SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 25
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
  วิทยาศาสตร์ (ว30102) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
                         โดย..คุณครูจริยา ใจยศ
                       โรงเรียนสา จังหวัดน่าน
ความหมาย “การเกิดปฏิกิริยาเคมี”
การเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่ทาให้เกิดสารใหม่
ซึ่งมีสมบัติแตกต่างไปจากเดิม เช่น การเกิดสนิมเหล็ก
การสุกของผลไม้ การย่อยอาหาร การสังเคราะห์แสง เป็นต้น
คาถามชวนคิด
1. ข้อใดแสดงว่ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
   ก. การต้มน้า                  ข. การละลายของน้าแข็ง
   ค. การจุดธูป                  ง. การระเหิดของลูกเหม็น
2. สารเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี จะมีลักษณะในข้อใด
   ก. สีผิดไปจากเดิม             ข. มีสมบัติต่างไปจากสารตั้งต้น
    ค. สถานะเปลี่ยนไป            ง. ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
3. ขอใดไมมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
   ก. การเคี้ยวขาวกอนกลืน                 ข. การฟอกสบู่ในน้ากระดาง
   ค. การทาแล็กเกอรเคลือบผิวไม ง. การผสมกลีเซอรอลกับเอทานอล
สมการเคมี
สมการเคมี หมายถึง สัญลักษณ์ที่อธิบายการเกิดปฏิกิรยาเคมีของสาร
                                                    ิ
โดยมีหลักการเขียนสมการ คือ
1. เขียนสูตรเคมีของ สารตั้งต้น ไว้ทางซ้าย ถ้ามีมากกว่า 1 สาร ให้ใช้
   เครื่องหมาย + คั่นระหว่างสาร
2. เขียนสูตรเคมีของ สารผลิตภัณฑ์ ไว้ทางขวามือ ถ้ามีมากกว่า 1 สาร
  ให้ใช้เครื่องหมาย + คั่นระหว่างสาร
3. ระหว่างสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ ให้คั่นด้วยเครืองหมาย 
                                                ่
                          สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์
ตัวอย่าง การเขียนสมการเคมี
• เผาโลหะแคลเซียม(Ca) โลหะแคลเซียมจะทาปฏิกิริยากับแก๊ส
ออกซิเจน(O2) ในอากาศ เขียนสมการได้ดังนี้
                             สัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแสดงสถานะของสาร
  2Ca(s) + O2(g)  2CaO(s) s                  = ของแข็ง (solid)
แคลเซียม ออกซิเจน         แคลเซียมออกไซด์= ของเหลว (liquid)
                                    l
                                    g         = แก๊ส (gas)
• การผสมแก๊สแอมโมเนีย(NH3)กับกรดไฮโดรคลอริก(HCl)ได้ตะกอน
                                    aq        = สารละลายที่มีน้าเป็น
แอมโมเนียมคลอไรด์(NH4Cl)
                                              ตัวทาละลาย (aqueous)
 NH3(g) + HCl              NH4Cl(s)
แก๊สแอมโมเนีย กรดไฮโดรคลอริก แอมโมเนียมคลอไรด์
ปฏิกิริยาในชีวิตประจาวัน
                    การสังเคราะห์ด้วยแสง
                    พืชสร้างอาหารโดยมีคลอโรฟิลล์
                    และแสงช่วยให้น้าเกิดปฏิกิริยากับ
                    แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ได้กลูโคส
                    และแก๊สออกซิเจน
                  สมการเคมี
ปฏิกิริยาในชีวิตประจาวัน
               การสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
               ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์(H2O2)เป็น
               องค์ประกอบหนึ่งของสารที่ใช้ในการฟอกสี
               เส้นผม ฟอกสีในอาหาร ทาความสะอาด
               ฆ่าเชื้อโรค ทาน้ายาบ้วนปาก

