SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 89
Descargar para leer sin conexión
ความรูพนฐานคลืนไฟฟ้าหัวใจ
้ ้ื
่
และ
การพยาบาลผูปวยโรคหลอดเลือดและหัวใจ
้่

นางอาไพ สารขันธ์
พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
งานวิสัญญีพยาบาล
โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี
กายวิภาคสรีรวิทยาของหัวใจ









หัวใจเป็นอวัยวะที่เป็นกล้ามเนื้อ
มีลักษณะเป็นโพรง
อยู่ตรงกลางช่องทรวงอก
อยู่หลัง Sternum
ระหว่างปอด 2 ข้าง
อยู่เหนือกระบังลม
Apex อยู่ช่องซี่โครงที่ 5 ข้างซ้าย
ยอดหัวใจอยู่หลังช่องซี่โครงที่ 2
ตัวหัวใจอยู่เยื้องๆมาทางซ้าย
กายวิภาคสรีรวิทยาของหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจ มี 3 ชั้น
 Periocardium
 Myocardium
 Endocardium
ในคนที่อายุมากขึ้น อ้วน
เลือดจะไปเลี้ยงชั้นของ
กล้ามเนื้อหัวใจได้ลดลงมีโอกาสเกิด Myocardial infarction
ส่วน Periocardium เป็นถุงบางๆหุ้มรอบหัวใจ
กายวิภาคสรีรวิทยาของหัวใจ
หัวใจ มี 4 ห้อง
 Rt. atrium (หัวใจห้องบนขวา)
 Rt. ventricle (หัวใจห้องล่างขวา)
 Lt. atrium (หัวใจห้องบนซ้าย)
 Lt. ventricle (หัวใจห้องล่างซ้าย)
ลิ้นหัวใจที่กั้นระหว่าง Rt. atrium
กับ Rt. Ventricle คือ Tricuspid valve
ลิ้นหัวใจที่กั้นระหว่าง Lt. Atrium
กับ Lt. Ventricle คือ Bicuspid valve
หรือ Mitral valve
กายวิภาคสรีรวิทยาของหัวใจ
LUB (S1) เกิดจาก
การปิดของ AV.
(Atrioventricular valve)
 DUB (S2) เกิดจาก
การปิดของ Semilunar
valve

กายวิภาคสรีรวิทยาของหัวใจ
Circulation

เลือดที่มี O2 น้อยและมี CO2 มาจาก
Superior vena cava, Inferior vena cava
และ Coronary sinus ไหลจาก Rt. Atrium
ผ่าน Tricuspid valve มา Rt. Ventricle
 เมื่อ Rt. Ventricle หดตัว Tricuspid
valve ปิด Rt. Ventricle expel เลือดไป
pulmonary arteries
 O2 และ CO2 ถูกแลกเปลี่ยนในปอดและ
flow มา pulmonary vein เข้า Lt. atrium
ผ่าน Bicuspid valve เข้า Lt. Ventricle
ผ่านขึ้นไป aorta โดยผ่าน Aortic valve

กายวิภาคสรีรวิทยาของหัวใจ
Coronary arteries

การส่งเลือดไปเลี้ยง เริ่มจาก
epicardium, myocardium ถึง
endocardium ชั้นที่ขาดเลือดไปเลี้ยง
คือ myocardium และ endocardium
และการ infarction ก็เริ่มที่ชั้น
endocardium
 ผนังกล้ามเนื้อหัวใจที่หนาทาให้เลือด และ O2 ไปเลี้ยง
ชั้น myocardium และ endocardium ได้น้อยลง

กายวิภาคสรีรวิทยาของหัวใจ

หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
(Coronary Artery)

1. Left main coronary artery
- Left anterior descending
coronary artery (LAD) ซึ่งเลี้ยง
หัวใจด้านหน้าและเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจส่วนสาคัญของ
หัวใจห้องซ้ายล่าง
- Left circumflex artery เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
ด้านหลังและด้านล่าง
2. Right Coronary Artery (RCA) จะเลี้ยง
กล้ามเนื้อหัวใจด้านขวาและด้านล่าง
Cardiac cycle

