SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ
ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด
ผู้อํานวยการสํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
สํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
23 มีนาคม 2558
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
ข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี วันที่ 10 ก.พ. 2558
• ด้านบริหารราชการแผ่นดินและอื่นๆ
กําหนดแนวทางปรับปรุงการสร้างการรับรู้และประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลให้สามารถเข้าถึงประชาชนได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องที่คณะรัฐมนตรีได้ดําเนินการจนบังเกิดผลเป็นรูปธรรมในช่วงที่ผ่านมา รวมทั้งเรื่องที่จะดําเนินการในระยะต่อไป โดยให้
พิจารณาขยายช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ ให้หลากหลายยิ่งขึ้น เช่น หนังสือพิมพ์ social media
ข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี วันที่ 2 ธ.ค. 2557
• ด้านบริหารราชการแผ่นดินและอื่นๆ
ให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยสํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) สํารวจข้อมูลการดําเนินงานตามความ
รับผิดชอบของทุกส่วนราชการและเชื่อมโยงข้อมูลให้ทุกส่วนราชการสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เช่น การเชื่อมโยงข้อมูลการบริหารจัดการน้ํา
ระหว่างส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้นําไปใช้ประโยชน์ในการดําเนินการอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
คําสั่งคณะรัฐมนตรี วันที่ 23 เม.ย. 2556
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแนวทางยกระดับการให้บริการประชาชนผ่านบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ ตามที่กระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเสนอโดยให้ สํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.) จดทะเบียนชื่อและเป็นผู้ถือครอง
โดเมนเนมภายใต้ชื่อ "apps.go.th"ในการให้บริการศูนย์กลางของแอปพลิเคชันภาครัฐ (Government Application Center)
คําสั่งคณะรัฐมนตรีและข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี
2
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
3
คําสั่งคณะรัฐมนตรีและข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีมีนโยบายเกี่ยวกับการบูรณาการข้อมูลภาครัฐและการใช้ประโยชน์
มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 1 ต.ค. 2557
ให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประสานงานกับทุกหน่วยงานในการบูรณาการการใช้ประโยชน์ร่วมกันจากฐานข้อมูลที่มีอยู่ โดย
ปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัยและพร้อมใช้งานทุกเวลา
ข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี วันที่ 29 ม.ค. 2558
ให้สภาความมั่นคงแห่งชาติร่วมกับกระทรวงมหาดไทย (กรมการปกครอง) และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจัดทําฐานข้อมูลกลาง
โดยเชื่อมโยงข้อมูลจากฐานข้อมูลต่าง ๆ อาทิ ข้อมูลตํารวจ ข้อมูลประกันสังคม ข้อมูลทะเบียนเกษตรกร เข้ากับหมายเลขบัตรประชาชน (13 หลัก)
เพื่อใช้ประโยชน์ในเรื่องต่าง ๆ อาทิ การจ่ายเงินชดเชย การเฝ้าระวังติดตามผู้ต้องสงสัย
มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 3 ก.พ. 2558
ให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทําฐานข้อมูลกลาง โดยเชื่อมโยงข้อมูลในการดําเนินงานจากฐานข้อมูลต่าง ๆ ให้เป็นระบบเดียวกัน
มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 18 ก.พ. 2558
ให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม พิจารณาแนวทาง
ช่วยเหลือเกษตรกรและประชาชนผู้มีรายได้น้อย โดยพิจารณาความเป็นไปได้ในการออกบัตรอเนกประสงค์ (smart card) สําหรับการโดยสาร
ระบบขนส่งสาธารณะและซื้อปัจจัยการผลิต เช่น ปุ๋ย เมล็ดพันธุ์ เป็นต้น
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
Government Data Infrastructure (GDI)
จากข้อมูลการศึกษาของ NECTEC ข้อมูลพื้นฐานของภาครัฐประกอบด้วยข้อมูล 4 ประเภท
บุคคล นิติบุคคล
ที่อยู่ แผนที่
GDI
ประเด็นสําคัญของการบูรณาการข้อมูล
1. ความถูกต้อง สมบูรณ์ และความทันสมัยของข้อมูล
2. ชั้นความลับของข้อมูลพื้นฐาน
3. ภารกิจที่ต้องให้บริการข้อมูลตามกฎหมาย/นโยบาย/ระเบียบ
4. ความเต็มใจและยินดีที่จะให้หน่วยงานอื่นของรัฐได้ใช้ข้อมูล
5. ความพร้อมของการให้บริการ
4
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
ความสัมพันธ์ระหว่างช่วงอายุของบุคคลกับหน่วยงานภาครัฐ
API สําหรับตรวจสอบคนพิการที่มีสิทธิประกันสุขภาพ
API ข้อมูลการเบิกจ่ายกายอุปกรณ์
API ข้อมูลประวัติการฟื้นฟู เยียวยา
Update : 5 ก.พ. 58
ดําเนินการแล้วเสร็จ
อยู่ระหว่างดําเนินการ
ตัวอย่างหน่วยงานภาครัฐที่ใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล
เพื่อพัฒนาบริการให้กับประชาชน ได้แก่ กปน. กกต. อย.
0-2 ปี 3-12 ปี 13-18 ปี
อนุบาล-ประถมศึกษาแรกเกิด-2 ปี มัธยมศึกษา มหาวิทยาลัย วัยทํางาน วัยสูงอายุ สิ้นอายุ
มหาดไทย สาธารณสุข ศึกษาธิการ
19-22 ปี 23-60 ปี 60 ปีขึ้นไป
เกษตรฯ การคลัง
กรมการ
ปกครอง
กรมสรรพากรสพฐ.
มหาวิทยาลัย
ผู้ด้อยโอกาส
ผู้พิการ
นักเรียน
สายสามัญ
นิสิตนักศึกษา
แรงงาน ข้าราชการ
พัฒนาสังคมฯ
สป.สช.
แรงงาน
กรมพินิจฯ
ทารก
ระดับกระทรวงระดับกรม
ประกันสังคม
นักเรียน
สายอาขีพ
กรมอาชีวศึกษา
เจ้าของกิจการ
สํานักนายกรัฐมนตรี
สํานักงาน กพ.
พาณิชย์
กรมพัฒนาธุร
กิจการค้า
ช. 70 ปี
ญ. 75 ปี
กรมที่ดิน
กรมศุลากากร
กรมสรรพสามิต กรมประชา
สงเคราห์
กรมการค้า
ภายใน
กรมทะเบียน
การค้า
ตาย
สถานะของบุคคลที่มีข้อมูลในฐานข้อมูลต่างๆฐานข้อมุลภาครัฐ
นักเรียน
เกษตรกร
ผู้สูงอายุ
กรม
ส่งเสริมฯ
บํานาญ
กรมการ
จัดหางาน
ธนาคารแห่ง
ประเทศไทย
สพฉ. อย.
สํานักงาน
ปลัด
คุรุสภา สนง.เศรษฐกิจ
การเกษตร
สํานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรี
กรมประมง
กลต.
การประปา
นครหลวงการประปา
ส่วนภูมิภาค วช.
5
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
6
การบูรณาการข้อมูลเกษตรกรผู้ยากจน
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”ภาครัฐควรยกระดับการบริหารจัดการข้อมูลภาคเกษตรอย่างไร?
จากการนําข้อมูลต่างๆมาศึกษาวิเคราะห์ พบว่ามีช่องว่างในหลายกรณีทําให้จําเป็นต้องใช้การประมาณการและไม่
