขอมูล ตอไป) 6. 1) จํานวนเด็ก (คน) รอยขีด ความถี่ (ครอบครัว) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 //// //// / //// //// //// //// //// // //// // // /// / 5 6 19 7 7 2 3 0 1 รวม 50 2) (1) 19 ครอบครัว (2) 25 ครอบครัว (6 + 19) (3) 11 ครอบครัว (5 + 6) (4) 30 ครอบครัว (19 + 6 + 5) (5) 20 ครอบครัว (50 – 30) (6) 30 ครอบครัว (19 + 6 + 5) 3) (1) 20 100 50 × หรือ รอยละ 40 (2) 30 100 50 × หรือ รอยละ 60 (3) 20 100 50 × หรือ รอยละ 40 (4) 13 100 50 × หรือ รอยละ 26
  • 19. 27 7. 1) คะแนน ความถี่ ความถี่สัมพัทธ ความถี่สะสม 30 – 39 40 – 49 50 – 59 60 – 69 70 – 79 80 – 89 90 – 99 2 0 6 6 10 13 8 4.44 0 13.33 13.33 22.22 28.89 17.78 2 2 8 14 24 37 45 2) ชวงคะแนน 80 – 89 คะแนน 3) 13.3% 4) 37 คน 5) 17.8% 8. 1) (1) 2,467,839 คน (2) 38,074 คน (3) 4,954,109 คน (4) 3,794,796 คน 2) (1) 16.53% (2) 1.73% (3) 24.32% (4) 33.24% (5) 31.75% 9. 1) นักเรียนที่ไดคะแนนวิชาคณิตศาสตรตั้งแต 80 ถึง 89 คะแนน มี 8 คน นักเรียนที่ไดคะแนนวิชาคณิตศาสตรตั้งแต 60 ถึง 89 คะแนน มี 58 – 9 = 49 คน 2) นักเรียนที่ไดคะแนนวิชาคณิตศาสตรต่ํากวา 50 คะแนน มี 3 คน 3) ชวงคะแนนที่มีจํานวนนักเรียนไดมากที่สุด คือ ชวง 70 – 79 คะแนน 4) นักเรียนที่ไดคะแนนวิชาคณิตศาสตรตั้งแต 70 คะแนนขึ้นไป มี 60 – 29 = 31 คน
  • 20. 28 10. 1) ระดับคะแนน จํานวนนักเรียน 4 3 2 1 ไมผาน 8 13 10 12 2 รวม 45 2) ระดับคะแนน 3 11. 1) คะแนนสอบ ความถี่ ความถี่สะสม 701 – 800 601 – 700 501 – 600 401 – 500 301 – 400 201 – 300 4 10 15 18 11 2 60 56 46 31 13 2 2) จํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนมากกวา 700 คะแนน มี 4 คน จํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนต่ํากวา 301 คะแนน มี 2 คน จํานวนนักเรียนทั้งสองกลุมเทากับ 6 คน คิดเปนรอยละ 6 100 60 × หรือ 10% ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด
  • 21. 29 กิจกรรม กิจกรรมนี้ผูสอนใหผูเรียนแบงกลุมกันกําหนดระดับคะแนนและใหแตละกลุม มานําเสนอความคิดเห็นของตน เพื่อฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร โดยใชความรู สถิติในเรื่องที่เรียนมา ทั้งนี้อาจใชคะแนนในโจทยขอ 11 หรือนักเรียนกําหนดคะแนนขึ้น เองก็ได เฉลยแบบฝกหัด 2.2.1 1. 1) ตารางแจกแจงความถี่ของจํานวนบุหรี่ที่ผูปวยสูบในแตละวัน จํานวนบุหรี่ (มวน) รอยขีด จํานวนผูปวย (คน) 7 – 9 10 – 12 13 – 15 16 – 18 19 – 21 / //// //// //// // 1 5 4 4 2 2) ฮิสโทแกรมแสดงจํานวนบุหรี่ที่ผูปวยสูบในแตละวัน 1 0 3 2 5 4 จํานวนบุหรี่ (มวน) จํานวนผูปวย (คน) 118 14 17 20