หัวใจบีบและคลายตัวแต่ละครั้งเรียกว่า cardiac cycle

คุณลักษณะของ cardiac cells

สร้างไฟฟ้าได้ (Electrical impulse) cell ที่ผลิตไฟฟ้า
เรียกว่า Pade marker
 ตอบสนองต่อไฟฟ้าได้ (Response to electrical
stimulus) เรียกว่า Excitability
 ส่งต่อกระแสไฟฟ้าได้ (conductivity หรือtransmit
electrical impulse)
 เมื่อถูกระตุ้นด้วยไฟฟ้าจะหด-คลายตัวได้ (contractivity)

Cardiac action potential

ในช่วงที่มีการไหลเข้า-ออกของอิออน เรียกว่า Cardiac
potential
 Electrolyte ที่มีผลต่อการทางานของหัวใจมี Na, K, Ca
 ใน cell มี K ฉะนั้นใน cell จึงมีประจุลบมากกว่านอก cell
 เมื่อ cell กล้ามเนื้อถูกระตุ้น เรียกว่ามีการ Depolarization
 ใน cell มีประจุบวกเพราะ Na เข้าใน cell
(จาก ~ -90 ถึง ~ +20 mv.)
 จังหวะนี้ P wave represent = atrium depo.
 ตามด้วย QRS complex represent
 Repolarization เมื่อ depolarization แล้วก็เริ่มเข้าสู่ phase
ของการ repo.
= ST segment represent
= T wave is venticuler repolarization

Conduction system
SA Node (Sinoatrial Node อยู่หลัง Rt. atrium)
ผลิตไฟฟ้ากาลังการผลิต 60–100/นาที
AV Node (Atrioventricular Node อยู่ข้างล่าง Rt. atrium)
Bundle of His อยู่ระหว่าง septum ของ ventricular
กาลังการผลิต 40–60/นาที
Rt. Bundle และ
Lt. Bundle Branch,
Purrkinje Fiber
(อยู่ที่ ventricle)
กาลังการผลิต 20–40/นาที
EKG Lead

Six limp lead

-Lead l, AVL
-Lead l , l l AVF
-Lead AVR

Precordial lead
-V1, V4
-V2, V3
-V5, V6
*V1, V2

เป็นการมองเห็นหัวใจด้านซ้าย
เป็นการมองเห็นหัวใจด้านล่าง
เป็นการมองเห็นหัวใจด้านขวา
เป็นการมองเห็นหัวใจด้านหน้า
ทะลุไปด้านหลัง

มองด้าน Anterior
มองด้าน Posterior
มองด้าน Lateral
มองตรงแบ่งห้องหัวใจ septum
การติด Lead
-V1 ช่องซี่โครงที4
่
ข้างขวาของ Sternum
-V2 ช่องซี่โครงที4
่
ข้างซ้ายของ Sternum
-V4 mid clavicle
ตั้งฉากกับช่องซี่โครงที5
่
-V3 ระหว่าง V2 กับ V4
-V6 กึ่งกลางรักแร้ลากลงมา
ช่องซี่โครงที5
่
-V5 ระหว่าง V4 กับ V6
Electrocardiogram
(EKG หรือ ECG)
มีความหมายเดียวกันนั่นคือ คลื่นไฟฟ้าหัวใจซึ่งตัว K
นั้นเป็นภาษาเยอรมัน มาจากคาว่า Kardiac แปลว่า
หัวใจเหมือนกับตัว C ในภาษาอังกฤษ คือ Cardiac
จึงใช้ได้ในความหมายเหมือนกัน
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจหรือการทา EKG

คือ การตรวจการทางานด้านไฟฟ้าของหัวใจ
(electrical activity) โดยบันทึกการเปลี่ยนแปลง
ของศักดาไฟฟ้าที่ผิวของร่างกาย (Surface area)
ซึ่งเกิดจาก depolarization และ repolarization
ของหัวใจบนแผ่นกระดาษบันทึก
ประโยชน์ของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
1. Acute Coronary Syndrome (Infarction/Ischemia)
2. Cardiac arrhythmia
3. Chamber enlargement
(Atrial enlargement/Ventricular hypertrophy)
4. Electrolyte imbalance เช่น
Hypo/hyperkalemia, Hypo/hypercalcemia
5. ภาวะอื่นๆ เช่น เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
6. Drug intoxication เช่น digitalis
7. ตรวจดูการทางานของ pacemaker
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ

P wave เกิดจากกระแสไฟฟ้าวิ่งผ่าน atrium

- atrium เกิด Depo.
- ขนาดกว้างและสูงไม่เกิน 3 ช่องเล็ก
- atrium สูงเกิน 3 ช่องเล็ก
=Rt. Atrium enlarge
- atrium กว้างเกิน 3 ช่องเล็ก
=Lt. Atrium enlarge
QRS Ventricle depo. (R wave) ขนาด 0.12-0.2 (3-5 ช่องเล็ก)
- จาก R wave ถึง R wave  300 = อัตราการเต้นของหัวใจ
จานวนช่องใหญ่
แต่ถ้า R-R ไม่สม่าเสมอให้ใช้วิธี Six secon
= นับ 30 ช่องใหญ่นับจานวน Rx10 = อัตราการเต้นของหัวใจ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
QT interval Segment

คือเส้นที่ทาหน้าที่เชื่อม wave หรือ complex เข้าด้วยกัน
- PR segment
- ST segment

Interval

ประกอบไปด้วย segment
และ wave เข้าด้วยกัน
-PR interval
-QT interval
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
R

R
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
-Isoelectric หรือ isometric line คือ เส้นที่ทาหน้าที่
เชื่อม EKG 1 cycle ต่อกับอีก 1 cycle
ดังนั้น 1 cycle ของ EKG
= P wave
+ PR segment
+ QRS wave
+ ST segment
+ T wave
การอ่rานอ Irregular
EKG
1.ดู Rhythm ว่าเป็น regula หรื

P-P เท่ากันเรียก regular และ R-R ไม่เท่ากันเรียก Irregular
2.คานวณหา HR. Sequence M.
= นับช่องใหญ่ว่ามี R-R กี่ช่องแล้วเอา 300÷จานวนช่องใหญ่
6 secon M. ดูว่าใน 6 secon มี QRS หรือ R wave กี่ตัว
แล้วคูณด้วย 10
ผลลัพธ์ <60 ครั้ง/นาที = Bradycardia
>100 ครั้ง/นาที = Tachycardia
3.ดู P wave ถ้าไม่มี P wave แสดงว่า ไม่ได้มาจาก atrium
- P wave แต่ละตัวเหมือนเท่ากันหรือไม่
- P wave แต่ละตัวสม่าเสมอกันหรือไม่
- หลัง P wave มี QRS ทุกครั้งหรือไม่
การอ่าน EKG (ต่อ)
4. ดู PR. INTERVAL จังหวะเท่ากันหรือไม่ (0.12-0.20)
PR. INTERVAL ไม่เท่ากัน
PR. INTERVAL เท่ากันแต่ช้า = Block
5. ดู QRS ปกติจะแคบประมาณ 0.06-0.10
ถ้า >3 ช่องเล็ก=BBB ไฟฟ้าเกิดที่ ventricle
6. ดู ST.segment ปกติ ST จะลงมา Iso electrical line
ถ้าต่ากว่า = ST Depres นึกถึง Ischemia
ถ้ายกสูงกว่า = ST Elevate นึกถึง Injury H.D.
การอ่าน EKG (ต่อ)
7. ดู T wave ปกติจะไปทางเดียวกันกับ R wave
- T wave หัวกลับเรียกว่า Invert T นึกถึง
Cerebral Hemorrhage
- T wave สูงนึกถึง Hyper K
8. ดู QT interval (ปกติ 0.36-0.44) เริ่มจาก
จุดเริ่มต้นของ T wave และ Q wave <½
ของ R wave ถือว่าปกติ
9. ดูว่ามีอะไรผิดปกติหรือไม่ (ดูจากสายตา)
*10 ดูว่ามี critical อะไรบ้าง รีบแก้ไข
หลักการง่ายๆในการอ่าน EKG
1.
2.
3.
4.

R-R เท่ากัน, P-P เท่ากัน
Rate 60-100 ครัง/นาที
้
Atrial regular, Ventricular regular
P wave shape normal
Arrhythmia

Arrhythmia ไม่เป็นอันตรายทุกอัน
สาเหตุของ Arrhythmia "HIS DEBS"
1.H  Hypoxia ขาด O2 ได้รับ O2 ไม่เพียงพอ
2.I  Ischemia cell กล้ามเนื้อหัวใจได้รับเลือดมาเลี้ยงหัวใจ
ไม่พอ Irritability
3.S  Sympathetic nurve ถูกกระตุ้น หัวใจเต้นเร็วและแรง
ถูกยับยั้งทาให้หัวใจเต้นช้าและเบา
4.D  Drug ยาบางอย่างทาให้หัวเต้นช้า (ยารักษาโรคหัวใจ)
ยาบางอย่างทาให้หัวใจเต้นเร็ว
5.E  Electrolyte เช่น K
Hypo  VT/VF, Hyper  Bradycardia
6.Bradycardia เกิดจากหัวใจเต้นช้าเพราะไฟฟ้าส่งมาน้อย
7.S  หัวใจโต Rt, Lt atrium และ Rt, Lt ventricle
อาการของ Arrhythmia
- หัวใจเต้นเร็วหรือช้ากว่าปกติ
- วิงเวียนศีรษะ เนื่องจากมีเลือดออกจาก
หัวใจไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
- Angina เจ็บหน้าอกเนื่องจากมีเลือดออก
จากหัวใจไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ
- SUDDEN DEATH
Sinus Bradycardia
1. จังหวะเท่ากัน R-R, P-P เท่ากัน
2. P ตามด้วย QRS
3. HR Rate < 60 ครั้ง/นาที
สาเหตุ
1. ช่วงกาลังพักผ่อนหรือนอน
2. นักกีฬา
3. Increase vegal (Pana sym). Tone
4. Hypoxia, Hypothermia, Hyperthyroid, Hyper K
5. Calcium chanal blocker, ß blocker digitalis
Sinus Bradycardia

Rate < 60 BPM
Sinus Bradycardia

Possible causes are vagal stimulation, sleep, ischemia to the SA node,
beta blockers, digitalis toxicity, increased ICP.
Sinus Bradycardia
การรักษา
: Atropine
: ß stimulation
- Ephedrine, Epinephrine
- Isoptin, Isopertorinal
: Pace maker

(ต่อ)
Sinus Tachycardia
1. จังหวะเต้นสม่าเสมอเท่ากัน
(R-R, P-P เท่ากัน)
2. P ตามด้วย QRS
3. HR Rate > 100 ครั้ง/นาที
สาเหตุ
1. Pain
2. Fever
3. Anxiety, Stress
4. Light anesthesia
การรักษา รักษาตามสาเหตุ
Sinus Tachycardia

Rate >100 – 150 BPM
Sinus Tachycardia
Sinus Arrhythmia

(หัวใจเต้นไม่สม่าเสมอ)
1. จังหวะที่ไฟฟ้าส่งมาไม่สม่าเสมอ
2. P wave ตามด้วย QRS
สาเหตุ
1. เกิดขึ้นจากการหายใจ
2. หายใจเข้า HR จะเพิ่มขึ้น
3. หายใจออก HR จะลดลง
Sinus Arrhythmia
Sinus Arrhythmia
Sino Atrium Block
•P

และ QRS หายไป 1 ช่วง
• เวลาอ่าน EKG อ่าน NSR c Block
การรักษา
1. Atropine
Sinus Arrest
1. P และ QRS หายไป 5 ช่องใหญ่
2. เวลาอ่าน EKG อ่าน NSR c Block
การรักษา
1. Atropine
Sinus Arrest
Sinus Arrest
Atrial Flutter
จุดกาเนิด : มีการไหลวนของประจุไฟฟ้าใน Atrium
ทาให้เกิด Depolarization ของ Atrium เร็วมาก

ลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

Rhythm : Regular/Irregular
Rate : Atrium 250-350 BPM
Ventricle เต้นตาม 1:1-4:1
P Wave : ไม่มี จะมี F wave เหมือนฟันเลื่อย
Atrial Flutter

Atrium 250-350 BPM
Atrial Flutter
Atrial Flutter
Atrial Flutter
Atrial Fibrillation (AF)

จุดกาเนิด : Atrium ปล่อยกระแสไฟฟ้า
เร็ว ถี่มากไม่สม่าเสมอ

ลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

Rhythm : Irregular
Rate : A-rate 350 - 600 BPM
V-rate Slow VR < 60 BPM
Mod VR 60-100 BPM
Rapid VR > 100 BPM
P Wave : ไม่มี มีแต่ F wave
Atrial Fibrillation (AF)
Atrial Fibrillation (AF)
Atrial Fibrillation (AF)
Supraventricular Tachycardia
(SVT)

จุดกาเนิด : ectopic focus เหนือ Ventricle
ที่ส่งคลื่นไฟฟ้าออกมาอย่างรวดเร็ว

ลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

Rhythm : Regular
Rate : 150-250 BPM
P wave : ถ้าอัตราที่เกิดเร็วมากจะมองไม่เห็น P wave
ถ้ามองเห็น P wave หัวกลับ ใน lead II, III, aVF
PR interval : ถ้าอัตราที่เกิดเร็วไม่สามารถวัด
P-R interval ได้
QRS complex : ปกติ เกิดตามหลัง P wave
Supraventricular Tachycardia
(SVT)

เป็นภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่อาจเกิดจาก
- SA node reentry
- AV node reentry
- Intra - atrial reentry
Junctional Rhythm
จุดกาเนิด : AV NODE หรือ BUNDLE

ลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

Rhythm : Regular
Rate : 40 – 60 BPM
P Wave : พบ P wave หัวตั้งใน lead I และ
หัวกลับใน Lead II, III, aVF เนื่องจากประจุไฟฟ้า
เดินทางทิศทางตรงกันข้ามจากปกติ อาจไม่เห็น
หรือ มีรูปร่างเปลี่ยนไป : หัวกลับ เกิดก่อนหรือ
ระหว่างหรือหลัง QRS Complex
Junctional Rhythm

Rate 40 – 60 BPM
PR interval ถ้า P wave
นาหน้า QRS complex
• PR interval จะสั้นกว่า 0.12 วินาที
• QRS complex ปกติ
• Accelerated Junctional Rhythms
rate 60 – 100 ครั้ง/นาที
• ถ้า Junctional Tachycardias
อัตราเร็วมากกว่า rate >100 ครั้ง/นาที
•
Junctional Rhythm

• JR can be caused by inferior wall MI, hypoxia,
electrolyte disturbances, CHF, valvular disease,
cardiomyopathy and medications.
Junctional Rhythm
Premature Ventricular Contraction
(PVC)

จุดกาเนิด : Ventricle บีบตัวก่อนกาหนด
ลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
Rhythm : Irregular Rate
P Wave : ไม่พบ P wave หรือตามหลัง
QRS Complex : มาก่อนกาหนดกว้าง >0.12 sec.
Bizarre QRS ST-T มีทิศตรงกันข้ามกับ QRS
มี Complete Compensatory Pause
Premature Ventricular Contraction
(PVC)
Premature Ventricular Contraction
(PVC)
ชนิดของ PVC
1.Bigeminy PVC

PVC ที่เกิดสลับกับจังหวะปกติตัวเว้นตัว
ชนิดของ PVC
2.Trigeminy PVC
PVC ที่เกิดขึ้น 1 ตัวสลับกับจังหวะปกติ 2 ตัว
ชนิดของ PVC
3.Quadrigeminy
PVC ที่เกิดขึ้น 1 ตัวสลับกับจังหวะปกติ 3 ตัว
ชนิดของ PVC
4.Couplet or Pair PVC
PVC ที่เกิดขึ้นเป็นคู่ๆ
ชนิดของ PVC
5. Short run VT PVC
PVC ที่เกิดติดต่อกัน 3 ตัวขึ้นไป
Ventricular Tachycardia (VT)
จุดกาเนิด : Ventricle

ลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
Rhythm : Regular/Irregular
Rate : 150 – 250 BPM
P Wave : ไม่ค่อยพบ
QRS Complex : กว้างเหมือน PVC
T wave มีทิศทางตรงกันข้ามกับ QRS complex
Ventricular Tachycardia (VT)
Ventricular Tachycardia (VT)
- Nonsustained Ventricular Tachycardia
VT ที่เกิดขึ้นติดต่อกันน้อยกว่า 30 วินาที
- Sustained Ventricular Tachycardia
VT ที่เกิดขึ้นติดต่อกันมากกว่า 30 วินาที
มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน
โลหิตในร่างกาย
Ventricular Tachycardia (VT)
- Monomorphic Ventricular tachycardia
VT ที่มีลักษณะของ QRS complex
รูปแบบเดียว (uniform)
- Polymorphic Ventricular tachycardia
VT ที่มีลักษณะของ QRS complex ที่มี
รูปแบบต่างกัน (multiform)
Ventricular Tachycardia (VT)
Ventricular Fibrillation

(VF)

จุดกาเนิด : Ventricle ทาให้
Ventricle เต้นเร็วไม่สม่าเสมอไม่
ประสานกันทาให้เกิด Low CO
ลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
Rhythm : สับสน อลม่าน
Rate : นับไม่ได้
Wave ต่างๆ : ไม่สามารถแยกแยะได้
Ventricular Fibrillation

(VF)
Idioventricular Rhythm
Asystole/Ventricular standstill
Atrioventricular

conduction block

(AV)

•Site of block
•Degree of block
Site of AV block
1. AV nodal block

2. Infra AV
nodal block
Atrioventricular Block
1. First Degree AV Block
2. Second Degree AV Block
- Mobitz type I
(Wenckebach)
- Mobitz type II
3. Third Degree AV Block
(CHB)
First degree AV block
(PR >0.2 seconds)

PR > 0.2 sec
PR > 5 ช่องเล็ก
st
1

degree AV block
PR > 0.2 sec
nd
2

degree AV block type I
(Wenckebach)
nd
2

degree
AV block:Mobitz I (Wenckebach)
nd
2

degree
AV block:Mobitz I
nd
2

degree AV block type II
(non-Wenckebach)
nd
2

degree
AV block Mobitz type II
nd
2

degree
AV block : Mobitz II

Block

Block
nd
2

degree AV block
Type I vs Type II

Type I

TYPE II
rd
3

degree AV block
(complete)
rd
3

degree AV block
rd
3

degree AV block
ขอบคุณค่ะ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทCotton On
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...maxx061
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำPrathan Somrith
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...Chutchavarn Wongsaree
 

La actualidad más candente (20)

โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
VAP
VAPVAP
VAP
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาท
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
Arrythmia
ArrythmiaArrythmia
Arrythmia
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 

Destacado

modes of ventilation
modes of ventilationmodes of ventilation
modes of ventilationNikhil Yadav
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
Basic modes of mechanical ventilation
Basic modes of mechanical ventilationBasic modes of mechanical ventilation
Basic modes of mechanical ventilationLokesh Tiwari
 

Destacado (6)

การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
Ventilator
VentilatorVentilator
Ventilator
 
Ventilators
Ventilators Ventilators
Ventilators
 
modes of ventilation
modes of ventilationmodes of ventilation
modes of ventilation
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
Basic modes of mechanical ventilation
Basic modes of mechanical ventilationBasic modes of mechanical ventilation
Basic modes of mechanical ventilation
 

Similar a การอ่านค่า Ekg

Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2vora kun
 
Clinical medicine
Clinical medicineClinical medicine
Clinical medicineMoni Buvy
 
Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554Mew Tadsawiya
 
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
การวัดควา..
การวัดควา..การวัดควา..
การวัดควา..piyarat wongnai
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดjoongka3332
 
Present vs+cns9701
Present vs+cns9701 Present vs+cns9701
Present vs+cns9701 techno UCH
 
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50Loveis1able Khumpuangdee
 
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50Loveis1able Khumpuangdee
 
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxCase-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxERppk
 

Similar a การอ่านค่า Ekg (20)

ชีพจร
ชีพจรชีพจร
ชีพจร
 
Powp08
Powp08Powp08
Powp08
 
Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2
 
Nl cvs
Nl cvsNl cvs
Nl cvs
 
Clinical medicine
Clinical medicineClinical medicine
Clinical medicine
 
Acute Mi
Acute MiAcute Mi
Acute Mi
 
Blunt chest injury
Blunt chest injuryBlunt chest injury
Blunt chest injury
 
Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554
 
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
 
Shock (Thai)
Shock (Thai)Shock (Thai)
Shock (Thai)
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
2016 CVS assessment
2016 CVS assessment2016 CVS assessment
2016 CVS assessment
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
การวัดควา..
การวัดควา..การวัดควา..
การวัดควา..
 
Physiologic murmur 3
Physiologic murmur 3Physiologic murmur 3
Physiologic murmur 3
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Present vs+cns9701
Present vs+cns9701 Present vs+cns9701
Present vs+cns9701
 
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
 
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
 
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxCase-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
 

Más de techno UCH

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557techno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม techno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนtechno UCH
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation techno UCH
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola techno UCH
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนtechno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์techno UCH
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยtechno UCH
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring techno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา techno UCH
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nursetechno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมtechno UCH
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมtechno UCH
 
Affinitor in bc
Affinitor in bc Affinitor in bc
Affinitor in bc techno UCH
 

Más de techno UCH (20)

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทย
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
Case study
Case studyCase study
Case study
 
Assesment
AssesmentAssesment
Assesment
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nurse
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
 
Affinitor in bc
Affinitor in bc Affinitor in bc
Affinitor in bc
 

การอ่านค่า Ekg