สามารถระบุเกษตรกรที่ยากจนได้อย่างแม่นยํา จึงเสนอให้มีการจัดเก็บข้อมูลเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ดังนี้
7
ข้อจํากัดของข้อมูลที่มีในปัจจุบัน แนวทางการยกระดับการบริหารจัดการข้อมูล
การขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง ทําให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลข้าม
ประเภทเกษตรกรและอาชีพอื่นๆ ได้จํากัด
เช่น ไม่ทราบว่าผู้ปลูกข้าวกี่คนทําปศุสัตว์ด้วย
ควรบูรณาการข้อมูลระหว่างทุกหน่วยงาน เพื่อให้
คลอบคลุมทุกชนิดเกษตรกรรมรวมถึงอาชีพอื่นๆ โดย
ใช้เลขบัตรประจําตัว 13 หลักเป็นรากฐาน
บูรณาการระหว่าง
หน่วยงาน
1
ข้อมูลสํามะโนเกษตรเป็นข้อมูลเชิงสถิติซึ่งยังไม่
สามารถนํามาใช้ระบุเกษตรกรผู้ควรได้รับความ
ช่วยเหลือเป็นรายบุคคลได้
หาแนวทางการเก็บข้อมูลเพื่อให้มีข้อมูลรายบุคคลที่
เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เช่น การบูรณาการมาตรฐาน
การเก็บข้อมูลทะเบียนเกษตรกับสํามะ
ข้อมูล
รายบุคคล
2
มีข้อมูลของเกษตรกรจากสํามะโนเกษตรเพียง
6 ล้านราย จากจํานวนผู้มาขึ้นทะเบียนเกษตรกร
ทั้งสิ้น 9 ล้านครัวเรือน
จัดทําการเก็บข้อมูลของเกษตรกรให้ได้ครบทั้ง
9 ล้านครัวเรือน
Master Data
ข้อมูลเกษตร
4
ไม่มีการเก็บข้อมูลด้านหนี้สินและต้นทุนการผลิต
ของแต่ละครัวเรือน ทําให้ต้องใช้การประมาณการ
ในการคํานวณรายได้สุทธิ
เพิ่มชนิดของข้อมูลที่จัดเก็บ ได้แก่ ต้นทุนการผลิต
และหนี้สิน (ทั้งหนี้ในระบบและนอกระบบ)
ข้อมูลด้านหนี้สิน
และต้นทุน
3
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
ภาครัฐสามารถใช้เทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มความรวดเร็วและโปร่งใสอย่างไร?
ใช้เทคโนโลยีในการบูรณาการฐานข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ภาครัฐสามารถเข้าถึงสถานะของการช่วยเหลือต่างๆที่ผู้มาขอรับ
บริการมีสิทธิ์ได้รับได้ทันที โดยใช้เลขประจําตัว 13 หลัก
8
ประโยชน์ที่จะได้รับ
1) เพิ่มความรวดเร็วและประสิทธิภาพของภาครัฐ
ในการเริ่มดําเนินการนโยบายต่าง
2) เพิ่มความโปร่งใสและลดการรั่วไหลของ
งบประมาณ เช่น การให้เงินซ้ํา และ การขอหลาย
ช่องทาง เนื่องจากสามารถติดตามสถานะต่างๆได้
ทันที (Real Time Status Tracking)
3) เพิ่มความสะดวกให้กับประชาชนในการเข้ารับ
ความช่วยเหลือ โดยจําเป็นต้องพกบัตรประชาชน
เพียงใบเดียว
(One Card for All Subsidies)
ผู้ต้องการความช่วยเหลือ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ
1) แสดงบัตรประชาชน
2) ป้อนข้อมูล 13 หลักเข้าระบบ
3) ระบบเชื่อมต่อและดึง
ข้อมูลจากคลาวด์ภาครัฐ
พม.กระทรวงเกษตร อื่นๆ
4) แสดงสถานะของการช่วยเหลือที่มีสิทธิ์ได้รับ
• ค่าปุ๋ย รับแล้ว
• ค่าผลผลิต ยังไม่ได้รับ
• ค่าภัยแล้ง ยังไม่มีสิทธิ์
• เงินผู้สูงอายุ รับแล้ว
• เงินคนพิการ ยังไม่ได้รับ
• ผู้ว่างงาน ยังไม่มีสิทธิ์
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
1) เกษตรกร
2) ผู้ว่างงาน
3) แรงงานชั้นกรรมกร
4) ขอทานและ
ผู้ไร้ที่อยู่อาศัย
นอกจากด้านการเกษตรแล้วควรบูรณาการข้อมูลด้านใดอีกบ้าง?
นอกจากการบูรณาการข้อมูลเกษตรแล้ว ยังควรบูรณาการข้อมูลอื่นๆเพื่อส่งเสริมการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในการสนับสนุนการ
ตัดสินใจเชิงนโยบายที่สําคัญ ดังนี้
9
3
4
5
สังคมและงานบริการภาครัฐ
การศึกษา ศิลปะ วัฒนธรรม
สาธารณสุข
สังคม
บริการประชาชน
1 สถาบันพระมหากษัตริย์
ความมั่นคงของประเทศ2
ความมั่นคง
6
7
8
การแข่งขันในอาเซียน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม
ศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ
เศรษฐกิจ
และการแข่งขัน
9 ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากร
สิ่งแวดล้อม
11
10 การทํางานภาครัฐ
กฏหมายกระบวนการยุติธรรม
ภาครัฐ
และกฎหมาย
ความยากจน
สิทธิสตรี
คนพิการ
อื่นๆ
สังคมผู้สูงอายุ
ต้องหารือกับสํานักนายกรัฐมนตรีถึงนโยบายและปัจจัยอื่นๆที่สําคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศ
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
10
โครงการลดสําเนากระดาษเพื่อบริการ
ประชาชน (Smart Service)
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
โครงการลดสําเนากระดาษเพื่อบริการประชาชน (Smart Service)
• คืออะไร?
การที่ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการภาครัฐได้ โดยไม่ต้องใช้สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน สําเนา
ทะเบียนบ้าน หรือเอกสารราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง/หรือการที่ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการด้วยตนเอง
(Self-Service) ผ่านช่องทางออนไลน์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Smart Phones) หรือตู้บริการเอนกประสงค์
(Kiosk) เพื่อให้เกิดรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์อย่างเป็นรูปธรรม
• เป้าหมายสําคัญ
การปรับปรุงบริการภาครัฐไปสู่ Smart Service ที่ประชาชนสามารถขอรับบริการโดยไม่จําเป็นต้องยื่น
สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนหรือสําเนาทะเบียนบ้าน เพื่อเป็นการใช้ประโยชน์จากเลขประจําตัว
ประชาชน 13 หลักหรือบัตร Smart Card โดยข้อมูลบุคคลที่เกี่ยวข้องจะถูกบันทึกลงแบบ ฟอร์มขอใช้
บริการเพื่อลดการกรอกแบบฟอร์มกระดาษอีกด้วย
• การดําเนินการ
สรอ. ได้ร่วมกับสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ส่งแบบสํารวจเพื่อรวบรวมรายชื่อ
บริการจาก 7 กระทรวงนําร่องที่สนใจเข้าร่วมโครงการดังกล่าวเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยหน่วยงานต่าง ๆ
ภายใต้ 7 กระทรวงนําร่องได้มีการเสนอชื่อบริการที่จะเข้าร่วมโครงการมาแล้วทั้งสิ้น 240 บริการ
11
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
การบริการ Smart Service
• บริการในรูปแบบ e-Service ที่เกี่ยวข้องกับการลดสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนหรือ
สําเนาทะเบียนจํานวน 64 บริการ
• บริการที่มีการขอสําเนาบัตรฯ แต่ยังไม่ได้พัฒนาเป็น e-Service จํานวน 163 บริการ
และบริการที่ไม่เกี่ยวข้องกับการให้บริการประชาชนอีกจํานวน 13 บริการ (สรุปข้อมูล ณ
วันที่ 12 มีนาคม 2558)
• ระหว่างนี้อาจจะมีบางหน่วยงานเสนอบริการเพื่อเข้าร่วมโครงการมาเพิ่มเติม โดยคาดว่า
มีบริการที่พร้อมจะเข้าร่วมโครงการในระยะ 1 รวมแล้วไม่เกิน 100 บริการ
12
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
สถาปัตยกรรมการเชื่อมโยงข้อมูลประชาชน
13
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
การบูรณาการข้อมูลการบริหารจัดการน้ํา