  • 22. 30 2. 1) ตารางแจกแจงความถี่ของน้ําหนักนักเรียน 50 คน น้ําหนัก รอยขีด ความถี่ 40 – 44 45 – 49 50 – 54 55 – 59 60 – 64 /// //// //// //// //// //// //// / //// //// /// //// 3 9 21 13 4 2) ฮิสโทแกรมแสดงน้ําหนักนักเรียน 3. 1) นักเรียนที่สูงที่สุด สูง 175 เซนติเมตร นักเรียนที่เตี้ยที่สุด สูง 151 เซนติเมตร ทั้งสองคนมีความสูงแตกตางกัน 24 เซนติเมตร 2) ตารางแจกแจงความถี่แสดงความสูงของนักเรียน ความสูง รอยขีด จํานวนนักเรียน 150 – 156 155 – 159 160 – 164 165 – 169 170 – 174 175 – 179 //// // //// //// //// /// //// //// //// / //// /// / 7 18 10 6 8 1 3 0 9 6 15 12 น้ําหนัก (กิโลกรัม) จํานวนนักเรียน (คน) 21 18 42 47 52 57 62
  • 23. 31 3) ฮิสโทแกรมแสดงความสูงของนักเรียน 4. 1) 50 ผล 2) 36 ผล คิดเปน 72% ของจํานวนผลสมทั้งหมด 3) 3 0 9 6 15 12 152 ความสูง (ซม.) จํานวนนักเรียน (คน) 157 162 167 172 21 18 177 2 0 6 4 10 8 64.5 น้ําหนัก (กรัม) / ผล จํานวนผลสม (ผล) 74.5 84.5 94.5 104.5 12 114.5 124.5 134.5
  • 24. 32 เฉลยแบบฝกหัด 2.2.2 1. 1) จากขอมูลที่กําหนดใหนํามาจัดเรียงใหมไดดังนี้ 19 24 24 24 23 31 35 36 38 34 38 33 36 44 43 47 44 42 49 48 จากขอมูลที่จัดเรียงขางตนนํามาเขียนแผนภาพตน-ใบ ไดดังนี้ 1 9 2 3 4 4 4 3 1 3 4 5 6 6 8 8 4 2 3 4 4 7 8 9 2) จากแผนภาพตน-ใบ พบวา ในชวง 30 – 39 คะแนนมีจํานวนนักเรียนมากที่สุด 2. 1) จากขอมูลที่กําหนดใหเขียนแผนภาพตน-ใบ ไดดังนี้ 0 7 8 9 1 1 2 3 4 6 7 8 8 9 2 2 2 4 5 3 0 2 2 3 4 5 4 1 3 5 6 5 1 6 6 6 1 2) อายุต่ําสุดของผูเขาชมนิทรรศการ คือ 7 ป อายุสูงสุดของผูเขาชมนิทรรศการ คือ 61 ป 3) ผูเขาชมนิทรรศการมีอายุอยูในชวง 10 – 19 ป มากที่สุด
  • 25. 33 3. 1) 12 3 9 9 13 1 2 5 7 14 4 8 15 0 1 1 3 4 4 8 9 16 0 0 1 6 17 0 5 6 18 0 3 5 9 19 8 20 6 2) คนไขมีความดันโลหิตในชวง 150 – 159 มากที่สุด 4. 1) 9 20 20 60 80 90 10 00 40 11 20 40 50 70 12 40 40 60 60 70 13 00 30 50 60 60 14 00 30 60 80 15 20 50 60 70 16 10 80 17 20 18 19 40 20 00 90 9 20 แทน 920 10 00 แทน 1000
  • 26. 34 2) พนักงานไดรับเงินสมทบในชวง 900 – 990 บาท 1200 – 1290 บาท และ 1300 – 1390 บาท ชวงละ 5 คนเทากัน จึงอาจกลาวไดวาไมมีชวงจํานวนเงินใดที่ มีพนักงานจํานวนมากที่สุดไดรับเงินในชวงนั้น 3) พนักงานที่ไดรับเงินสมทบในชวงต่ําสุด มี 5 คน ซึ่งมากกวาพนักงานที่ไดรับเงิน สมทบในชวงสูงสุด 3 คน 5. 1) 25 คน 2) เวลาที่นอยที่สุด 41 นาที เวลาที่มากที่สุด 90 นาที 6. มี 11 คน หรือคิดเปน 11 100 25 × หรือ 44% 7. 1) 0 5 5 1 0 0 5 5 2 0 0 0 0 0 0 0 0 5 5 5 5 5 5 5 5 3 0 0 0 0 5 4 0 5 5 2) 20 – 29 นาที 8. 1) 9 0 5 8 10 4 4 5 6 11 1 2 3 7 12 2 2 3 4 5 8 8 13 1 2 3 4 5 9 9 2) มี 14 100 25 × หรือ 56%