                  สมการเคมี
ปฏิกิริยาในชีวิตประจาวัน
                การสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจน
                คาร์บอเนต(ผงฟู)
                เนื้อขนมหลายชนิดที่มีลักษณะพรุนและ
                ฟู เนื่องจากมีการผสม ผงฟู หรือโซเดียม
                ไฮโดรเจนคาร์บอเนต(NaHCO3) ลงไป
                เมื่อถูกความร้อนทาให้ผงฟูสลายตัวให้
สมการเคมี       แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ปฏิกิริยาในชีวิตประจาวัน
                การเผาไหม้เชื้อเพลิงของแก๊สหุงต้ม
                การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของแก๊สหุงต้มซึ่ง
                ประกอบด้วยแก๊สโพรเพน(C3H8)และแก๊ส
                บิวเทน(C4H10)



 สมการเคมี
ปฏิกิริยาในชีวิตประจาวัน                        วิดีโอฝนกรด
ผลของปฏิกริยาเคมีที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง : ฝนกรด
         ิ
ปฏิกิริยาในชีวิตประจาวัน




การเกิดสนิมเหล็ก
เหล็กมักผุกร่อนและเป็นสนิมเนื่องจากเหล็กทาปฏิกิริยากับแก๊ส
ออกซิเจนและความชื้นในอากาศ
คาถามชวนคิด
1. ข้อใดเป็นสารตั้งต้นในปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสง
   ก. แก๊ส CO2 และ C6H12O6          ข. แก๊ส CO2 และ H2O
   ค. แก๊ส O2 และ C6H12O6           ง. แก๊ส O2 และ H2O
2. ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ จะได้สารใด
เป็นผลิตภัณฑ์
    ก. H2O2           ข. H2O        ค. O2          ง. H2O และ O2
3. ข้อใด ไม่ใช่เกณฑ์ในการตัดสินว่ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
    ก. เกิดฟองแก๊ส                  ข. เกิดตะกอน
    ค. สีของสารละลายเปลี่ยนแปลง ง. เกิดการละลาย
คาถามชวนคิด
4. สารเคมีในข้อใช้ทาขนมและดับไฟป่า
     ก. H2O2         ข.NaHCO3 ค. Na2CO3 ง. C6H12O6
5. ข้อใดไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากสลายตัวของ NaHCO3
    ก. O2            ข. CO2          ค. H2O       ง. Na2CO3
6. ข้อใดไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฏิกิริยาการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง
ที่สมบูรณ์
    ก. แก๊ส CO       ข. แก๊ส CO 2 ค. ไอน้า        ง. พลังงาน
7. แก๊สในข้อใดเป็นสาเหตุของการเกิดฝนกรด
    ก. SO3           ข. NO2          ค. CO2       ง. ถูกทุกข้อ
เฉลยแบบฝึกหัด
คาถามชวนคิด 1
1. CO2(g) + Ca(OH)2(aq)  CaCO3(s) + H2O(l)
2. NaHCO3(s)  Na2CO3(s) + H2O(l) + CO2(g)
3. Na(s) + H2O(l)  NaOH(aq) + H2(g)
4. Ca(HCO3)2(aq)  CaCO3(s) + H2O(l) + CO2(g)
5. Mg(OH)2(aq) + HCl(aq)  MgCl2(aq) + H2O(l)
เฉลยแบบฝึกหัด
คาถามชวนคิด 2
1. 2C2H2(g) + 5O2(g)  4CO2(g) + 2H2O(g) + พลังงาน
2. เผาไหม้ไม่สมบูรณ์จะได้ผลิตภัณฑ์คือ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์(CO)
   และไอน้า(H2O)
3. เผาไหม้สมบูรณ์จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ไอน้า(H2O) แต่ถ้า
   เผาไหม้ไม่สมบูรณ์ ได้แก๊สคาร์บอนมอนออกไซด์ (CO) ไอน้า(H2O)
4. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน
    แก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์(SO3)และแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์
    (NO2)ทาให้เกิดฝนกรด
เฉลยแบบฝึกหัด
คาถามชวนคิด 3
1. เหล็กมีสีเงิน ผิวเรียบ แข็งแรง สนิมเหล็กมีสีน้าตาลแดง ผุกร่อนได้
   ง่าย
2. เคลือบสีผิววัตถุ เพื่อป้องกันผิวของวัตถุสัมผัสกับความชื้นในอากาศ
   และแก๊สออกซิเจน