14
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
15
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
ความถี่การส่งข้อมูลตามมิติเวลา
240
รายการ
ส่งข้อมูลแล้ว
174 รายการ
Real time
น้อยกว่า 20 นาที
ราย 1 – 6 ชั่วโมง
รายวัน
ราย 1 – 4 สัปดาห์
มากกว่า 6 เดือนและอื่นๆ
Real time
น้อยกว่า 20 นาที
ราย 1 – 6 ชั่วโมง
รายวัน
ราย 1 – 4 สัปดาห์
มากกว่า 6 เดือนและอื่นๆ
รอส่งข้อมูลแล้ว
66 รายการ
2 รายการ
31 รายการ
45 รายการ
12 รายการ
6 รายการ
78 รายการ
1 รายการ
16 รายการ
10 รายการ
3 รายการ
0 รายการ
34 รายการ
16
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
ข้อจํากัดการดําเนินการเชื่อมโยงข้อมูลในปัจจุบัน
1. ยังเชื่อมโยงไม่ครบทุกรายการ
2. รูปแบบข้อมูลของหน่วยงานมีความแตกต่างกัน
3. ความถูกต้องและความพร้อมใช้งานของข้อมูลยังไม่สมบูรณ์
4. ระบบจัดเก็บข้อมูลไม่เพียงพอ เช่น เครื่องแม่ข่าย
17
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
การบูรณาการ
ข้อมูล Open Data (data.go.th)
18
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
ข้อมูลเปิดของภาครัฐ
(Open Government Data: OGD) คืออะไร ?
19
 นวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่น แต่มิได้จํากัดเพียงเท่านี้
 Barack Obama, Open Government Data Directive/Initiative (2009)
 ออก Memorandum ให้บรรดาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องลงชื่อให้ความร่วมมือ
 เว็บต้นแบบ data.gov, usaspending.gov, data.gov.uk
 Microsoft และบริษัท IT อื่นๆ ประสานงานอย่างเต็มกําลัง
 เป็นปรากฏการณ์ทั่วโลก
 ได้เกิดขึ้นแล้วในประเทศไทย
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
http://data.go.th/
Data.go.th
20
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
ระดับความสําเร็จในการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) ให้ประชาชนและภาคธุรกิจ สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้
แนวทางการประเมิน :
1. ส่วนราชการมีการจัดตั้งคณะกรรมการ หรือคณะทํางาน หรือผู้รับผิดชอบในการดําเนินการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ
2. มีการคัดเลือกชุดข้อมูลที่ต้องการเปิดเผย
3. มีกระบวนการปรับปรุงและจัดรูปแบบข้อมูลภาครัฐให้พร้อมที่จะเปิดเผยได้
4. มีการเปิดเผยข้อมูลได้อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล
5. มีการเปิดเผยข้อมูลได้อย่างน้อย 2 ชุดข้อมูล
ตัวชี้วัดสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการของหน่วยงานราชการ
ข้อมูลภาครัฐ (Open Data) หมายถึง ข้อมูลของภาครัฐที่สามารถนํามาใช้ได้โดยอิสระ สามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้และแจกจ่ายได้โดยใครก็ตาม
แต่ต้องระบุแหล่งที่มาหรือเจ้าของงานและต้องใช้สัญญาหรือเงื่อนไขเดียวกันกับที่มาหรือตามเจ้าของงานกําหนด
ชุดข้อมูล หมายถึง การรวบรวมข้อมูลมาจัดรวมเป็นชุด ให้แสดงถึงความถูกต้องตามลักษณะโครงสร้างข้อมูล และพอเพียงที่จะมี
การนําไปใช้ประมวลผลต่อได้
โครงสร้างข้อมูล หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่อยู่ในโครงสร้างนั้นๆ รวมทั้งกระบวนการในการจัดการข้อมูลในโครงสร้าง
21
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ
22
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
Data Integration Model
รูปแบบที่ 1 : จัดทําคลังข้อมูลกลาง
รูปแบบที่ 2 : แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานเอง
• หน่วยงานแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย
• ระบบของแต่ละหน่วยงานต้องมีช่องทางให้หน่วยงานอื่น
เข้าถึงข้อมูล
• หน่วยงานแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านคลังข้อมูลกลาง
• เมื่อข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงหน่วยงานต้องอัพเดทที่
ฐานข้อมูลกลาง
Government A Government B Government C
Network
Exchange data Exchange data
Exchange data
เจ้าภาพผู้ดูแลคลังข้อมูล
Government A Government B
Government C
Exchange data
over network
Government D
Gateway 
Hub
23
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
Security
Gateway
คลังข้อมูลนํ้า
Security
Gateway
NGIS
Restricted Data
Security
Gateway
Security
Gateway
คลังข้อมูลอื่นๆระบบฐานข้อมูล
ทะเบียนราษฎร์
Security Security
Gateway
Public
Government
Information
Security
Gateway
Open data
Public Data
Security
e-portal, data.go.th, app.go.th, etc.
Portal
Security
Data Mapping, Master and meta
data, Data Registration Service,
Administrative system, Report
Public View Private View
Government Network
Government
Gateway Gateway
Security
Helpdesk Monitoring
Service and Support
Data Integration Framework
24
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
แนวทางการพัฒนาระบบ
1. จัดตั้งคณะทํางานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. จัดทํามาตรฐานข้อมูลสําหรับแลกเปลี่ยน แบ่งกลุ่มข้อมูล และ ทํารายการข้อมูลที่ต้องการแลกเปลี่ยน
 รวบรวมรายชื่อรายการข้อมูล
 นิยามชื่อรายการข้อมูล
 วิเคราะห์ชื่อรายการข้อมูล
 กําหนดชื่อรายการข้อมูล
 แบ่งกลุ่มข้อมูล
 จัดทํามาตรฐานข้อมูล
3. ออกแบบและพัฒนาระบบซอฟต์แวร์กลาง (Directory/Registration System , Account Management
System)
4. หน่วยงานวิเคราะห์และปรับปรุงฐานข้อมูลของตัวเองให้พร้อม (Data Cleansing)
5. จัดทําความต้องการในการพัฒนาส่วนเชื่อมต่อกับระบบเดิม
6. ออกแบบและพัฒนาเว็บเซอร์วิสสําหรับแลกเปลี่ยนข้อมูล (Gateway System)
7. จัดหาอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และเครือข่ายที่ต้องใช้
8. จัดทําแผนบริหารจัดการระบบและดูแลรักษา
25
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
แนวทางของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน
การดําเนินการต่อไป
• ทําหน้าที่ในการกําหนดกรอบการบูรณาการข้อมูลร่วมทุกหน่วยงาน
• ช่วยดําเนินการทางด้านเทคนิคและบริการโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศเพื่อทําให้เกิด
การบูรณาการ
• ขอความร่วมมือแต่ละหน่วยงาน ในการช่วยกันสํารวจสถานภาพปัจจุบันของข้อมูล
ภาครัฐ เพื่อใช้ในการกําหนดกรอบแผนการบูรณาการต่อไป
26
“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”
27
www.ega.or.th
EGANews
https://www.facebook.com/EGAThailand
Q&A

More Related Content

Viewers also liked

การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการkulachai
 
ตัวอย่างฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ด.ช.ณัฎฐกิตติ์ บูรณะอัศวกุล
ตัวอย่างฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ด.ช.ณัฎฐกิตติ์ บูรณะอัศวกุลตัวอย่างฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ด.ช.ณัฎฐกิตติ์ บูรณะอัศวกุล
ตัวอย่างฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ด.ช.ณัฎฐกิตติ์ บูรณะอัศวกุลVeeradham1
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nfนอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nfCh Khankluay
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการcomputer1437
 
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานSatapon Yosakonkun
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 

Viewers also liked (7)

การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
 
ตัวอย่างฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ด.ช.ณัฎฐกิตติ์ บูรณะอัศวกุล
ตัวอย่างฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ด.ช.ณัฎฐกิตติ์ บูรณะอัศวกุลตัวอย่างฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ด.ช.ณัฎฐกิตติ์ บูรณะอัศวกุล
ตัวอย่างฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ด.ช.ณัฎฐกิตติ์ บูรณะอัศวกุล
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nfนอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
นอมัลไลเซชั่น ( Normalization )1nf-3nf
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการ
 
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 

Similar to แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323

Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Settapong Malisuwan
 
Digital Thailand magazine vol.3 : Digital Government
Digital Thailand magazine vol.3 : Digital GovernmentDigital Thailand magazine vol.3 : Digital Government
Digital Thailand magazine vol.3 : Digital GovernmentThanakitt Kayangarnnavy
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010ICT2020
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรSoftware Park Thailand
 
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณBig Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณSettapong Malisuwan
 
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)wonvisa
 
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยโครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยRHB Banking Group
 