  • 27. 35 9. 1) คาประมาณของความสูงของตนไมที่ประมาณไวสูงมากที่สุด คือ 6.6 เมตร คาประมาณของความสูงของตนไมที่ประมาณไวสูงนอยที่สุด คือ 2.4 เมตร 2) จํานวนนักเรียนที่ประมาณความสูงของตนไมต่ํากวา 4 เมตร มี 12 100 30 × = 40% เฉลยแบบฝกหัด 2.3 1. เนื่องจากมีนักเรียน 9 คน ที่ไดคะแนนสอบนอยกวาหรือเทากับ 25 คะแนน และ คะแนน 25 คะแนนเปนคะแนนในตําแนง P25 ดังนั้น นักเรียน 9 คน คิดเปนรอยละ 25 ของจํานวนนักเรียนที่เขาสอบทั้งหมด ถาใหจํานวนนักเรียนทั้งหมด คือ N คน จะได 25 N 100 × = 9 ซึ่งได N = 36 นั่นคือ มีนักเรียนเขาสอบครั้งนี้ทั้งหมด 36 คน หมายเหตุ อาจมีนักเรียนบางคนคิดวา P25 คือคะแนนของนักเรียนในตําแหนงที่ 9 แลว ใชสูตร เขียนสมการ 25(N+1) = 9 100 จะไดวา N = 35 และตอบวามีนักเรียนเขาสอบทั้งหมด 35 คน การตอบเชนนี้ก็ถือวาเปนคําตอบที่ถูกตองเชนกัน เพราะคะแนน 25 ซึ่งเปน คะแนนของตําแหนง P25 อาจเปนคะแนนของนักเรียนคนที่ 9 หรืออยูระหวาง คะแนนของคนที่ 9 และคนที่ 10 ก็ได และถาคะแนน 25 เปนคะแนนของคนที่ 9 ก็ จะไดวามีนักเรียนเขาสอบ 35 คน แตถาคะแนนนั้นเปนคะแนนระหวางคนที่ 9 และ คนที่ 10 ก็จะไดวามีนักเรียนเขาสอบ 36 คน ดังนั้นเมื่อนักเรียนตอบ 35 หรือ 36 คน ก็ถือวาตอบถูกตองทั้งคู ขึ้นอยูวานักเรียนมีกระบวนการคิดเชนไร 2. คะแนนในตําแหนงเปอรเซ็นไทลที่ 40 เทากับ 78 คะแนน และมีนักเรียน 8 คนที่ ไดคะแนนเทากับหรือนอยกวา 78 คะแนน จาก 40 N 8 100 × = จะได N = 20 ดังนั้น จะมีนักเรียนที่ไดคะแนนมากกวา 78 คะแนน อยู 20 – 8 หรือ 12 คน 3. เนื่องจาก 20 100 25 × = 80% ดังนั้น คะแนน 92 คะแนนอยูในเปอรเซ็นไทลที่ 80
  • 28. 36 4. 80% ของคนที่สอบวิชาภาษาไทยเหมือนเตาไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับคะแนน ที่เตาได 5. 6 คน 6. เนื่องจากรอยละ 68 ของนักเรียนที่เขาสอบทั้งหมด 25 คน เทากับ 68 25 100 × หรือ 17 คน ดังนั้น คะแนนที่อยูในตําแหนงเปอรเซ็นไทลที่ 68 คือ 88 คะแนน 7. จากขอมูลที่กําหนดให สรางแผนภาพตน-ใบไดดังนี้ 3 0 4 9 4 0 7 9 5 0 0 1 2 2 3 4 4 4 4 5 6 7 8 8 9 6 0 1 3 4 4 9 9 9 7 0 1 จากแผนภาพตน-ใบ 1) นักเรียนตองสอบได 52 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้ ประมาณรอยละ 30 หรือประมาณ 10 คน จาก 32 คน นักเรียนตองสอบได 56 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้ ประมาณรอยละ 55 หรือประมาณ 18 คน จาก 32 คน 2) นักเรียนตองสอบได 54 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้ ประมาณ 4 ใน 10 หรือประมาณ 13 คน จาก 32 คน นักเรียนตองสอบได 69 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้ ประมาณ 9 ใน 10 หรือประมาณ 29 คน จาก 32 คน 3) นักเรียนตองสอบได 63 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาอยู 3 ใน 4 หรือประมาณ 24 คน จาก 32 คน
  • 29. 37 เฉลยแบบฝกหัด 2.4 1. คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 8 มัธยฐาน คือ 8 ฐานนิยม คือ 8 ขอความที่เปนจริงสําหรับขอมูลชุดนี้คือ ขอความ 2) และขอความ 4) 2. คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 40 มัธยฐาน คือ 40 ดังนั้น ขอความ 2) ถูกตอง 3. ขอมูลทั้งหมด 7 จํานวน มีคาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 81 จะได ผลรวมของขอมูลทั้ง 7 จํานวน คือ 81 × 7 = 567 ตัดขอมูลออกไป 1 จํานวน คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 78 จะไดผลรวมของขอมูล 6 จํานวน คือ 78 × 6 = 468 นั่นคือ ขอมูลที่ถูกตัดออกไปมีคา 567 – 468 = 99 4. 1) X = 3 มัธยฐาน = 3 ฐานนิยม = 3 2) X = 3 มัธยฐาน = 2 ฐานนิยม = 1 3) X = 2 มัธยฐาน = 1 ฐานนิยม = 1 4) X = 4 มัธยฐาน = 3 ฐานนิยม = 1 จะได ขอมูลชุด 1) ที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมเทากัน 5. คาเฉลี่ยเลขคณิตของน้ําหนักนักเรียนสามคน คือ 38 กิโลกรัม จะไดผลรวมของน้ําหนักของนักเรียนสามคน เทากับ 38 × 3 = 114 กิโลกรัม มีนักเรียนหนึ่งคนในกลุมนี้หนัก 46 กิโลกรัม ดังนั้น อีกสองคนที่เหลือมีน้ําหนักรวมกัน 114 – 46 = 68 กิโลกรัม แตสองคนที่เหลือมีน้ําหนักเทากัน จะไดวา แตละคนมีน้ําหนัก 68 2 = 34 กิโลกรัม
  • 30. 38 6. ตองการคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบ 4 ครั้งเปน 85 คะแนน จะไดผลรวมของคะแนนสอบ 4 ครั้ง เทากับ 85 × 4 = 340 คะแนน สอบ 3 ครั้ง เจี๊ยบไดคะแนน 78, 89 และ 82 คะแนน ดังนั้น สอบครั้งที่ 4 เจี๊ยบตองไดคะแนน 340 – (78 + 89 + 82) = 91 คะแนน 7. มัธยฐาน คือ 87 ซึ่งตองอยูเปนอันดับที่ 3 ของขอมูลที่เรียงคะแนนจากนอยไปมาก ฐานนิยมคือ 80 ซึ่งนอยกวามัธยฐาน ดังนั้นขอมูลมี 80 อยู 2 จํานวน คาเฉลี่ยเลขคณิตเปน 86 จะไดผลรวมของขอมูลทั้ง 5 จํานวนเปน 86 × 5 = 430 คะแนน นั่นคือ ขอมูลอีก 2 จํานวน ตองมีผลรวมเปน 430 – (87 + 80 + 80) = 183 คะแนน ขอมูลที่อยูถัดจากมัธยฐานไปจะมีคานอยที่สุดที่เปนไปไดคือ 88 คะแนน ดังนั้น คะแนนสอบสูงสุดที่เปนไปไดคือ 183 – 88 = 95 คะแนน 8. คาเฉลี่ยเลขคณิตของจํานวนเต็มบวกหาจํานวน คือ 360 จะได ผลรวมของจํานวนเต็มบวกหาจํานวน เทากับ 360 × 5 = 1800 สองจํานวนสุดทาย คือ 102 และ 99 นั่นคือ ผลรวมของจํานวนเต็มบวกอีกสามจํานวน ที่เหลือจะเปน 1800 – (102 + 99) = 1599 และมีการเรียงลําดับจํานวนจากมากไปนอย นั่นคือ สองจํานวนกอนหนา คะแนนสูงสุด จะมีคานอยสุดที่เปนไปไดคือ 102 กับ 102 ดังนั้น จํานวนมากที่สุดที่เปนไปไดคือ 1599 – (102 + 102) = 1395 9. คาเฉลี่ยเลขคณิตของหาวิชา ตองได 90 เปนอยางนอย จะไดผลรวมของคะแนนหาวิชา อยางนอยตองเทากับ 90 × 5 = 450 คะแนน ผลการสอบ 4 ครั้ง เกงสอบได 85, 89, 87 และ 96 คะแนน ดังนั้น ครั้งที่ 5 เกงตองไดคะแนนอยางนอย 450 – (85 + 89 + 87 + 96) = 93 คะแนน 10. 1) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 8 จะได ตัวเลขที่สุมไดที่มากกวาคาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 10 กับ 13 ดังนั้น ความนาจะเปน เทากับ 2 6 = 1 3
  • 31. 39 2) มัธยฐานเทากับ 7 8 2 + = 7.5 จะไมมีตัวเลขที่สุมไดที่มีคาเทากับมัธยฐาน ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะสุมไดตัวเลขที่เทากับ มัธยฐานจึงเปน 0 11. คาเฉลี่ยเลขคณิต เทากับ 17 14 11 6 x 5 + + + + = 48 x 5 + แยกกรณีพิจารณาคา x กรณีที่ 1 ถา x ≤ 11 มัธยฐานคือ 11 จะได 48 x 5 + = 11 x = 55 – 48 = 7 กรณีที่ 2 ถา 11 < x < 14 มัธยฐานคือ x จะได 48 x 5 + = x 48 + x = 5x x = 12 กรณีที่ 3 ถา x ≥ 14 มัธยฐานคือ 14 จะได 48 x 5 + = 14 x = 70 – 48 = 22 นั่นคือ x มีคาเทากับ 7, 12 และ 22 จะทําใหคาเฉลี่ยเลขคณิตและมัธยฐานของ ขอมูลมีคาเทากัน 12. 1) ควรใชมัธยฐานเปนตัวแทนของขอมูลชุดนี้ เพราะจากแผนภาพขอมูลสวนใหญ อยูในชวง 3 – 29 และขอมูลมีการกระจายมาก 2) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 28 มัธยฐาน คือ 22
  • 32. 40 13. 1) แผนภาพตน-ใบ 12 3 9 9 13 1 2 5 7 14 4 8 15 0 1 1 3 4 4 8 9 16 0 0 1 6 17 0 5 6 18 0 3 5 9 19 8 20 6 2) จากแผนภาพควรใชคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนคากลางแทนขอมูลชุดนี้ เพราะขอมูล ไมกระจายมาก 3) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 158.23 มัธยฐาน คือ 154 158 2 + = 156 ขอสังเกต ขอมูลชุดนี้ไมกระจายมาก ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิต และมัธยฐาน จึงไมแตกตางกันมาก 14. 1) คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนที่คาดวาจะไดควรจะสูงกวาคาเฉลี่ยเลขคณิตของ คะแนนจริง เนื่องจากคะแนนสวนใหญ (16 จาก 21 จํานวน) มีคาอยูระหวาง 30 – 48 คะแนน ในขณะนี้คะแนนจริงที่มีคาระหวาง 30 – 50 คะแนน มี 13 จํานวน จาก 21 จํานวน 2) คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนที่คาดวาจะได คือ 36.43 คะแนน คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนที่นักเรียนไดจริง คือ 33.05 คะแนน ซึ่งคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนที่คาดวาจะไดมีคาสูงกวาคะแนนที่นักเรียนไดจริง
  • 33. 41 15. 1) จํานวนนักเรียนทั้งหมดที่ทําแบบทดสอบ มี 25 คน 2) เวลาที่มากที่สุดที่ใชทําแบบทดสอบ 90 นาที เวลานอยที่สุดที่ใชทําแบบทดสอบ 41 นาที 3) มัธยฐาน คือ 65 นาที ฐานนิยม คือ 71 นาที 16. 1) นักเรียนที่สูงที่สุดสูง 172 เซนติเมตร 2) คาเฉลี่ยเลขคณิตของความสูง คือ 157.6 เซนติเมตร มัธยฐาน คือ 159 เซนติเมตร 3) นักเรียนที่สูงมากกวา 169 เซนติเมตร มี 20% ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด 17. X = 25.04 กิโลกรัม มัธยฐาน = 22 กิโลกรัม ฐานนิยม = 22 กิโลกรัม เฉลยแบบฝกหักหัด 2.5 1. 1) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ = 7 2 4 − = 1.25 X = 20 5 = 4 หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = n 2 i i 1 (X X) n 1 = − − ∑ จะได s = 4 1 1 9 1 4 + + + + = 4 = 2 พิสัย 4
  • 34. 42 2) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ = 37 20 4 − = 4.25 X = 150 5 = 30 หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = n 2 i i 1 (X X) n 1 = − − ∑ s = 100 25 9 1 49 4 + + + + = 46 ≈ 6.78 3) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ 6 1 4 − = 1.25 X = 33 11 = 3 หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = 4 0 1 4 1 9 1 4 1 0 1 10 + + + + + + + + + + ≈ 2.60 ≈ 1.61 4) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ 12 2 4 − = 2.5 X = 60 12 = 5 หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = 4 49 0 1 4 9 1 0 1 0 0 1 11 + + + + + + + + + + + ≈ 6.3636 ≈ 2.52 พิสัย 4
  • 35. 43 5) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ 15 5 4 − = 2.5 X = 60 6 = 10 หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = 25 9 1 1 9 25 5 + + + + + ≈ 14 ≈ 3.74 6) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ 95 74 4 − = 5.25 X = 588 7 = 84 หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = 16 25 121 4 16 64 100 6 + + + + + + ≈ 57.67 ≈ 7.59 7) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ 75 42 4 − = 8.25 X = 580 10 = 58 หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = 256 169 100 100 16 4 36 144 256 289 9 + + + + + + + + + = 152.22 ≈ 12.34 8) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ 21 3 4 − = 4.5 X = 110 10 = 11 หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = 9 100 4 16 25 16 64 9 36 1 9 + + + + + + + + + = 31.11 ≈ 5.58
  • 36. 44 9) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ 116 99 4 − = 4.25 X = 763 7 = 109 หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = 64 36 25 100 9 9 49 6 + + + + + + ≈ 48.67 ≈ 6.98 10) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ 2.5 1.6 4 − = 0.225 X = 14.7 7 = 2.1 หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = 0 0.01 0.04 0.25 0.16 0.01 0.09 6 + + + + + + = 0.0933 ≈ 0.306 2. 1) a 2) c 3) d 4) g 5) b 6) e 7) f 3. พิจารณาความแตกตางคาจากการสังเกตกับคา X ของขอมูลแตละชุดดังนี้ 1) ขอมูล 0, 10, 20, 30, 40 มี X = 20 5 i i 1 X X = −∑ = 20 + 10 + 0 + 10 + 20 = 60 0 10 20 30 40 × × × × ×
  • 37. 45 2) ขอมูล 0, 0, 20, 40, 40 มี X = 20 5 i i 1 X X = −∑ = 20 + 20 + 0 + 20 + 20 = 80 3) ขอมูล 0, 19, 20, 21, 40 มี X = 20 5 i i 1 X X = −∑ = 20 + 1 + 0 + 1 + 20 = 42 พิจารณาจากคา 5 i i 1 X X = −∑ ของขอมูลแตละชุด พบวา ขอมูลในขอ 2) ควรมี การกระจายมากที่สุด และขอมูลในขอ 3) ควรมีการกระจายนอยที่สุด และเมื่อหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตรพบวา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ ขอมูลในแตละขอมีดังนี้ 1) s = 15.81 2) s = 20 3) s = 14.16 4. 1) ขอมูล 5, 5, 5, 5, 5, 5 มี X = 5 จะเห็นวา ขอมูลแตละตัวไมแตกตางจากคาเฉลี่ยเลขคณิต ดังนั้น สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนี้จะเทากับ 0 2) ขอมูล 10, 10, 10, 20, 20, 20 มี X = 15 จะเห็นวา ขอมูลแตละตัวตางจากคาเฉลี่ยเลขคณิต เทากับ 5 และ iX X− = 5 พิจารณาคา 6 i i 1 X X 6 = −∑ ของขอมูลชุดนี้ซึ่งเทากับ 6 5 6 × หรือ 5 แสดงวา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนี้ควรมีคาใกลเคียง 5 จากการหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากสูตรพบวา s = 5.47 0 10 20 30 40 × × × × × 0 10 20 30 40 ×× ×× ×
  • 38. 46 3) ขอมูล 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20, 22 มี X = 14 พิจารณาคา 9 i i 1 X X 9 = −∑ ของขอมูลชุดนี้ ซึ่งเทากับ 8 6 4 2 0 2 4 6 8 9 + + + + + + + + ≈ 4.4 แสดงวา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนี้ควรมีคาใกลเคียง 5 จากการหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากสูตรพบวา s = 5.47 4) ขอมูล 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40, 45 มี X = 25 พิจารณาคา 9 i i 1 X X 9 = −∑ ของขอมูลชุดนี้ ซึ่งเทากับ 20 15 10 5 0 5 10 15 20 9 + + + + + + + + = 100 9 ≈ 11.11 แสดงวา ขอมูลชุดนี้ไมควรมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานใกลเคียงกับ 5 จากการหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากสูตรพบวา s = 13.69 5. ขอมูลชุดแรก 16, 23, 34, 56, 78, 92, 93 มี X = 56 ขอมูลชุดที่สอง 20, 27, 38, 60, 82, 96, 97 มี X = 60 พิจารณาความแตกตางคาจากการสังเกตกับคา X ของขอมูลแตละชุดดังนี้ ชุดแรก X 60= ชุดที่สอง 15 25 35 45 55 65 75 85 95 105 X 56= 19 29 39 49 59 69 79 89 99 109 × × × × × ×× × × × × × ××
  • 39. 47 จากแผนภาพจะเห็นวา ขอมูลทั้ง 2 ชุด มีการกระจายจากคาเฉลี่ยเลขคณิต (X ) ในลักษณะที่ใกลเคียงกัน ดังนั้น ถาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดแรกมีคา 30 (โดยประมาณ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดที่สองควรจะมีคา 30 (โดยประมาณ) ดวย หาคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลทั้งสองชุด โดยใชสูตรไดดังนี้ ขอมูลชุดแรก s = n 2 i i 1 (X X) n 1 = − − ∑ s = 1600 1089 484 0 484 1296 1369 6 + + + + + + = 6322 6 ≈ 32.46 ขอมูลชุดที่สอง s = n 2 i i 1 (X X) n 1 = − − ∑ s = 1600 1089 484 0 484 1296 1369 6 + + + + + + = 6322 6 ≈ 32.46 จากการคํานวณคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานพบวา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ ขอมูลทั้งสองชุดนี้เทากัน 6. 1) X = 201 10 = 20.1 2) s = n 2 i i 1 (X X) n 1 = − − ∑ = 0.01 0.01 1.21 0.81 0.81 4.41 0.01 3.61 8.41 9.61 9 + + + + + + + + + = 28.9 9 ≈ 1.79
  • 40. 48 3) ถาขอมูลชุดนี้มีคาเฉลี่ยเลขคณิตและมัธยฐานเทากัน ขอมูลชุดนี้ควรจะมีการ กระจายแบบสมมาตร 7. 1) X = 51 และ s = 2.26 2) เนื่องจากการสุมชั่งน้ําหนักมันสําปะหลัง 15 กระสอบ พบวา คาเฉลี่ยเลขคณิตของน้ําหนักมันสําปะหลังหนึ่งกระสอบ คือ 51 กิโลกรัม ดังนั้น ถาใหน้ําหนักของมันสําปะหลังหนึ่งกระสอบ คือ 51 กิโลกรัม รถบรรทุกซึ่งบรรทุกน้ําหนักไดไมเกิน 5 ตัน (5,000 กิโลกรัม) จึงควรบรรทุก มันสําปะหลังไดไมเกินคันละ 5000 51 หรือ 98 กระสอบ เฉลยคําถามเพิ่มเติม 1. 1) จากแผนภาพกลองของนักเรียนหอง ม.5/1 คาต่ําสุด คือ 60 คาสูงสุดคือ 100 และ Q1 = 67, Q2 = 75 และ Q3 = 88 ดังนั้น 25% ของนักเรียนหอง 5/1 ที่ไดคะแนนอยูในกลุมต่ําสุด อยูในชวง คะแนน 60 – 67 โดยมีคะแนนต่ําสุด 60 และคะแนนสูงสุด 67 คะแนน 2) จากแผนภาพกลองของนักเรียนหอง ม.5/2 60 67 75 88 100 64 77 85 91 98
  • 41. 49 คาต่ําสุดคือ 64 คาสูงสุดคือ 98 และ Q1 = 77, Q2 = 85 และ Q3 = 91 ดังนั้น นักเรียนหอง ม. 5/2 ที่ไดคะแนนมากกวาหรือเทากับ 91 คะแนน มีประมาณ 25% 3) มีนักเรียนหอง ม. 5/1 อยู 50% ที่ไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับ 75 คะแนน 4) มีนักเรียนหอง ม. 5/2 อยู 75% ที่ไดคะแนนมากกวาหรือเทากับ 77 คะแนน 5) ถาผูสอนใหระดับคะแนน 4 แกผูสอบที่ไดคะแนนตั้งแต 80 คะแนนขึ้นไป จากแผนภาพกลองพบวา นักเรียนหอง ม.5/2 มีผูที่สอบไดคะแนน 80 คะแนน ซึ่งไดระดับคะแนน 4 เกิน 50% ในขณะที่หอง ม.5/1 มีนักเรียนที่ไดคะแนน ตั้งแต 80 คะแนนขึ้นไป ไมถึง 50% (เนื่องจาก Q2 เทากับ 75 คะแนน) ดังนั้น หอง ม.5/2 ควรจะมีผูที่ไดระดับคะแนน 4 มากกวาหอง ม.5/1 2. เปนไปไมไดที่แผนภาพที่สามจะแทนคะแนนเฉลี่ยจากการสอบทั้งสองครั้งของ นักเรียนแตละคนในกลุมนี้ เพราะคะแนนสูงสุดของแผนภาพที่สาม ไมใชคะแนน เฉลี่ยสูงสุดของนักเรียนกลุมนี้ ถึงแมวานักเรียนที่ไดคะแนนสูงสุดจากการสอบทั้งสอง ครั้งเปนคนเดียวกันก็ตาม หมายเหตุ ผูสอนอาจใหผูเรียนอภิปรายรวมกันวาถาคะแนนเต็มของการสอบแตละ ครั้งไมเทากัน เหตุผลขางตนยังเปนไปไดหรือไม