3. โลหะต่างๆเกิดสนิมได้ เมือสัมผัสความชื้นในอากาศและแก๊สออกซิเจน
                             ่
วิธีป้องกันไม่ให้เกิดสนิมคือ ทาสี ทาน้ามัน การรมดา และการเคลือบ
พลาสติก เป็นการป้องกันการถูกกับ O2 และความชื้น
การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
จากสมการเคมี สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์
ดังนั้นการคานวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา หาได้จากสูตรดังต่อไปนี้

  อัตราการเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์= ปริมาณผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น
                                  ระยะเวลาที่เกิดปฏิกิริยา
หรือ

    อัตราการลดลงของสารตั้งต้น= ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง
                               ระยะเวลาที่เกิดปฏิกิริยา
ตัวอย่างการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
วิธีทา
วิธีทา
โจทย์ปัญหาชวนคิด...
วิธีทา
                               = ( 6 – 0 ) cm3
                                 ( 160 – 0 ) s
                               = 6 cm3
                                  160 s
                               =0.037 cm3/s
ตอบ อัตราการเกิดแก๊ส H2 เฉลี่ย เท่ากับ 0.037 cm3/s
วิธีทา

                                    = ( 2 – 1 ) cm3
                                     ( 25 – 10 ) s

                                   = 1 cm3
                                     15 s
                                   =0.066 cm3/s

ตอบ อัตราการเกิด H2 ช่วงเวลา 10-25 วินาที เท่ากับ 0.066 cm3/s
วิธีทา

                                    = ( 3 – 2 ) cm3
                                     ( 45 – 25 ) s

                                   = 1 cm3
                                     20 s
                                   =0.05 cm3/s

ตอบ อัตราการเกิด H2 ช่วงเวลา 25-45 วินาที เท่ากับ 0.05 cm3/s
กิจกรรม...

 “ให้นักเรียนทุกศึกษาปัจจัยทีมีผลต่อ
                             ่
อัตราเกิดปฏิกิริยาเคมีจากหนังสือเรียน
   มีปัจจัยใดบ้างและมีผลอย่างไร”

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
Tanchanok Pps
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
weerawato
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
website22556
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
Sirintip Arunmuang
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 

La actualidad más candente (20)

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 

Destacado

การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
medfai
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
medfai
 

Destacado (9)

บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 

Similar a บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
chemnpk
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
Chicciiz Pu
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
Blovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
bee255taiy
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
kamon369
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
adiak11
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
adiak11
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
10846
 

Similar a บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี (20)

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
 
Minboi
MinboiMinboi
Minboi
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลยเคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 

Más de Jariya Jaiyot

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
Jariya Jaiyot
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
Jariya Jaiyot
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Jariya Jaiyot
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
Jariya Jaiyot
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
Jariya Jaiyot
 
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถืออันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
Jariya Jaiyot
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
Jariya Jaiyot
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
Jariya Jaiyot
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริง
Jariya Jaiyot
 
ไวนิล 1 จริง
ไวนิล 1 จริงไวนิล 1 จริง
ไวนิล 1 จริง
Jariya Jaiyot
 
ไวนิล 3 จริง
ไวนิล 3 จริงไวนิล 3 จริง
ไวนิล 3 จริง
Jariya Jaiyot
 

Más de Jariya Jaiyot (20)

โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองโครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
 
สมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สสมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊ส
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
Lab4
Lab4Lab4
Lab4
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
 
ไวนิล 3
ไวนิล 3ไวนิล 3
ไวนิล 3
 
ไวนิล 2
ไวนิล 2ไวนิล 2
ไวนิล 2
 
ไวนิล 1
ไวนิล 1ไวนิล 1
ไวนิล 1
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถืออันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริง
 
ไวนิล 1 จริง
ไวนิล 1 จริงไวนิล 1 จริง
ไวนิล 1 จริง
 
ไวนิล 3 จริง
ไวนิล 3 จริงไวนิล 3 จริง
ไวนิล 3 จริง
 

บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี