SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
บทที่ 1
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (12 ชั่วโมง)
1.1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (2 ชั่วโมง)
1.2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (5 ชั่วโมง)
1.3 บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส (5 ชั่วโมง)
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสเปนทฤษฎีบทที่มีความสําคัญบทหนึ่งในเรขาคณิต สาระของบทนี้นักเรียนจะ
ไดทราบถึงสมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากตามทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ ทั้งในแงของความ
สัมพันธของความยาวของดานและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
บทพิสูจนของทฤษฎีบทพีทาโกรัสมีหลายวิธี สําหรับในบทนี้จะยังไมใชการพิสูจนอยางเปน
ทางการตามหลักคณิตศาสตร แตไดเลือกแสดงแนวการพิสูจนวิธีหนึ่งในลักษณะเปนกิจกรรมบนพื้นฐาน
ความรูเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตที่นักเรียนเคยเรียนมาแลว ในกิจกรรมเสนอแนะยังไดเสนอแนวการ
พิสูจนเชิงกิจกรรมอีกวิธีหนึ่งไวใหครูไดนํามาใหนักเรียนไดเรียนรูเพิ่มเติมไดอีก
สาระของการนําทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับไปใชในการแกปญหา จํากัดขอบเขตเฉพาะ
รูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวของดานเปนจํานวนตรรกยะ สําหรับความยาวของดานที่เปนจํานวนอตรรกยะ
จะไดเรียนในบทตอไป ดังนั้นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครูจึงควรระมัดระวังในการใหโจทย
เพิ่มเติมดวย
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. อธิบายความสัมพันธตามทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับได
2. ใชทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการใหเหตุผลและแกปญหาได
3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
2
แนวทางในการจัดการเรียนรู
1.1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค ใหนักเรียนสามารถ
1. เขียนสมการแสดงความสัมพันธระหวางความยาวของดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
2. นําความสัมพันธระหวางความยาวของดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากไปใชใน
การแกปญหา
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.1
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูใหนักเรียนสังเกตอาคารเรียนหรือสิ่งกอสรางใกลเคียงแลวนําสนทนาเกี่ยวกับรูปเรขาคณิต
ที่พบในโครงสรางของอาคารนั้น ๆ จะเห็นวามีรูปสี่เหลี่ยม รูปสามเหลี่ยม ซึ่งเปนการนําไปสูการคนหา
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
2. สําหรับกิจกรรม “ลองวัดดูซิ” ครูควรใหนักเรียนลงมือปฏิบัติจริงและเติมคําตอบลงใน
ชองวาง แลวใหนักเรียนชวยกันคาดการณสรุปความสัมพันธของความยาวของดานทั้งสามของรูป
สามเหลี่ยมมุมฉากเปนสูตร c2
= a2
+ b2
เมื่อ a, b แทนความยาวของดานประกอบมุมฉาก และ c แทน
ความยาวของดานตรงขามมุมฉาก สําหรับนําไปใชในการหาความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่
ตองการ นักเรียนอาจใชเครื่องคํานวณชวยในการหาคําตอบก็ได
3. กิจกรรม “เขียนไดหรือไม” นําเสนอไวเพื่อใหนักเรียนไดสํารวจ สังเกตและลงมือปฏิบัติ
ดวยตนเองโดยใชสมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากมาเขียนแสดงความสัมพันธระหวางความยาวของดาน
ทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมในรูปสมการ ครูควรทบทวนความรูทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของ เชน เรื่อง
เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนสอง โดยชี้ใหนักเรียนสังเกตวา กําลังสองของจํานวนเต็ม เศษสวนและ
ทศนิยมมีคาเปนจํานวนบวกเสมอ แตฐานของเลขยกกําลังของจํานวนเหลานั้นอาจเปนจํานวนบวกหรือ
จํานวนลบก็ได และเนื่องจากฐานของเลขยกกําลังเหลานี้เปนความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยมจึงเปน
จํานวนลบไมได เชน c2
= 49 เมื่อ c แทนความยาวของดาน c ตองเปนจํานวนบวกเทานั้น นั่นคือ
c = 7
4. ครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 1.1 มาเปนปญหาสนทนาตามแนวคําถามที่ใหไว เพื่อให
นักเรียนเห็นการใชความสัมพันธของดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากแกปญหาในชีวิตจริง
3
1.2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค ใหนักเรียนสามารถ
1. เขียนความสัมพันธของพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ตามทฤษฎีบทพีทาโกรัสได
2. หาความยาวของดานใดดานหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เมื่อกําหนดความยาวของดาน
สองดานใหโดยใชทฤษฎีบทพีทาโกรัสได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก – 1.2 ค
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในหัวขอนี้จะกลาวถึงทฤษฎีบทพีทาโกรัสในรูปของความสัมพันธของพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
จัตุรัสบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยการสรางรูปและใหแนวการพิสูจน
บทพิสูจนของทฤษฎีบทพีทาโกรัสไดมีผูพิสูจนไวหลายวิธี แนวการพิสูจนที่เสนอไวใน
กิจกรรม “หมุนแลวเห็น” เปนตัวอยางเพื่อแสดงวาทฤษฎีบทพีทาโกรัสเปนจริง ครูอาจแสดงดวยภาพ
หรือใชสื่ออุปกรณทํากิจกรรมใหนักเรียนมองเห็นภาพการหมุนรูปอยางเปนรูปธรรม แสดงใหเห็นจริง
โดยวาดรูปบนแผนโปรงใส แลวสาธิตการหมุนใหนักเรียนดูพรอมกับการใชคําถามตามลําดับขั้นตอน
ใหนักเรียนชวยกันสรุปผล หรือครูอาจมอบหมายงานเปนกลุมใหนักเรียนใชกระดาษแข็งตัดตามรูป
ศึกษากิจกรรมและตอบคําถามตามลําดับที่ใหไวในหนังสือเรียน หลังจากนั้นอาจใหตัวแทนกลุมสาธิตให
เพื่อนดูหนาชั้น พรอมกับสรุปผลตามทฤษฎีบทพีทาโกรัส ครูอาจเลือกกิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก – 1.2 ค
ใหนักเรียนทําบางกิจกรรมเพิ่มเติมตามความเหมาะสมและความพรอมของนักเรียน
2. สําหรับกิจกรรม “คิด” มีเจตนาใหนักเรียนหาความยาวของดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสโดย
อาศัยความสัมพันธของดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากตามทฤษฎีบทพีทาโกรัส ครูอาจชี้ใหนักเรียนสังเกต
ความยาวของรัศมีของวงกลม เพื่อนําไปสูความยาวของดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ลอมรอบครึ่งวงกลม
บนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากนั้น
3. กิจกรรม “ยังมีอีกไหม” มีเจตนาใหนักเรียนสังเกตเห็นความสัมพันธของพื้นที่ของรูป
เรขาคณิตอื่น ๆ บนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากตามทฤษฎีบทพีทาโกรัส ครูอาจแบงนักเรียน
เปนกลุมโดยใหนักเรียนสรางรูปเรขาคณิตอื่น ๆ บนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก แลวหาพื้นที่เพื่อ
ตรวจสอบดูวามีความสัมพันธกันแบบทฤษฎีบทพีทาโกรัสหรือไม และใหแตละกลุมนําผลที่ไดมาอภิปราย
หนาชั้น
4. เพื่อความสะดวกในการสรางโจทยเพิ่มเติมใหกับนักเรียน ครูอาจหาความยาวของดานทั้งสาม
ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีความยาวแตละดานเปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 ชุดอื่น ๆ ที่แตกตางจากจํานวน
ที่นักเรียนคุนเคย จากสูตรตอไปนี้
4
กําหนดให c เปนดานตรงขามมุมฉาก a และ b เปนดานประกอบมุมฉากของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
กรณีที่ 1 ถา n เปนจํานวนคี่ที่มากกวา 1 และให a = n จะได b =
2
1n2
−
และ
c =
2
1n2
+
a = n b = 2
1n2
−
c = 2
1n2
+
a : b : c
3 4 5 3 : 4 : 5
5 12 13 5 : 12 : 13
7 24 25 7 : 24 : 25
9 40 41 9 : 40 : 41
11 60 61 11 : 60 : 61
13 84 85 13 : 84 : 85
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
กรณีที่ 2 ถา n เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 และให a = 2n จะได b = n2
– 1 และ c = n2
+ 1
n a = 2n b = n2
– 1 c = n2
+ 1 a : b : c
2 4 3 5 4 : 3 : 5 หรือ 3 : 4 : 5
3 6 8 10 6 : 8 : 10 หรือ 3 : 4 : 5
4 8 15 17 8 : 15 : 17
5 10 24 26 10 : 24 : 26 หรือ 5 : 12 : 13
6 12 35 35 12 : 35 : 35
7 14 48 50 14 : 48 : 50 หรือ 7 : 24 : 25
8 16 63 65 16 : 63 : 65
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
หมายเหตุ สําหรับสูตรดังกลาวนี้ ครูไมควรนําไปสอน ในที่นี้ใหไวเปนความรูสําหรับครูเพื่อ
นําไปใชในการสรางโจทยอื่น ๆ
5
1.3 บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค ใหนักเรียนสามารถ
1. เขียนบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสได
2. นําทฤษฎีบทและบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสมาใชในการแกปญหาได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 1.3
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับการสรางมุมฉากดวยเครื่องมือในปจจุบันและชี้ใหนักเรียนเห็นวาใน
สมัยโบราณสรางมุมฉากโดยใชเชือก 13 ปมอยางไร ครูอาจเตรียมสื่ออุปกรณเชือก 13 ปม มาให
นักเรียนลองตรวจสอบกับมุมโตะของครูหรือของนักเรียน เพื่อดูวาการจัดขึงเชือกใหเปนรูปสามเหลี่ยม
เมื่อใหความยาวของดานเปน 3, 4 และ 5 หนวย แลวไดมุมมีขนาดเทากับขนาดมุมฉากของโตะจริง
หรือไม
2. สําหรับกิจกรรม “ลองทําดู” มีเจตนาใหนักเรียนสํารวจวา ถารูปสามเหลี่ยมใดมีความสัมพันธ
ของความยาวของดานเปนแบบ c2
= a2
+ b2
เมื่อ a, b และ c แทนความยาวของดาน แลวรูป
สามเหลี่ยมนั้นจะเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากเสมอเพื่อนําเขาสูบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส และนําไป
ใชในการตรวจสอบวา รูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวของดานทั้งสามตามที่กําหนดใหเปนรูปสามเหลี่ยม
มุมฉากหรือไม
3. เพื่อเปนการทําความเขาใจเกี่ยวกับขอความของทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับของทฤษฎีบท
พีทาโกรัส ครูอาจใหนักเรียนสังเกตวาขอความใดเปนเหตุหรือสิ่งกําหนดให และขอความใดเปนผล ซึ่งจะ
เห็นวาสวนที่เปนเหตุของทฤษฎีบทคือสวนที่เปนผลของบทกลับ สวนที่เปนเหตุของบทกลับคือสวนที่เปน
ผลของทฤษฎีบท
4. การพิสูจนบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตองการใหนักเรียนเห็นการพิสูจนเทานั้น ไม
ตองนํามาวัดผล
5. สําหรับกิจกรรม “ลองคาดการณ” มีเจตนาเสนอไวเพื่อใหนักเรียนไดขอสรุปความสัมพันธ
เกี่ยวกับความยาวของดานและขนาดของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม นอกเหนือจากทฤษฎีบทของ
พีทาโกรัส นักเรียนอาจหาขอคาดการณไดจากการสังเกตหรือจากการสรางรูปสามเหลี่ยมตามเงื่อนไขของ
โจทยก็ได
6. สําหรับแบบฝกหัด 1.3 ขอ 3 ครูควรแนะนําใหนักเรียนวาดรูปสามเหลี่ยมประกอบ
การคํานวณ และขอ 7 ควรวาดรูปตามขนาดที่กําหนดใหเพื่อสํารวจเสนทแยงมุมทั้งสองเสนวายาวเทากัน
หรือไม
6
7. สําหรับแบบฝกหัดเพิ่มเติม 1.3 มีเจตนาใหเปนแบบฝกหัดระคน เพื่อฝกทักษะการนําความรู
เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับไปใชในการแกโจทยปญหา ควรใหนักเรียนทําหลังจบบทเรียนแลว
เพื่อเปนการประเมินตนเอง อาจมีโจทยบางขอที่คอนขางซับซอน ครูควรพิจารณาเลือกเปนบางขอให
นักเรียนทําตามความเหมาะสม
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบกิจกรรม “ลองวัดดูซิ”
1.
1) 5
2) 4
3) 6.5
4) 10
5) 13
2.
ขอที่ a b c a2
b2
c2
a2
+ b2
1 3 4 5 9 16 25 25
2 2.4 3.2 4 5.76 10.24 16 16
3 2.5 6 6.5 6.25 36 42.25 42.25
4 6 8 10 36 64 100 100
5 5 12 13 25 144 169 169
จากตารางสามารถบอกความสัมพันธของความยาวของดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากไดวา
c2
= a2
+ b2
คําตอบกิจกรรม “เขียนไดหรือไม”
1. d2
= e2
+ f2
2. x2
= y2
+ z2
3. p2
= q2
+ r2
4. 102
= 62
+ a2
5. 252
= b2
+ 242
6. x2
= 52
+ 122
7
คําตอบแบบฝกหัด 1.1
1.
1) 15 2) 61
3) 29 4) 1.7
5) 1.3 6) 5
27 หรือ 7.4
2.
1) 16 2) 25
3) 0.5 4) 2.0
3.
1) 36 2) 132
3) 9 4) 10.8
คําตอบกิจกรรม “หมุนแลวเห็น”
1. พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABCD = a2
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส BEFG = b2
2.
จากรูปจะได
1) ∆ HEF เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เพราะมี FEH
∧
เปนมุมฉาก
2) HE = a หนวย
เนื่องจาก AE = AB + BE
= a + b
แต AH = b หนวย (กําหนดให)
D C
a
A B E
G F
b
4
23
1
Hb
c
8
ดังนั้น HE = AE – AH
= a + b – b
นั่นคือ HE = a หนวย
3) EF = b หนวย
EF เปนดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส BEFG ที่มีดานยาวดานละ b หนวย
4) ∆ DAH ≅ ∆ HEF (ด.ม.ด.)
5) HF = c หนวย (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน)
3.
1)
∧
1 =
∧
2 (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)
2)
∧
1 +
∧
3 = 90o
3)
∧
2 +
∧
3 = 90o
4) FHD
∧
= 90o
4.
1) ใช
2) ใช
3) เปนมุมฉาก
เนื่องจาก IFG
∧
= HFE
∧
=
∧
4 ( IFG
∧
เปนภาพที่ไดจากการหมุน HFE
∧
)
เนื่องจาก HFG
∧
+ HFE
∧
= 90o
(ขนาดของมุมภายในของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
ดังนั้น HFG
∧
+ IFG
∧
= 90o
(สมบัติของการเทากัน)
นั่นคือ IFH
∧
เปนมุมฉาก
D C
a
A B E
G F
b
4
2
3
1
H
c
2
I
3
1
4
9
4) เปนมุมฉาก
เนื่องจาก IDC
∧
=
∧
1 ( IDC
∧
เปนภาพที่ไดจากการหมุน AH
∧
D )
และ CDA
∧
=
∧
1 + CDH
∧
= 90o
(ขนาดของมุมภายในของรูป
สี่เหลี่ยมจัตุรัส)
ดังนั้น IDH
∧
= IDC
∧
+ CDH
∧
(สมบัติของการเทากัน)
จะได IDH
∧
= CDA
∧
= 90o
(สมบัติของการเทากัน)
นั่นคือ IDH
∧
เปนมุมฉาก
5) เปนมุมฉาก
เนื่องจาก GIF
∧
=
∧
2 ( GIF
∧
เปนภาพที่ไดจากการหมุน
FHE
∧
)
และ CID
∧
=
∧
3 ( CID
∧
เปนภาพที่ไดจากการหมุน
DHA
∧
)
GIF
∧
+ CID
∧
=
∧
2 +
∧
3 (สมบัติของการเทากัน)
เนื่องจาก
∧
2 +
∧
3 = 90o
(ผลที่ไดจากขอ 3 ขอยอย 3))
ดังนั้น GIF
∧
+ CID
∧
= 90o
(สมบัติของการเทากัน)
นั่นคือ FID
∧
เปนมุมฉาก
5. DHFI เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เพราะ DHFI มี FHD
∧
= IFH
∧
= IDH
∧
= FID
∧
= 90o
และ DH = HF = FI = ID = c หนวย
6. จากการหมุน ∆ HEF และหมุน ∆ DAH แสดงใหเห็นวารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส DHFI ประกอบขึ้นมา
จากรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABCD และรูปสี่เหลี่ยม BEFG โดยแบงเปนชิ้นสวนตามที่กําหนดใหและนํามา
เรียงตอกัน ดังรูป
D
c
A B E
F
H
I
C
G
c
10
คําตอบกิจกรรม “คิด”
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม PQRS = 12 × 12 = 144 ตารางหนวย
คําตอบแบบฝกหัด 1.2
1. 13 เซนติเมตร
2. 7.2 กิโลเมตร
3. 84 ตารางเซนติเมตร
4.
1) 17 หนวย
2) 60 ตารางหนวย
3) ประมาณ 7.06 หนวย
5. 22 ฟุต
6.
1) 6 เมตร
2) มากกวา 2.5 เมตร
7. 24 ฟุต
คําตอบกิจกรรม “ยังมีอีกไหม”
ยังมีอีกเชน
1. รูปวงกลมที่แตละรูปมีเสนผานศูนยกลางเปนดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
2. รูปสามเหลี่ยมดานเทาบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
3. รูปหกเหลี่ยมดานเทามุมเทาบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
11
คําตอบกิจกรรม “ลองทําดู”
a2
+ b2
เทากับ c2
หรือไม
∆ ABC เปน ∆ มุมฉาก
หรือไมขอ a b c a2
+ b2
c2
เทา ไมเทา เปน ไมเปน
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
6
6
9
7
6
1.4
8
12
12
13
6.25
3.6
10
13
15
14
7.25
4
36 + 64
36 + 144
81 + 144
49 + 169
36 + 39.025
1.96 + 12.96
100
169
225
196
52.5625
16
(7) 2
12 6 2
16
4
25 + 36
4
169
(8) 4 6.5 8.5 16 + 42.25 72.25
คําตอบกิจกรรม “ลองคาดการณ”
1. c2
< a2
+ b2
แลว BCA
∧
< 90o
2. c2
> a2
+ b2
แลว BCA
∧
> 90o
คําตอบแบบฝกหัด 1.3
1. ขอ 1) ขอ 4) และ ขอ 6)
2.
1) ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
เนื่องจาก AB2
= 242
+ 182
= 900
AC2
= 242
+ 322
= 1600
จะได AB2
+ AC2
= 900 + 1600 = 2500
เนื่องจาก BC2
= (18 + 32)2
= 2500
ดังนั้น BC2
= AB2
+ AC2
นั่นคือ ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
A
CB
3218
24
12
2) ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
เนื่องจาก AB2
= 252
+ 602
= 4,225
AC2
= 602
+ 1442
= 24,336
จะได AB2
+ AC2
= 4,225 + 24,336 = 28,561
เนื่องจาก BC2
= (25 + 144)2
= 28,561
ดังนั้น BC2
= AB2
+ AC2
นั่นคือ ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
3. ความยาวที่กําหนดใหในขอ 3) ทําให ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
เนื่องจาก AD2
= AC2
– CD2
= 32
– 2.42
= 3.24
ดังนั้น AD = 1.8
เนื่องจาก BD2
= CB2
– CD2
= 42
– 2.42
= 10.24
ดังนั้น BD = 3.2
AB = AD + DB
= 1.8 + 3.2 = 5
จะได AB2
= 25
และ AC2
+ CB2
= 32
+ 42
= 25
ดังนั้น AB2
= AC2
+ CB2
นั่นคือ ∆ ABC เปนสามเหลี่ยมมุมฉาก
4. ประมาณ 43.45 เซนติเมตร
5. 210 ตารางหนวย
6. 6 ฟุต
7. ไมเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
สั้นกวา 15 เซนติเมตร
A
CB
14425
60
A D B
C
2.4
43
13
กิจกรรมเสนอแนะ แบบฝกหัดเพิ่มเติมและคําตอบ
14
กิจกรรมเสนอแนะ 1.1
กิจกรรมนี้เปนกิจกรรมเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางความยาวของดานทั้งสามของ
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ใหเห็นการนําความสัมพันธระหวางความยาวของดานทั้งสามของ
รูปสามเหลี่ยมมุมฉากไปใชในการแกปญหา
ปญหา รถยนตสามคันจอดขนานฟุตบาทเรียงกันดังภาพ รถคันสีน้ําเงินจะตองอยูหางจากรถคันสี
แดงมากนอยเพียงใด จึงจะสามารถนํารถคันสีเหลืองออกมาไดโดยไมเกิดความเสียหายและไมตอง
เลื่อนรถคันหนาและรถคันหลัง
สื่ออุปกรณ รถยนตจําลอง 3 คัน หรือกระดาษแข็งรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 3 แผน แทนรถยนต
แนวการดําเนินกิจกรรม
ครูอาจจําลองภาพการจอดรถขนานฟุตบาท ดังรูป แลวใหนักเรียนชวยกันอภิปรายจนไดขอสรุปวา
รถคันสีน้ําเงินจะตองอยูหางจากรถคันสีแดงมากกวาความยาวของเสนทแยงมุมของรถคันสีเหลือง
ดังรูป
15
กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก
กิจกรรมนี้มีเจตนาใหนักเรียนเห็นแนวการพิสูจนทฤษฎีบทพีทาโกรัสอีกวิธีหนึ่ง
อุปกรณ กระดาษตัดเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่เทากันทุกประการ 8 รูป โดยใหดานตรงขาม
มุมฉากยาว c หนวย ดานประกอบมุมฉากยาว a และ b หนวย และรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มี
ดานยาว a, b และ c หนวย อยางละหนึ่งรูป
1. ครูนํารูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมที่ตัดไวในขอ 1 มาประกอบกันเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสองรูป
ที่เทากันทุกประการ ดังรูปที่ 1 และรูปที่ 2
2. ใหนักเรียนชวยกันอภิปรายวาพื้นที่ของรูปที่ประกอบแลวในรูปที่ 1 และรูปที่ 2
มีความสัมพันธกันอยางไร
c
a
bc
a
a
b
b c
a
a
b
b
ab
b
a
รูปที่ 1 รูปที่ 2
a
b
ba
16
ครูอาจใชคําถามดังตอไปนี้
1) รูปที่ 1 และรูปที่ 2 เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือไม [เปน]
2) รูปที่1 และรูปที่ 2 มีพื้นที่เทากันหรือไม เพราะเหตุใด
[เทากัน เพราะวาทั้งสองรูปเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวของดานเปน a + b หนวย
เทากัน]
3) รูปที่ 1 และรูปที่ 2 แตละรูปมีรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่เทากันทุกประการอยูกี่รูป [4 รูป]
4) เมื่อหักพื้นที่รูปสามเหลี่ยมทั้งหมดออกจากรูปที่ 1 และรูปที่ 2 พื้นที่ของรูปที่เหลือเทากัน
หรือไม เพราะเหตุใด [เทากัน เพราะโดยสมบัติของการเทากัน]
5) พื้นที่ของรูปที่ 1 ที่เหลือเปนเทาไร และพื้นที่ของรูปที่ 2 ที่เหลือเปนเทาไร [c2
และ a2
+ b2
]
6) พื้นที่ของรูปที่เหลือทั้งสองรูปมีความสัมพันธกันอยางไร [c2
= a2
+ b2
]
7) ผลที่ไดในขอ 6) เปนไปตามทฤษฎีบทของพีทาโกรัสหรือไม [เปน]
เมื่อนักเรียนไดแนวคิดจากคําถามขางตนแลว ครูควรใหนักเรียนชวยกันสรุปความสัมพันธที่ได
ดังนี้
จะไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสองรูปมีความยาวดานละ a + b หนวย
พื้นที่ของ จัตุรัสรูปที่ 1 = พื้นที่ของ จัตุรัสที่มีดานยาว c + พื้นที่ของ ∆ มุมฉาก 4 รูป
(a + b)2
= c2
+ (4 ×
2
1 ab)
= c2
+ 2ab
พื้นที่ของ จัตุรัสรูปที่ 2 = พื้นที่ของ จัตุรัสที่มีดานยาว a + พื้นที่ของ จัตุรัสดานยาว b
+ พื้นที่ของ ∆ มุมฉาก 4 รูป
(a + b )2
= a2
+ b2
+ (4 ×
2
1 ab)
= a2
+ b2
+ 2ab
เนื่องจาก พื้นที่ของ จัตุรัสรูปที่ 1 เทากับพื้นที่ของ จัตุรัสรูปที่ 2
ดังนั้น c2
+ 2ab = a2
+ b2
+ 2ab
นั่นคือ c2
= a2
+ b2
(สมบัติของการเทากัน)
เมื่อนักเรียนมองเห็นภาพรวมของความสัมพันธระหวางพื้นที่ของรูปทั้งสองแลว ครูควรใหนักเรียน
พิจารณาหาเหตุผลที่จะสรุปวารูปที่ 1 และรูปที่ 2 เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสไดดวยเหตุผลใด
17
ครูควรใชคําถามเพื่อเชื่อมโยงไปสูขอสรุป ดังนี้
1) จากรูปที่ 1 นักเรียนบอกเหตุผลไดหรือไมวา รูปที่นํามาตอกันทําใหดานที่ยาว a หนวย
และ b หนวย ตอกันเปนสวนของเสนตรงที่ยาว a + b หนวย
[แนวคิด
เนื่องจาก
∧
1 +
∧
2 = 90o
และ
∧
3 +
∧
4 = 90o
ดังนั้น (
∧
1 +
∧
2 ) + (
∧
3 +
∧
4 ) = 90 + 90
= 180o
เนื่องจาก ∆ ABC ≅ ∆ CDE
จะได
∧
1 =
∧
4 และ
∧
2 =
∧
3
ดังนั้น 2(
∧
1 +
∧
3 ) = 180
แลว
∧
1 +
∧
3 =
2
180
= 90o
และ
∧
1 +
∧
3 +
∧
5 = 90 + 90
= 180o
แสดงวา BC ตอกับ CD แลวได DCB
∧
เปนมุมตรง
นั่นคือ BD ยาวเทากับ a + b หนวย]
2) จากรูปที่ 2 นักเรียนบอกเหตุผลไดหรือไมวา รูปที่นํามาตอกันทําใหดานที่ยาว a และ
b หนวย ตอกันเปนสวนของเสนตรงที่ยาว a + b หนวย
[แนวคิด เนื่องจาก
∧
1 = 90o
(เปนมุมของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มี
ดานยาว a หนวย)
และ
∧
2 = 90o
(เปนมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก)
ดังนั้น
∧
1 +
∧
2 = 90 + 90
= 180o
แสดงวา BC ตอกับ CD แลวได DB
∧
C เปนมุมตรง
นั่นคือ BD ยาวเทากับ a + b หนวย
2
ab C D
A
E
B
1 35
4
b
a
A
B C D
E
1 2
ba
18
กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ข
กิจกรรมนี้เพื่อเจตนาใหนักเรียนไดเห็นความสัมพันธตามทฤษฎีบทของพีทาโกรัส
ใหนักเรียนทํากิจกรรมตามลําดับขั้นตอนตอไปนี้
1. สรางรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหนึ่งรูป กําหนดความยาวของดานทั้งสามตามใจชอบ
2. สรางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
3. ลากเสนทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 2 ใหตัดกันที่จุด O
4. บนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 2 ลากเสนขนานกับดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 1 ผานจุด O ดังรูป
1
3
2
3
1
2
a
d
c
b
O
19
5. ตัดกระดาษในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 2 เปนรูปสี่เหลี่ยมรูป a รูป b รูป c และ รูป d
6. ตัดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 3
7. นํารูปที่ตัดไดในขอ 4 และ ขอ 5 ทั้งหมด 5 รูปมาเรียงซอนบนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูป 1
โดยแตละชิ้นไมมีสวนใดซอนกันเลย
8. สามารถวางไดเต็มรูป 1 พอดีหรือไม [จัดไดพอดี]
ดังรูป
9. นักเรียนคิดวากิจกรรมนี้ไดขอสรุปวาอยางไร
[พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานตรงขามมุมฉาก เทากับผลบวกของพื้นที่ของ
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานประกอบมุมฉาก]
b
c
d
a
3
20
กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ค
กิจกรรมนี้ใชเพื่อใหนักเรียนไดเห็นความสัมพันธตามทฤษฎีบทของพีทาโกรัส
ใหนักเรียนทํากิจกรรมตามลําดับขั้นตอนตอไปนี้
1. สราง ∆ ABC มี BCA
∧
เปนมุมฉาก
2. สรางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ดังรูป
3. ลาก IJ // AB ตัด AH ที่จุด J
4. ตอ EA มาทางจุด A ตัด CG ที่จุด K
5. ลาก JN // AK ตัด BC ที่จุด N
จะไดรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม 1 , 2 , 3 , 4 และ 5 ดังรูป
D
E
A
B
F
G C
H I
21
6. ตัดรูป 1 2 3 4 และ 5 นํารูปทั้งหามาจัดเรียงลงบนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบน
ดาน AB โดยแตละชิ้นไมมีสวนใดซอนกันเลย
7. สามารถวางรูปทั้งหารูปบนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABDE ไดพอดีหรือไม [จัดไดพอดี]
ดังรูป
8. กิจกรรมนี้จะไดขอสรุปวาอยางไร
[พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานตรงขามมุมฉาก เทากับผลบวกของพื้นที่ของ
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานประกอบมุมฉาก]
4
2
1
53
D
E
A
B
F
G C
H I
4
N
1
2
3
5
K
J
22
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 1.3
1. จงใชทฤษฎีบทพีทาโกรัสตอบคําถามในแตละขอตอไปนี้
1) จากรูป a เทากับเทาไร 2) จากรูป b เทากับเทาไร
[a = 7] [b = 12]
3) จากรูป ความยาวรอบรูปของ 4) จากรูป c เทากับเทาไร
∆ ABC เปนเทาไร
[12] [c = 3]
5) จากรูป d เทากับเทาไร เมื่อพื้นที่ของสี่เหลี่ยมมุมฉากเทากับ 168 ตารางหนวย
[d = 25]
6) จากรูป c เทากับเทาไร
[c = 25]
2524
a
13b
5
13
124
c
7d
5
4
A B
C
12
15
16
c
23
7) จากรูป พื้นที่ของสวนที่แรเงาเปนเทาไร
[51 ตารางเซนติเมตร]
2. จากรูป ∆ ABF และ ∆ DCF เปนรูปสามเหลี่ยม
มุมฉาก มี CF = 5 หนวย, CD = 3 หนวย และ
AF = 12 หนวย จงหาความยาวของ AB และ BF
[9 หนวย และ 15 หนวย]
3. จากรูป ∆ ABC มี AB , BC และ AC ยาว 16, 30
และ 34 หนวย ตามลําดับ BD ตั้งฉากกับ AC
จงหาความยาวของ BD
[ 17
214 หนวย]
4. จากรูป DFBC เปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน
มี DC = 11 หนวย, EF = 9 หนวย และ
BC = 15 หนวย จงหาพื้นที่ของ DFBC
[132 ตารางหนวย]
5.
จากรูป ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก มี AB = 16 หนวย
BG = 21 หนวย และ FG = 12 หนวย
จงหาความยาวของ AF
[29 หนวย]
3 ซม.
8 ซม.
15 ซม.
16
34
C
D
A
B 30
A B
CD 11
15
9
E F
A
D
E F
G
C
H
21
16 B
12
D
C
F
A
B
12
5
3
24
A
12
5
B C
6.
จากรูป ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
มี AC = 17 หนวย, CB = 8 หนวย
∆ ACD เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มี AC = CD
จงหาพื้นที่ของสวนที่แรเงา
[84.5 ตารางหนวย]
7. จากรูป BCDE เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา มี CD, AE
และ AC ยาว 8, 18 และ 26 หนวย จงหาพื้นที่ของ
สวนที่แรเงา
[96 ตารางหนวย]
8. จากรูป ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
มีดานประกอบมุมฉากยาว 5 และ 12 หนวย
มีรูปครึ่งวงกลมอยูบนดานทั้งสามของ ∆ ABC
จงหาพื้นที่ของสวนที่แรเงา
[30 ตารางหนวย]
[แนวคิด ครูอาจใหนักเรียนวาดภาพครึ่งวงกลมบนดาน BC จะไดวงกลมที่มี BC เปน
เสนผานศูนยกลาง แลวกําหนด 1 , 2 , 3 , 4 , 5 และ 6 แทน
พื้นที่แตละสวนดังแสดงในภาพ
จากทฤษฎีบทพีทาโกรัส
จะได 1 + 2 + 4 + 5 = 6
แต 2 + 3 + 4 = 6 (เปนพื้นที่ครึ่งวงกลมของ
วงกลมเดียวกัน)
A
C
D
B
E
A 17 C
8
B
D
A
B C
1
2
3
6
5
4
25
ดังนั้น 1 + 2 + 4 + 5 = 2 + 3 + 4 (สมบัติของการเทากัน)
แต 1 + 5 = 3 (นําพื้นที่ที่เทากันมาลบ
ทั้งสองขางของสมการ)
นั่นคือ พื้นที่สวนที่แรเงารวมกัน เทากับพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC
ซึ่งเทากับ 2
1 × 5 × 12 = 30 ตารางหนวย]

More Related Content

What's hot

การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยTupPee Zhouyongfang
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)waranyuati
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตpodjarin
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkruyafkk
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายInmylove Nupad
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 

What's hot (20)

การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 

Similar to Basic m2-2-chapter1

เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557ครู กรุณา
 
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์Kapong007
 
ข้อสอบปลายปี ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
ข้อสอบปลายปี  ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.docข้อสอบปลายปี  ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
ข้อสอบปลายปี ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.docSudtaweeThepsuponkul
 
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงkroojaja
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1ทับทิม เจริญตา
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 krookay2012
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปประพันธ์ เวารัมย์
 

Similar to Basic m2-2-chapter1 (20)

Add m3-1-chapter3
Add m3-1-chapter3Add m3-1-chapter3
Add m3-1-chapter3
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
 
Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3
 
ข้อสอบปลายปี ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
ข้อสอบปลายปี  ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.docข้อสอบปลายปี  ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
ข้อสอบปลายปี ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
 
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2
 
Ctms25812
Ctms25812Ctms25812
Ctms25812
 
Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2
 
Pat15903
Pat15903Pat15903
Pat15903
 
Satit tue134008
Satit tue134008Satit tue134008
Satit tue134008
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 

Basic m2-2-chapter1

  • 1. บทที่ 1 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (12 ชั่วโมง) 1.1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (2 ชั่วโมง) 1.2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (5 ชั่วโมง) 1.3 บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส (5 ชั่วโมง) ทฤษฎีบทพีทาโกรัสเปนทฤษฎีบทที่มีความสําคัญบทหนึ่งในเรขาคณิต สาระของบทนี้นักเรียนจะ ไดทราบถึงสมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากตามทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ ทั้งในแงของความ สัมพันธของความยาวของดานและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก บทพิสูจนของทฤษฎีบทพีทาโกรัสมีหลายวิธี สําหรับในบทนี้จะยังไมใชการพิสูจนอยางเปน ทางการตามหลักคณิตศาสตร แตไดเลือกแสดงแนวการพิสูจนวิธีหนึ่งในลักษณะเปนกิจกรรมบนพื้นฐาน ความรูเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตที่นักเรียนเคยเรียนมาแลว ในกิจกรรมเสนอแนะยังไดเสนอแนวการ พิสูจนเชิงกิจกรรมอีกวิธีหนึ่งไวใหครูไดนํามาใหนักเรียนไดเรียนรูเพิ่มเติมไดอีก สาระของการนําทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับไปใชในการแกปญหา จํากัดขอบเขตเฉพาะ รูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวของดานเปนจํานวนตรรกยะ สําหรับความยาวของดานที่เปนจํานวนอตรรกยะ จะไดเรียนในบทตอไป ดังนั้นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครูจึงควรระมัดระวังในการใหโจทย เพิ่มเติมดวย ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. อธิบายความสัมพันธตามทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับได 2. ใชทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการใหเหตุผลและแกปญหาได 3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
  • 2. 2 แนวทางในการจัดการเรียนรู 1.1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (2 ชั่วโมง) จุดประสงค ใหนักเรียนสามารถ 1. เขียนสมการแสดงความสัมพันธระหวางความยาวของดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2. นําความสัมพันธระหวางความยาวของดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากไปใชใน การแกปญหา เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูใหนักเรียนสังเกตอาคารเรียนหรือสิ่งกอสรางใกลเคียงแลวนําสนทนาเกี่ยวกับรูปเรขาคณิต ที่พบในโครงสรางของอาคารนั้น ๆ จะเห็นวามีรูปสี่เหลี่ยม รูปสามเหลี่ยม ซึ่งเปนการนําไปสูการคนหา สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2. สําหรับกิจกรรม “ลองวัดดูซิ” ครูควรใหนักเรียนลงมือปฏิบัติจริงและเติมคําตอบลงใน ชองวาง แลวใหนักเรียนชวยกันคาดการณสรุปความสัมพันธของความยาวของดานทั้งสามของรูป สามเหลี่ยมมุมฉากเปนสูตร c2 = a2 + b2 เมื่อ a, b แทนความยาวของดานประกอบมุมฉาก และ c แทน ความยาวของดานตรงขามมุมฉาก สําหรับนําไปใชในการหาความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่ ตองการ นักเรียนอาจใชเครื่องคํานวณชวยในการหาคําตอบก็ได 3. กิจกรรม “เขียนไดหรือไม” นําเสนอไวเพื่อใหนักเรียนไดสํารวจ สังเกตและลงมือปฏิบัติ ดวยตนเองโดยใชสมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากมาเขียนแสดงความสัมพันธระหวางความยาวของดาน ทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมในรูปสมการ ครูควรทบทวนความรูทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของ เชน เรื่อง เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนสอง โดยชี้ใหนักเรียนสังเกตวา กําลังสองของจํานวนเต็ม เศษสวนและ ทศนิยมมีคาเปนจํานวนบวกเสมอ แตฐานของเลขยกกําลังของจํานวนเหลานั้นอาจเปนจํานวนบวกหรือ จํานวนลบก็ได และเนื่องจากฐานของเลขยกกําลังเหลานี้เปนความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยมจึงเปน จํานวนลบไมได เชน c2 = 49 เมื่อ c แทนความยาวของดาน c ตองเปนจํานวนบวกเทานั้น นั่นคือ c = 7 4. ครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 1.1 มาเปนปญหาสนทนาตามแนวคําถามที่ใหไว เพื่อให นักเรียนเห็นการใชความสัมพันธของดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากแกปญหาในชีวิตจริง
  • 3. 3 1.2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (4 ชั่วโมง) จุดประสงค ใหนักเรียนสามารถ 1. เขียนความสัมพันธของพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ตามทฤษฎีบทพีทาโกรัสได 2. หาความยาวของดานใดดานหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เมื่อกําหนดความยาวของดาน สองดานใหโดยใชทฤษฎีบทพีทาโกรัสได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก – 1.2 ค ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในหัวขอนี้จะกลาวถึงทฤษฎีบทพีทาโกรัสในรูปของความสัมพันธของพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม จัตุรัสบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยการสรางรูปและใหแนวการพิสูจน บทพิสูจนของทฤษฎีบทพีทาโกรัสไดมีผูพิสูจนไวหลายวิธี แนวการพิสูจนที่เสนอไวใน กิจกรรม “หมุนแลวเห็น” เปนตัวอยางเพื่อแสดงวาทฤษฎีบทพีทาโกรัสเปนจริง ครูอาจแสดงดวยภาพ หรือใชสื่ออุปกรณทํากิจกรรมใหนักเรียนมองเห็นภาพการหมุนรูปอยางเปนรูปธรรม แสดงใหเห็นจริง โดยวาดรูปบนแผนโปรงใส แลวสาธิตการหมุนใหนักเรียนดูพรอมกับการใชคําถามตามลําดับขั้นตอน ใหนักเรียนชวยกันสรุปผล หรือครูอาจมอบหมายงานเปนกลุมใหนักเรียนใชกระดาษแข็งตัดตามรูป ศึกษากิจกรรมและตอบคําถามตามลําดับที่ใหไวในหนังสือเรียน หลังจากนั้นอาจใหตัวแทนกลุมสาธิตให เพื่อนดูหนาชั้น พรอมกับสรุปผลตามทฤษฎีบทพีทาโกรัส ครูอาจเลือกกิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก – 1.2 ค ใหนักเรียนทําบางกิจกรรมเพิ่มเติมตามความเหมาะสมและความพรอมของนักเรียน 2. สําหรับกิจกรรม “คิด” มีเจตนาใหนักเรียนหาความยาวของดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสโดย อาศัยความสัมพันธของดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากตามทฤษฎีบทพีทาโกรัส ครูอาจชี้ใหนักเรียนสังเกต ความยาวของรัศมีของวงกลม เพื่อนําไปสูความยาวของดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ลอมรอบครึ่งวงกลม บนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากนั้น 3. กิจกรรม “ยังมีอีกไหม” มีเจตนาใหนักเรียนสังเกตเห็นความสัมพันธของพื้นที่ของรูป เรขาคณิตอื่น ๆ บนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากตามทฤษฎีบทพีทาโกรัส ครูอาจแบงนักเรียน เปนกลุมโดยใหนักเรียนสรางรูปเรขาคณิตอื่น ๆ บนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก แลวหาพื้นที่เพื่อ ตรวจสอบดูวามีความสัมพันธกันแบบทฤษฎีบทพีทาโกรัสหรือไม และใหแตละกลุมนําผลที่ไดมาอภิปราย หนาชั้น 4. เพื่อความสะดวกในการสรางโจทยเพิ่มเติมใหกับนักเรียน ครูอาจหาความยาวของดานทั้งสาม ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีความยาวแตละดานเปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 ชุดอื่น ๆ ที่แตกตางจากจํานวน ที่นักเรียนคุนเคย จากสูตรตอไปนี้
  • 4. 4 กําหนดให c เปนดานตรงขามมุมฉาก a และ b เปนดานประกอบมุมฉากของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก กรณีที่ 1 ถา n เปนจํานวนคี่ที่มากกวา 1 และให a = n จะได b = 2 1n2 − และ c = 2 1n2 + a = n b = 2 1n2 − c = 2 1n2 + a : b : c 3 4 5 3 : 4 : 5 5 12 13 5 : 12 : 13 7 24 25 7 : 24 : 25 9 40 41 9 : 40 : 41 11 60 61 11 : 60 : 61 13 84 85 13 : 84 : 85 . . . . . . . . . . . . กรณีที่ 2 ถา n เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 และให a = 2n จะได b = n2 – 1 และ c = n2 + 1 n a = 2n b = n2 – 1 c = n2 + 1 a : b : c 2 4 3 5 4 : 3 : 5 หรือ 3 : 4 : 5 3 6 8 10 6 : 8 : 10 หรือ 3 : 4 : 5 4 8 15 17 8 : 15 : 17 5 10 24 26 10 : 24 : 26 หรือ 5 : 12 : 13 6 12 35 35 12 : 35 : 35 7 14 48 50 14 : 48 : 50 หรือ 7 : 24 : 25 8 16 63 65 16 : 63 : 65 . . . . . . . . . . . . . . . หมายเหตุ สําหรับสูตรดังกลาวนี้ ครูไมควรนําไปสอน ในที่นี้ใหไวเปนความรูสําหรับครูเพื่อ นําไปใชในการสรางโจทยอื่น ๆ
  • 5. 5 1.3 บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส (4 ชั่วโมง) จุดประสงค ใหนักเรียนสามารถ 1. เขียนบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสได 2. นําทฤษฎีบทและบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสมาใชในการแกปญหาได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 1.3 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับการสรางมุมฉากดวยเครื่องมือในปจจุบันและชี้ใหนักเรียนเห็นวาใน สมัยโบราณสรางมุมฉากโดยใชเชือก 13 ปมอยางไร ครูอาจเตรียมสื่ออุปกรณเชือก 13 ปม มาให นักเรียนลองตรวจสอบกับมุมโตะของครูหรือของนักเรียน เพื่อดูวาการจัดขึงเชือกใหเปนรูปสามเหลี่ยม เมื่อใหความยาวของดานเปน 3, 4 และ 5 หนวย แลวไดมุมมีขนาดเทากับขนาดมุมฉากของโตะจริง หรือไม 2. สําหรับกิจกรรม “ลองทําดู” มีเจตนาใหนักเรียนสํารวจวา ถารูปสามเหลี่ยมใดมีความสัมพันธ ของความยาวของดานเปนแบบ c2 = a2 + b2 เมื่อ a, b และ c แทนความยาวของดาน แลวรูป สามเหลี่ยมนั้นจะเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากเสมอเพื่อนําเขาสูบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส และนําไป ใชในการตรวจสอบวา รูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวของดานทั้งสามตามที่กําหนดใหเปนรูปสามเหลี่ยม มุมฉากหรือไม 3. เพื่อเปนการทําความเขาใจเกี่ยวกับขอความของทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับของทฤษฎีบท พีทาโกรัส ครูอาจใหนักเรียนสังเกตวาขอความใดเปนเหตุหรือสิ่งกําหนดให และขอความใดเปนผล ซึ่งจะ เห็นวาสวนที่เปนเหตุของทฤษฎีบทคือสวนที่เปนผลของบทกลับ สวนที่เปนเหตุของบทกลับคือสวนที่เปน ผลของทฤษฎีบท 4. การพิสูจนบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตองการใหนักเรียนเห็นการพิสูจนเทานั้น ไม ตองนํามาวัดผล 5. สําหรับกิจกรรม “ลองคาดการณ” มีเจตนาเสนอไวเพื่อใหนักเรียนไดขอสรุปความสัมพันธ เกี่ยวกับความยาวของดานและขนาดของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม นอกเหนือจากทฤษฎีบทของ พีทาโกรัส นักเรียนอาจหาขอคาดการณไดจากการสังเกตหรือจากการสรางรูปสามเหลี่ยมตามเงื่อนไขของ โจทยก็ได 6. สําหรับแบบฝกหัด 1.3 ขอ 3 ครูควรแนะนําใหนักเรียนวาดรูปสามเหลี่ยมประกอบ การคํานวณ และขอ 7 ควรวาดรูปตามขนาดที่กําหนดใหเพื่อสํารวจเสนทแยงมุมทั้งสองเสนวายาวเทากัน หรือไม
  • 6. 6 7. สําหรับแบบฝกหัดเพิ่มเติม 1.3 มีเจตนาใหเปนแบบฝกหัดระคน เพื่อฝกทักษะการนําความรู เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับไปใชในการแกโจทยปญหา ควรใหนักเรียนทําหลังจบบทเรียนแลว เพื่อเปนการประเมินตนเอง อาจมีโจทยบางขอที่คอนขางซับซอน ครูควรพิจารณาเลือกเปนบางขอให นักเรียนทําตามความเหมาะสม คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบกิจกรรม “ลองวัดดูซิ” 1. 1) 5 2) 4 3) 6.5 4) 10 5) 13 2. ขอที่ a b c a2 b2 c2 a2 + b2 1 3 4 5 9 16 25 25 2 2.4 3.2 4 5.76 10.24 16 16 3 2.5 6 6.5 6.25 36 42.25 42.25 4 6 8 10 36 64 100 100 5 5 12 13 25 144 169 169 จากตารางสามารถบอกความสัมพันธของความยาวของดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากไดวา c2 = a2 + b2 คําตอบกิจกรรม “เขียนไดหรือไม” 1. d2 = e2 + f2 2. x2 = y2 + z2 3. p2 = q2 + r2 4. 102 = 62 + a2 5. 252 = b2 + 242 6. x2 = 52 + 122
  • 7. 7 คําตอบแบบฝกหัด 1.1 1. 1) 15 2) 61 3) 29 4) 1.7 5) 1.3 6) 5 27 หรือ 7.4 2. 1) 16 2) 25 3) 0.5 4) 2.0 3. 1) 36 2) 132 3) 9 4) 10.8 คําตอบกิจกรรม “หมุนแลวเห็น” 1. พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABCD = a2 พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส BEFG = b2 2. จากรูปจะได 1) ∆ HEF เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เพราะมี FEH ∧ เปนมุมฉาก 2) HE = a หนวย เนื่องจาก AE = AB + BE = a + b แต AH = b หนวย (กําหนดให) D C a A B E G F b 4 23 1 Hb c
  • 8. 8 ดังนั้น HE = AE – AH = a + b – b นั่นคือ HE = a หนวย 3) EF = b หนวย EF เปนดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส BEFG ที่มีดานยาวดานละ b หนวย 4) ∆ DAH ≅ ∆ HEF (ด.ม.ด.) 5) HF = c หนวย (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน) 3. 1) ∧ 1 = ∧ 2 (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) 2) ∧ 1 + ∧ 3 = 90o 3) ∧ 2 + ∧ 3 = 90o 4) FHD ∧ = 90o 4. 1) ใช 2) ใช 3) เปนมุมฉาก เนื่องจาก IFG ∧ = HFE ∧ = ∧ 4 ( IFG ∧ เปนภาพที่ไดจากการหมุน HFE ∧ ) เนื่องจาก HFG ∧ + HFE ∧ = 90o (ขนาดของมุมภายในของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส) ดังนั้น HFG ∧ + IFG ∧ = 90o (สมบัติของการเทากัน) นั่นคือ IFH ∧ เปนมุมฉาก D C a A B E G F b 4 2 3 1 H c 2 I 3 1 4
  • 9. 9 4) เปนมุมฉาก เนื่องจาก IDC ∧ = ∧ 1 ( IDC ∧ เปนภาพที่ไดจากการหมุน AH ∧ D ) และ CDA ∧ = ∧ 1 + CDH ∧ = 90o (ขนาดของมุมภายในของรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัส) ดังนั้น IDH ∧ = IDC ∧ + CDH ∧ (สมบัติของการเทากัน) จะได IDH ∧ = CDA ∧ = 90o (สมบัติของการเทากัน) นั่นคือ IDH ∧ เปนมุมฉาก 5) เปนมุมฉาก เนื่องจาก GIF ∧ = ∧ 2 ( GIF ∧ เปนภาพที่ไดจากการหมุน FHE ∧ ) และ CID ∧ = ∧ 3 ( CID ∧ เปนภาพที่ไดจากการหมุน DHA ∧ ) GIF ∧ + CID ∧ = ∧ 2 + ∧ 3 (สมบัติของการเทากัน) เนื่องจาก ∧ 2 + ∧ 3 = 90o (ผลที่ไดจากขอ 3 ขอยอย 3)) ดังนั้น GIF ∧ + CID ∧ = 90o (สมบัติของการเทากัน) นั่นคือ FID ∧ เปนมุมฉาก 5. DHFI เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เพราะ DHFI มี FHD ∧ = IFH ∧ = IDH ∧ = FID ∧ = 90o และ DH = HF = FI = ID = c หนวย 6. จากการหมุน ∆ HEF และหมุน ∆ DAH แสดงใหเห็นวารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส DHFI ประกอบขึ้นมา จากรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABCD และรูปสี่เหลี่ยม BEFG โดยแบงเปนชิ้นสวนตามที่กําหนดใหและนํามา เรียงตอกัน ดังรูป D c A B E F H I C G c
  • 10. 10 คําตอบกิจกรรม “คิด” พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม PQRS = 12 × 12 = 144 ตารางหนวย คําตอบแบบฝกหัด 1.2 1. 13 เซนติเมตร 2. 7.2 กิโลเมตร 3. 84 ตารางเซนติเมตร 4. 1) 17 หนวย 2) 60 ตารางหนวย 3) ประมาณ 7.06 หนวย 5. 22 ฟุต 6. 1) 6 เมตร 2) มากกวา 2.5 เมตร 7. 24 ฟุต คําตอบกิจกรรม “ยังมีอีกไหม” ยังมีอีกเชน 1. รูปวงกลมที่แตละรูปมีเสนผานศูนยกลางเปนดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2. รูปสามเหลี่ยมดานเทาบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 3. รูปหกเหลี่ยมดานเทามุมเทาบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
  • 11. 11 คําตอบกิจกรรม “ลองทําดู” a2 + b2 เทากับ c2 หรือไม ∆ ABC เปน ∆ มุมฉาก หรือไมขอ a b c a2 + b2 c2 เทา ไมเทา เปน ไมเปน (1) (2) (3) (4) (5) (6) 6 6 9 7 6 1.4 8 12 12 13 6.25 3.6 10 13 15 14 7.25 4 36 + 64 36 + 144 81 + 144 49 + 169 36 + 39.025 1.96 + 12.96 100 169 225 196 52.5625 16 (7) 2 12 6 2 16 4 25 + 36 4 169 (8) 4 6.5 8.5 16 + 42.25 72.25 คําตอบกิจกรรม “ลองคาดการณ” 1. c2 < a2 + b2 แลว BCA ∧ < 90o 2. c2 > a2 + b2 แลว BCA ∧ > 90o คําตอบแบบฝกหัด 1.3 1. ขอ 1) ขอ 4) และ ขอ 6) 2. 1) ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เนื่องจาก AB2 = 242 + 182 = 900 AC2 = 242 + 322 = 1600 จะได AB2 + AC2 = 900 + 1600 = 2500 เนื่องจาก BC2 = (18 + 32)2 = 2500 ดังนั้น BC2 = AB2 + AC2 นั่นคือ ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก A CB 3218 24
  • 12. 12 2) ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เนื่องจาก AB2 = 252 + 602 = 4,225 AC2 = 602 + 1442 = 24,336 จะได AB2 + AC2 = 4,225 + 24,336 = 28,561 เนื่องจาก BC2 = (25 + 144)2 = 28,561 ดังนั้น BC2 = AB2 + AC2 นั่นคือ ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 3. ความยาวที่กําหนดใหในขอ 3) ทําให ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เนื่องจาก AD2 = AC2 – CD2 = 32 – 2.42 = 3.24 ดังนั้น AD = 1.8 เนื่องจาก BD2 = CB2 – CD2 = 42 – 2.42 = 10.24 ดังนั้น BD = 3.2 AB = AD + DB = 1.8 + 3.2 = 5 จะได AB2 = 25 และ AC2 + CB2 = 32 + 42 = 25 ดังนั้น AB2 = AC2 + CB2 นั่นคือ ∆ ABC เปนสามเหลี่ยมมุมฉาก 4. ประมาณ 43.45 เซนติเมตร 5. 210 ตารางหนวย 6. 6 ฟุต 7. ไมเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก สั้นกวา 15 เซนติเมตร A CB 14425 60 A D B C 2.4 43
  • 14. 14 กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 กิจกรรมนี้เปนกิจกรรมเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางความยาวของดานทั้งสามของ รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ใหเห็นการนําความสัมพันธระหวางความยาวของดานทั้งสามของ รูปสามเหลี่ยมมุมฉากไปใชในการแกปญหา ปญหา รถยนตสามคันจอดขนานฟุตบาทเรียงกันดังภาพ รถคันสีน้ําเงินจะตองอยูหางจากรถคันสี แดงมากนอยเพียงใด จึงจะสามารถนํารถคันสีเหลืองออกมาไดโดยไมเกิดความเสียหายและไมตอง เลื่อนรถคันหนาและรถคันหลัง สื่ออุปกรณ รถยนตจําลอง 3 คัน หรือกระดาษแข็งรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 3 แผน แทนรถยนต แนวการดําเนินกิจกรรม ครูอาจจําลองภาพการจอดรถขนานฟุตบาท ดังรูป แลวใหนักเรียนชวยกันอภิปรายจนไดขอสรุปวา รถคันสีน้ําเงินจะตองอยูหางจากรถคันสีแดงมากกวาความยาวของเสนทแยงมุมของรถคันสีเหลือง ดังรูป
  • 15. 15 กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก กิจกรรมนี้มีเจตนาใหนักเรียนเห็นแนวการพิสูจนทฤษฎีบทพีทาโกรัสอีกวิธีหนึ่ง อุปกรณ กระดาษตัดเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่เทากันทุกประการ 8 รูป โดยใหดานตรงขาม มุมฉากยาว c หนวย ดานประกอบมุมฉากยาว a และ b หนวย และรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มี ดานยาว a, b และ c หนวย อยางละหนึ่งรูป 1. ครูนํารูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมที่ตัดไวในขอ 1 มาประกอบกันเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสองรูป ที่เทากันทุกประการ ดังรูปที่ 1 และรูปที่ 2 2. ใหนักเรียนชวยกันอภิปรายวาพื้นที่ของรูปที่ประกอบแลวในรูปที่ 1 และรูปที่ 2 มีความสัมพันธกันอยางไร c a bc a a b b c a a b b ab b a รูปที่ 1 รูปที่ 2 a b ba
  • 16. 16 ครูอาจใชคําถามดังตอไปนี้ 1) รูปที่ 1 และรูปที่ 2 เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือไม [เปน] 2) รูปที่1 และรูปที่ 2 มีพื้นที่เทากันหรือไม เพราะเหตุใด [เทากัน เพราะวาทั้งสองรูปเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวของดานเปน a + b หนวย เทากัน] 3) รูปที่ 1 และรูปที่ 2 แตละรูปมีรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่เทากันทุกประการอยูกี่รูป [4 รูป] 4) เมื่อหักพื้นที่รูปสามเหลี่ยมทั้งหมดออกจากรูปที่ 1 และรูปที่ 2 พื้นที่ของรูปที่เหลือเทากัน หรือไม เพราะเหตุใด [เทากัน เพราะโดยสมบัติของการเทากัน] 5) พื้นที่ของรูปที่ 1 ที่เหลือเปนเทาไร และพื้นที่ของรูปที่ 2 ที่เหลือเปนเทาไร [c2 และ a2 + b2 ] 6) พื้นที่ของรูปที่เหลือทั้งสองรูปมีความสัมพันธกันอยางไร [c2 = a2 + b2 ] 7) ผลที่ไดในขอ 6) เปนไปตามทฤษฎีบทของพีทาโกรัสหรือไม [เปน] เมื่อนักเรียนไดแนวคิดจากคําถามขางตนแลว ครูควรใหนักเรียนชวยกันสรุปความสัมพันธที่ได ดังนี้ จะไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสองรูปมีความยาวดานละ a + b หนวย พื้นที่ของ จัตุรัสรูปที่ 1 = พื้นที่ของ จัตุรัสที่มีดานยาว c + พื้นที่ของ ∆ มุมฉาก 4 รูป (a + b)2 = c2 + (4 × 2 1 ab) = c2 + 2ab พื้นที่ของ จัตุรัสรูปที่ 2 = พื้นที่ของ จัตุรัสที่มีดานยาว a + พื้นที่ของ จัตุรัสดานยาว b + พื้นที่ของ ∆ มุมฉาก 4 รูป (a + b )2 = a2 + b2 + (4 × 2 1 ab) = a2 + b2 + 2ab เนื่องจาก พื้นที่ของ จัตุรัสรูปที่ 1 เทากับพื้นที่ของ จัตุรัสรูปที่ 2 ดังนั้น c2 + 2ab = a2 + b2 + 2ab นั่นคือ c2 = a2 + b2 (สมบัติของการเทากัน) เมื่อนักเรียนมองเห็นภาพรวมของความสัมพันธระหวางพื้นที่ของรูปทั้งสองแลว ครูควรใหนักเรียน พิจารณาหาเหตุผลที่จะสรุปวารูปที่ 1 และรูปที่ 2 เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสไดดวยเหตุผลใด
  • 17. 17 ครูควรใชคําถามเพื่อเชื่อมโยงไปสูขอสรุป ดังนี้ 1) จากรูปที่ 1 นักเรียนบอกเหตุผลไดหรือไมวา รูปที่นํามาตอกันทําใหดานที่ยาว a หนวย และ b หนวย ตอกันเปนสวนของเสนตรงที่ยาว a + b หนวย [แนวคิด เนื่องจาก ∧ 1 + ∧ 2 = 90o และ ∧ 3 + ∧ 4 = 90o ดังนั้น ( ∧ 1 + ∧ 2 ) + ( ∧ 3 + ∧ 4 ) = 90 + 90 = 180o เนื่องจาก ∆ ABC ≅ ∆ CDE จะได ∧ 1 = ∧ 4 และ ∧ 2 = ∧ 3 ดังนั้น 2( ∧ 1 + ∧ 3 ) = 180 แลว ∧ 1 + ∧ 3 = 2 180 = 90o และ ∧ 1 + ∧ 3 + ∧ 5 = 90 + 90 = 180o แสดงวา BC ตอกับ CD แลวได DCB ∧ เปนมุมตรง นั่นคือ BD ยาวเทากับ a + b หนวย] 2) จากรูปที่ 2 นักเรียนบอกเหตุผลไดหรือไมวา รูปที่นํามาตอกันทําใหดานที่ยาว a และ b หนวย ตอกันเปนสวนของเสนตรงที่ยาว a + b หนวย [แนวคิด เนื่องจาก ∧ 1 = 90o (เปนมุมของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มี ดานยาว a หนวย) และ ∧ 2 = 90o (เปนมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก) ดังนั้น ∧ 1 + ∧ 2 = 90 + 90 = 180o แสดงวา BC ตอกับ CD แลวได DB ∧ C เปนมุมตรง นั่นคือ BD ยาวเทากับ a + b หนวย 2 ab C D A E B 1 35 4 b a A B C D E 1 2 ba
  • 18. 18 กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ข กิจกรรมนี้เพื่อเจตนาใหนักเรียนไดเห็นความสัมพันธตามทฤษฎีบทของพีทาโกรัส ใหนักเรียนทํากิจกรรมตามลําดับขั้นตอนตอไปนี้ 1. สรางรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหนึ่งรูป กําหนดความยาวของดานทั้งสามตามใจชอบ 2. สรางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 3. ลากเสนทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 2 ใหตัดกันที่จุด O 4. บนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 2 ลากเสนขนานกับดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 1 ผานจุด O ดังรูป 1 3 2 3 1 2 a d c b O
  • 19. 19 5. ตัดกระดาษในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 2 เปนรูปสี่เหลี่ยมรูป a รูป b รูป c และ รูป d 6. ตัดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 3 7. นํารูปที่ตัดไดในขอ 4 และ ขอ 5 ทั้งหมด 5 รูปมาเรียงซอนบนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูป 1 โดยแตละชิ้นไมมีสวนใดซอนกันเลย 8. สามารถวางไดเต็มรูป 1 พอดีหรือไม [จัดไดพอดี] ดังรูป 9. นักเรียนคิดวากิจกรรมนี้ไดขอสรุปวาอยางไร [พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานตรงขามมุมฉาก เทากับผลบวกของพื้นที่ของ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานประกอบมุมฉาก] b c d a 3
  • 20. 20 กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ค กิจกรรมนี้ใชเพื่อใหนักเรียนไดเห็นความสัมพันธตามทฤษฎีบทของพีทาโกรัส ใหนักเรียนทํากิจกรรมตามลําดับขั้นตอนตอไปนี้ 1. สราง ∆ ABC มี BCA ∧ เปนมุมฉาก 2. สรางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ดังรูป 3. ลาก IJ // AB ตัด AH ที่จุด J 4. ตอ EA มาทางจุด A ตัด CG ที่จุด K 5. ลาก JN // AK ตัด BC ที่จุด N จะไดรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม 1 , 2 , 3 , 4 และ 5 ดังรูป D E A B F G C H I
  • 21. 21 6. ตัดรูป 1 2 3 4 และ 5 นํารูปทั้งหามาจัดเรียงลงบนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบน ดาน AB โดยแตละชิ้นไมมีสวนใดซอนกันเลย 7. สามารถวางรูปทั้งหารูปบนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABDE ไดพอดีหรือไม [จัดไดพอดี] ดังรูป 8. กิจกรรมนี้จะไดขอสรุปวาอยางไร [พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานตรงขามมุมฉาก เทากับผลบวกของพื้นที่ของ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานประกอบมุมฉาก] 4 2 1 53 D E A B F G C H I 4 N 1 2 3 5 K J
  • 22. 22 แบบฝกหัดเพิ่มเติม 1.3 1. จงใชทฤษฎีบทพีทาโกรัสตอบคําถามในแตละขอตอไปนี้ 1) จากรูป a เทากับเทาไร 2) จากรูป b เทากับเทาไร [a = 7] [b = 12] 3) จากรูป ความยาวรอบรูปของ 4) จากรูป c เทากับเทาไร ∆ ABC เปนเทาไร [12] [c = 3] 5) จากรูป d เทากับเทาไร เมื่อพื้นที่ของสี่เหลี่ยมมุมฉากเทากับ 168 ตารางหนวย [d = 25] 6) จากรูป c เทากับเทาไร [c = 25] 2524 a 13b 5 13 124 c 7d 5 4 A B C 12 15 16 c
  • 23. 23 7) จากรูป พื้นที่ของสวนที่แรเงาเปนเทาไร [51 ตารางเซนติเมตร] 2. จากรูป ∆ ABF และ ∆ DCF เปนรูปสามเหลี่ยม มุมฉาก มี CF = 5 หนวย, CD = 3 หนวย และ AF = 12 หนวย จงหาความยาวของ AB และ BF [9 หนวย และ 15 หนวย] 3. จากรูป ∆ ABC มี AB , BC และ AC ยาว 16, 30 และ 34 หนวย ตามลําดับ BD ตั้งฉากกับ AC จงหาความยาวของ BD [ 17 214 หนวย] 4. จากรูป DFBC เปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน มี DC = 11 หนวย, EF = 9 หนวย และ BC = 15 หนวย จงหาพื้นที่ของ DFBC [132 ตารางหนวย] 5. จากรูป ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก มี AB = 16 หนวย BG = 21 หนวย และ FG = 12 หนวย จงหาความยาวของ AF [29 หนวย] 3 ซม. 8 ซม. 15 ซม. 16 34 C D A B 30 A B CD 11 15 9 E F A D E F G C H 21 16 B 12 D C F A B 12 5 3
  • 24. 24 A 12 5 B C 6. จากรูป ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มี AC = 17 หนวย, CB = 8 หนวย ∆ ACD เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มี AC = CD จงหาพื้นที่ของสวนที่แรเงา [84.5 ตารางหนวย] 7. จากรูป BCDE เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา มี CD, AE และ AC ยาว 8, 18 และ 26 หนวย จงหาพื้นที่ของ สวนที่แรเงา [96 ตารางหนวย] 8. จากรูป ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีดานประกอบมุมฉากยาว 5 และ 12 หนวย มีรูปครึ่งวงกลมอยูบนดานทั้งสามของ ∆ ABC จงหาพื้นที่ของสวนที่แรเงา [30 ตารางหนวย] [แนวคิด ครูอาจใหนักเรียนวาดภาพครึ่งวงกลมบนดาน BC จะไดวงกลมที่มี BC เปน เสนผานศูนยกลาง แลวกําหนด 1 , 2 , 3 , 4 , 5 และ 6 แทน พื้นที่แตละสวนดังแสดงในภาพ จากทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได 1 + 2 + 4 + 5 = 6 แต 2 + 3 + 4 = 6 (เปนพื้นที่ครึ่งวงกลมของ วงกลมเดียวกัน) A C D B E A 17 C 8 B D A B C 1 2 3 6 5 4
  • 25. 25 ดังนั้น 1 + 2 + 4 + 5 = 2 + 3 + 4 (สมบัติของการเทากัน) แต 1 + 5 = 3 (นําพื้นที่ที่เทากันมาลบ ทั้งสองขางของสมการ) นั่นคือ พื้นที่สวนที่แรเงารวมกัน เทากับพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ซึ่งเทากับ 2 1 × 5 × 12 = 30 ตารางหนวย]