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701  I C T2020 Lifelong Presentation V320100701  I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3ICT2020
 
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfkittithaithana
 
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทยการเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทยAttaporn Ninsuwan
 
Information professional and digital economy
Information professional and digital economyInformation professional and digital economy
Information professional and digital economyMaykin Likitboonyalit
 
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIMC Institute
 

Similar to แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323 (20)

Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
Digital Thailand magazine vol.3 : Digital Government
Digital Thailand magazine vol.3 : Digital GovernmentDigital Thailand magazine vol.3 : Digital Government
Digital Thailand magazine vol.3 : Digital Government
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
 
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณBig Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
 
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยโครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
 
e-Government Thailand
e-Government Thailande-Government Thailand
e-Government Thailand
 
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701  I C T2020 Lifelong Presentation V320100701  I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
 
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทยการเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
 
Post
PostPost
Post
 
Information professional and digital economy
Information professional and digital economyInformation professional and digital economy
Information professional and digital economy
 
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
 
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
 
ICT 2020 : Executive Summary
ICT 2020 : Executive SummaryICT 2020 : Executive Summary
ICT 2020 : Executive Summary
 

More from Electronic Government Agency (Public Organization)

ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...Electronic Government Agency (Public Organization)
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaElectronic Government Agency (Public Organization)
 
E government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบ
E government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบE government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบ
E government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบElectronic Government Agency (Public Organization)
 
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555Electronic Government Agency (Public Organization)
 
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)Electronic Government Agency (Public Organization)
 

More from Electronic Government Agency (Public Organization) (9)

ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
 
Ega website survey report 2015
Ega website survey report 2015Ega website survey report 2015
Ega website survey report 2015
 
EGA Enterprise Architecture
EGA Enterprise ArchitectureEGA Enterprise Architecture
EGA Enterprise Architecture
 
Open Data handbook thai
Open Data handbook thaiOpen Data handbook thai
Open Data handbook thai
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
 
E government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบ
E government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบE government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบ
E government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบ
 
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
 
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
 
Government website standard-v1
Government website standard-v1Government website standard-v1
Government website standard-v1
 

แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323

  • 1. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อํานวยการสํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ สํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 23 มีนาคม 2558
  • 2. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” ข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี วันที่ 10 ก.พ. 2558 • ด้านบริหารราชการแผ่นดินและอื่นๆ กําหนดแนวทางปรับปรุงการสร้างการรับรู้และประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลให้สามารถเข้าถึงประชาชนได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องที่คณะรัฐมนตรีได้ดําเนินการจนบังเกิดผลเป็นรูปธรรมในช่วงที่ผ่านมา รวมทั้งเรื่องที่จะดําเนินการในระยะต่อไป โดยให้ พิจารณาขยายช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ ให้หลากหลายยิ่งขึ้น เช่น หนังสือพิมพ์ social media ข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี วันที่ 2 ธ.ค. 2557 • ด้านบริหารราชการแผ่นดินและอื่นๆ ให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยสํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) สํารวจข้อมูลการดําเนินงานตามความ รับผิดชอบของทุกส่วนราชการและเชื่อมโยงข้อมูลให้ทุกส่วนราชการสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เช่น การเชื่อมโยงข้อมูลการบริหารจัดการน้ํา ระหว่างส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้นําไปใช้ประโยชน์ในการดําเนินการอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น คําสั่งคณะรัฐมนตรี วันที่ 23 เม.ย. 2556 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแนวทางยกระดับการให้บริการประชาชนผ่านบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ ตามที่กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเสนอโดยให้ สํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.) จดทะเบียนชื่อและเป็นผู้ถือครอง โดเมนเนมภายใต้ชื่อ "apps.go.th"ในการให้บริการศูนย์กลางของแอปพลิเคชันภาครัฐ (Government Application Center) คําสั่งคณะรัฐมนตรีและข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี 2
  • 3. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” 3 คําสั่งคณะรัฐมนตรีและข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีมีนโยบายเกี่ยวกับการบูรณาการข้อมูลภาครัฐและการใช้ประโยชน์ มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 1 ต.ค. 2557 ให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประสานงานกับทุกหน่วยงานในการบูรณาการการใช้ประโยชน์ร่วมกันจากฐานข้อมูลที่มีอยู่ โดย ปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัยและพร้อมใช้งานทุกเวลา ข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี วันที่ 29 ม.ค. 2558 ให้สภาความมั่นคงแห่งชาติร่วมกับกระทรวงมหาดไทย (กรมการปกครอง) และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจัดทําฐานข้อมูลกลาง โดยเชื่อมโยงข้อมูลจากฐานข้อมูลต่าง ๆ อาทิ ข้อมูลตํารวจ ข้อมูลประกันสังคม ข้อมูลทะเบียนเกษตรกร เข้ากับหมายเลขบัตรประชาชน (13 หลัก) เพื่อใช้ประโยชน์ในเรื่องต่าง ๆ อาทิ การจ่ายเงินชดเชย การเฝ้าระวังติดตามผู้ต้องสงสัย มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 3 ก.พ. 2558 ให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทําฐานข้อมูลกลาง โดยเชื่อมโยงข้อมูลในการดําเนินงานจากฐานข้อมูลต่าง ๆ ให้เป็นระบบเดียวกัน มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 18 ก.พ. 2558 ให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม พิจารณาแนวทาง ช่วยเหลือเกษตรกรและประชาชนผู้มีรายได้น้อย โดยพิจารณาความเป็นไปได้ในการออกบัตรอเนกประสงค์ (smart card) สําหรับการโดยสาร ระบบขนส่งสาธารณะและซื้อปัจจัยการผลิต เช่น ปุ๋ย เมล็ดพันธุ์ เป็นต้น
  • 4. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” Government Data Infrastructure (GDI) จากข้อมูลการศึกษาของ NECTEC ข้อมูลพื้นฐานของภาครัฐประกอบด้วยข้อมูล 4 ประเภท บุคคล นิติบุคคล ที่อยู่ แผนที่ GDI ประเด็นสําคัญของการบูรณาการข้อมูล 1. ความถูกต้อง สมบูรณ์ และความทันสมัยของข้อมูล 2. ชั้นความลับของข้อมูลพื้นฐาน 3. ภารกิจที่ต้องให้บริการข้อมูลตามกฎหมาย/นโยบาย/ระเบียบ 4. ความเต็มใจและยินดีที่จะให้หน่วยงานอื่นของรัฐได้ใช้ข้อมูล 5. ความพร้อมของการให้บริการ 4
  • 5. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” ความสัมพันธ์ระหว่างช่วงอายุของบุคคลกับหน่วยงานภาครัฐ API สําหรับตรวจสอบคนพิการที่มีสิทธิประกันสุขภาพ API ข้อมูลการเบิกจ่ายกายอุปกรณ์ API ข้อมูลประวัติการฟื้นฟู เยียวยา Update : 5 ก.พ. 58 ดําเนินการแล้วเสร็จ อยู่ระหว่างดําเนินการ ตัวอย่างหน่วยงานภาครัฐที่ใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล เพื่อพัฒนาบริการให้กับประชาชน ได้แก่ กปน. กกต. อย. 0-2 ปี 3-12 ปี 13-18 ปี อนุบาล-ประถมศึกษาแรกเกิด-2 ปี มัธยมศึกษา มหาวิทยาลัย วัยทํางาน วัยสูงอายุ สิ้นอายุ มหาดไทย สาธารณสุข ศึกษาธิการ 19-22 ปี 23-60 ปี 60 ปีขึ้นไป เกษตรฯ การคลัง กรมการ ปกครอง กรมสรรพากรสพฐ. มหาวิทยาลัย ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ นักเรียน สายสามัญ นิสิตนักศึกษา แรงงาน ข้าราชการ พัฒนาสังคมฯ สป.สช. แรงงาน กรมพินิจฯ ทารก ระดับกระทรวงระดับกรม ประกันสังคม นักเรียน สายอาขีพ กรมอาชีวศึกษา เจ้าของกิจการ สํานักนายกรัฐมนตรี สํานักงาน กพ. พาณิชย์ กรมพัฒนาธุร กิจการค้า ช. 70 ปี ญ. 75 ปี กรมที่ดิน กรมศุลากากร กรมสรรพสามิต กรมประชา สงเคราห์ กรมการค้า ภายใน กรมทะเบียน การค้า ตาย สถานะของบุคคลที่มีข้อมูลในฐานข้อมูลต่างๆฐานข้อมุลภาครัฐ นักเรียน เกษตรกร ผู้สูงอายุ กรม ส่งเสริมฯ บํานาญ กรมการ จัดหางาน ธนาคารแห่ง ประเทศไทย สพฉ. อย. สํานักงาน ปลัด คุรุสภา สนง.เศรษฐกิจ การเกษตร สํานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี กรมประมง กลต. การประปา นครหลวงการประปา ส่วนภูมิภาค วช. 5
  • 6. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” 6 การบูรณาการข้อมูลเกษตรกรผู้ยากจน
  • 7. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”ภาครัฐควรยกระดับการบริหารจัดการข้อมูลภาคเกษตรอย่างไร? จากการนําข้อมูลต่างๆมาศึกษาวิเคราะห์ พบว่ามีช่องว่างในหลายกรณีทําให้จําเป็นต้องใช้การประมาณการและไม่ สามารถระบุเกษตรกรที่ยากจนได้อย่างแม่นยํา จึงเสนอให้มีการจัดเก็บข้อมูลเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ดังนี้ 7 ข้อจํากัดของข้อมูลที่มีในปัจจุบัน แนวทางการยกระดับการบริหารจัดการข้อมูล การขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ทําให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลข้าม ประเภทเกษตรกรและอาชีพอื่นๆ ได้จํากัด เช่น ไม่ทราบว่าผู้ปลูกข้าวกี่คนทําปศุสัตว์ด้วย ควรบูรณาการข้อมูลระหว่างทุกหน่วยงาน เพื่อให้ คลอบคลุมทุกชนิดเกษตรกรรมรวมถึงอาชีพอื่นๆ โดย ใช้เลขบัตรประจําตัว 13 หลักเป็นรากฐาน บูรณาการระหว่าง หน่วยงาน 1 ข้อมูลสํามะโนเกษตรเป็นข้อมูลเชิงสถิติซึ่งยังไม่ สามารถนํามาใช้ระบุเกษตรกรผู้ควรได้รับความ ช่วยเหลือเป็นรายบุคคลได้ หาแนวทางการเก็บข้อมูลเพื่อให้มีข้อมูลรายบุคคลที่ เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เช่น การบูรณาการมาตรฐาน การเก็บข้อมูลทะเบียนเกษตรกับสํามะ ข้อมูล รายบุคคล 2 มีข้อมูลของเกษตรกรจากสํามะโนเกษตรเพียง 6 ล้านราย จากจํานวนผู้มาขึ้นทะเบียนเกษตรกร ทั้งสิ้น 9 ล้านครัวเรือน จัดทําการเก็บข้อมูลของเกษตรกรให้ได้ครบทั้ง 9 ล้านครัวเรือน Master Data ข้อมูลเกษตร 4 ไม่มีการเก็บข้อมูลด้านหนี้สินและต้นทุนการผลิต ของแต่ละครัวเรือน ทําให้ต้องใช้การประมาณการ ในการคํานวณรายได้สุทธิ เพิ่มชนิดของข้อมูลที่จัดเก็บ ได้แก่ ต้นทุนการผลิต และหนี้สิน (ทั้งหนี้ในระบบและนอกระบบ) ข้อมูลด้านหนี้สิน และต้นทุน 3
  • 8. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” ภาครัฐสามารถใช้เทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มความรวดเร็วและโปร่งใสอย่างไร? ใช้เทคโนโลยีในการบูรณาการฐานข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ภาครัฐสามารถเข้าถึงสถานะของการช่วยเหลือต่างๆที่ผู้มาขอรับ บริการมีสิทธิ์ได้รับได้ทันที โดยใช้เลขประจําตัว 13 หลัก 8 ประโยชน์ที่จะได้รับ 1) เพิ่มความรวดเร็วและประสิทธิภาพของภาครัฐ ในการเริ่มดําเนินการนโยบายต่าง 2) เพิ่มความโปร่งใสและลดการรั่วไหลของ งบประมาณ เช่น การให้เงินซ้ํา และ การขอหลาย ช่องทาง เนื่องจากสามารถติดตามสถานะต่างๆได้ ทันที (Real Time Status Tracking) 3) เพิ่มความสะดวกให้กับประชาชนในการเข้ารับ ความช่วยเหลือ โดยจําเป็นต้องพกบัตรประชาชน เพียงใบเดียว (One Card for All Subsidies) ผู้ต้องการความช่วยเหลือ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ 1) แสดงบัตรประชาชน 2) ป้อนข้อมูล 13 หลักเข้าระบบ 3) ระบบเชื่อมต่อและดึง ข้อมูลจากคลาวด์ภาครัฐ พม.กระทรวงเกษตร อื่นๆ 4) แสดงสถานะของการช่วยเหลือที่มีสิทธิ์ได้รับ • ค่าปุ๋ย รับแล้ว • ค่าผลผลิต ยังไม่ได้รับ • ค่าภัยแล้ง ยังไม่มีสิทธิ์ • เงินผู้สูงอายุ รับแล้ว • เงินคนพิการ ยังไม่ได้รับ • ผู้ว่างงาน ยังไม่มีสิทธิ์
  • 9. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” 1) เกษตรกร 2) ผู้ว่างงาน 3) แรงงานชั้นกรรมกร 4) ขอทานและ ผู้ไร้ที่อยู่อาศัย นอกจากด้านการเกษตรแล้วควรบูรณาการข้อมูลด้านใดอีกบ้าง? นอกจากการบูรณาการข้อมูลเกษตรแล้ว ยังควรบูรณาการข้อมูลอื่นๆเพื่อส่งเสริมการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในการสนับสนุนการ ตัดสินใจเชิงนโยบายที่สําคัญ ดังนี้ 9 3 4 5 สังคมและงานบริการภาครัฐ การศึกษา ศิลปะ วัฒนธรรม สาธารณสุข สังคม บริการประชาชน 1 สถาบันพระมหากษัตริย์ ความมั่นคงของประเทศ2 ความมั่นคง 6 7 8 การแข่งขันในอาเซียน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม ศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ เศรษฐกิจ และการแข่งขัน 9 ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม 11 10 การทํางานภาครัฐ กฏหมายกระบวนการยุติธรรม ภาครัฐ และกฎหมาย ความยากจน สิทธิสตรี คนพิการ อื่นๆ สังคมผู้สูงอายุ ต้องหารือกับสํานักนายกรัฐมนตรีถึงนโยบายและปัจจัยอื่นๆที่สําคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศ
  • 10. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” 10 โครงการลดสําเนากระดาษเพื่อบริการ ประชาชน (Smart Service)
  • 11. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” โครงการลดสําเนากระดาษเพื่อบริการประชาชน (Smart Service) • คืออะไร? การที่ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการภาครัฐได้ โดยไม่ต้องใช้สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน สําเนา ทะเบียนบ้าน หรือเอกสารราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง/หรือการที่ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการด้วยตนเอง (Self-Service) ผ่านช่องทางออนไลน์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Smart Phones) หรือตู้บริการเอนกประสงค์ (Kiosk) เพื่อให้เกิดรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์อย่างเป็นรูปธรรม • เป้าหมายสําคัญ การปรับปรุงบริการภาครัฐไปสู่ Smart Service ที่ประชาชนสามารถขอรับบริการโดยไม่จําเป็นต้องยื่น สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนหรือสําเนาทะเบียนบ้าน เพื่อเป็นการใช้ประโยชน์จากเลขประจําตัว ประชาชน 13 หลักหรือบัตร Smart Card โดยข้อมูลบุคคลที่เกี่ยวข้องจะถูกบันทึกลงแบบ ฟอร์มขอใช้ บริการเพื่อลดการกรอกแบบฟอร์มกระดาษอีกด้วย • การดําเนินการ สรอ. ได้ร่วมกับสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ส่งแบบสํารวจเพื่อรวบรวมรายชื่อ บริการจาก 7 กระทรวงนําร่องที่สนใจเข้าร่วมโครงการดังกล่าวเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยหน่วยงานต่าง ๆ ภายใต้ 7 กระทรวงนําร่องได้มีการเสนอชื่อบริการที่จะเข้าร่วมโครงการมาแล้วทั้งสิ้น 240 บริการ 11
  • 12. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” การบริการ Smart Service • บริการในรูปแบบ e-Service ที่เกี่ยวข้องกับการลดสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนหรือ สําเนาทะเบียนจํานวน 64 บริการ • บริการที่มีการขอสําเนาบัตรฯ แต่ยังไม่ได้พัฒนาเป็น e-Service จํานวน 163 บริการ และบริการที่ไม่เกี่ยวข้องกับการให้บริการประชาชนอีกจํานวน 13 บริการ (สรุปข้อมูล ณ วันที่ 12 มีนาคม 2558) • ระหว่างนี้อาจจะมีบางหน่วยงานเสนอบริการเพื่อเข้าร่วมโครงการมาเพิ่มเติม โดยคาดว่า มีบริการที่พร้อมจะเข้าร่วมโครงการในระยะ 1 รวมแล้วไม่เกิน 100 บริการ 12
  • 13. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” สถาปัตยกรรมการเชื่อมโยงข้อมูลประชาชน 13
  • 14. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” การบูรณาการข้อมูลการบริหารจัดการน้ํา 14
  • 15. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” 15
  • 16. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” ความถี่การส่งข้อมูลตามมิติเวลา 240 รายการ ส่งข้อมูลแล้ว 174 รายการ Real time น้อยกว่า 20 นาที ราย 1 – 6 ชั่วโมง รายวัน ราย 1 – 4 สัปดาห์ มากกว่า 6 เดือนและอื่นๆ Real time น้อยกว่า 20 นาที ราย 1 – 6 ชั่วโมง รายวัน ราย 1 – 4 สัปดาห์ มากกว่า 6 เดือนและอื่นๆ รอส่งข้อมูลแล้ว 66 รายการ 2 รายการ 31 รายการ 45 รายการ 12 รายการ 6 รายการ 78 รายการ 1 รายการ 16 รายการ 10 รายการ 3 รายการ 0 รายการ 34 รายการ 16
  • 17. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” ข้อจํากัดการดําเนินการเชื่อมโยงข้อมูลในปัจจุบัน 1. ยังเชื่อมโยงไม่ครบทุกรายการ 2. รูปแบบข้อมูลของหน่วยงานมีความแตกต่างกัน 3. ความถูกต้องและความพร้อมใช้งานของข้อมูลยังไม่สมบูรณ์ 4. ระบบจัดเก็บข้อมูลไม่เพียงพอ เช่น เครื่องแม่ข่าย 17
  • 18. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” การบูรณาการ ข้อมูล Open Data (data.go.th) 18
  • 19. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” ข้อมูลเปิดของภาครัฐ (Open Government Data: OGD) คืออะไร ? 19  นวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่น แต่มิได้จํากัดเพียงเท่านี้  Barack Obama, Open Government Data Directive/Initiative (2009)  ออก Memorandum ให้บรรดาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องลงชื่อให้ความร่วมมือ  เว็บต้นแบบ data.gov, usaspending.gov, data.gov.uk  Microsoft และบริษัท IT อื่นๆ ประสานงานอย่างเต็มกําลัง  เป็นปรากฏการณ์ทั่วโลก  ได้เกิดขึ้นแล้วในประเทศไทย
  • 20. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” http://data.go.th/ Data.go.th 20
  • 21. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” ระดับความสําเร็จในการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) ให้ประชาชนและภาคธุรกิจ สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ แนวทางการประเมิน : 1. ส่วนราชการมีการจัดตั้งคณะกรรมการ หรือคณะทํางาน หรือผู้รับผิดชอบในการดําเนินการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ 2. มีการคัดเลือกชุดข้อมูลที่ต้องการเปิดเผย 3. มีกระบวนการปรับปรุงและจัดรูปแบบข้อมูลภาครัฐให้พร้อมที่จะเปิดเผยได้ 4. มีการเปิดเผยข้อมูลได้อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล 5. มีการเปิดเผยข้อมูลได้อย่างน้อย 2 ชุดข้อมูล ตัวชี้วัดสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการของหน่วยงานราชการ ข้อมูลภาครัฐ (Open Data) หมายถึง ข้อมูลของภาครัฐที่สามารถนํามาใช้ได้โดยอิสระ สามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้และแจกจ่ายได้โดยใครก็ตาม แต่ต้องระบุแหล่งที่มาหรือเจ้าของงานและต้องใช้สัญญาหรือเงื่อนไขเดียวกันกับที่มาหรือตามเจ้าของงานกําหนด ชุดข้อมูล หมายถึง การรวบรวมข้อมูลมาจัดรวมเป็นชุด ให้แสดงถึงความถูกต้องตามลักษณะโครงสร้างข้อมูล และพอเพียงที่จะมี การนําไปใช้ประมวลผลต่อได้ โครงสร้างข้อมูล หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่อยู่ในโครงสร้างนั้นๆ รวมทั้งกระบวนการในการจัดการข้อมูลในโครงสร้าง 21
  • 22. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ 22
  • 23. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” Data Integration Model รูปแบบที่ 1 : จัดทําคลังข้อมูลกลาง รูปแบบที่ 2 : แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานเอง • หน่วยงานแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย • ระบบของแต่ละหน่วยงานต้องมีช่องทางให้หน่วยงานอื่น เข้าถึงข้อมูล • หน่วยงานแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านคลังข้อมูลกลาง • เมื่อข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงหน่วยงานต้องอัพเดทที่ ฐานข้อมูลกลาง Government A Government B Government C Network Exchange data Exchange data Exchange data เจ้าภาพผู้ดูแลคลังข้อมูล Government A Government B Government C Exchange data over network Government D Gateway  Hub 23
  • 24. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” Security Gateway คลังข้อมูลนํ้า Security Gateway NGIS Restricted Data Security Gateway Security Gateway คลังข้อมูลอื่นๆระบบฐานข้อมูล ทะเบียนราษฎร์ Security Security Gateway Public Government Information Security Gateway Open data Public Data Security e-portal, data.go.th, app.go.th, etc. Portal Security Data Mapping, Master and meta data, Data Registration Service, Administrative system, Report Public View Private View Government Network Government Gateway Gateway Security Helpdesk Monitoring Service and Support Data Integration Framework 24
  • 25. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” แนวทางการพัฒนาระบบ 1. จัดตั้งคณะทํางานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. จัดทํามาตรฐานข้อมูลสําหรับแลกเปลี่ยน แบ่งกลุ่มข้อมูล และ ทํารายการข้อมูลที่ต้องการแลกเปลี่ยน  รวบรวมรายชื่อรายการข้อมูล  นิยามชื่อรายการข้อมูล  วิเคราะห์ชื่อรายการข้อมูล  กําหนดชื่อรายการข้อมูล  แบ่งกลุ่มข้อมูล  จัดทํามาตรฐานข้อมูล 3. ออกแบบและพัฒนาระบบซอฟต์แวร์กลาง (Directory/Registration System , Account Management System) 4. หน่วยงานวิเคราะห์และปรับปรุงฐานข้อมูลของตัวเองให้พร้อม (Data Cleansing) 5. จัดทําความต้องการในการพัฒนาส่วนเชื่อมต่อกับระบบเดิม 6. ออกแบบและพัฒนาเว็บเซอร์วิสสําหรับแลกเปลี่ยนข้อมูล (Gateway System) 7. จัดหาอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และเครือข่ายที่ต้องใช้ 8. จัดทําแผนบริหารจัดการระบบและดูแลรักษา 25
  • 26. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” แนวทางของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน การดําเนินการต่อไป • ทําหน้าที่ในการกําหนดกรอบการบูรณาการข้อมูลร่วมทุกหน่วยงาน • ช่วยดําเนินการทางด้านเทคนิคและบริการโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศเพื่อทําให้เกิด การบูรณาการ • ขอความร่วมมือแต่ละหน่วยงาน ในการช่วยกันสํารวจสถานภาพปัจจุบันของข้อมูล ภาครัฐ เพื่อใช้ในการกําหนดกรอบแผนการบูรณาการต่อไป 26
  • 27. “ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy”“ก้าวสู่ Digital Government ภายใต้นโยบาย Digital Economy” 27 www.ega.or.th EGANews https://www.facebook.com/EGAThailand Q&A