SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
โดย คุณวรพงษ์ ผูกภู่
โครงการฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและการจัดการ
วันที่ 26 - 29 มิถุนายน พ.ศ. 2557
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
คือ “หมู่บ้านที่มีการท่องเที่ยว”
หรือ “ชุมชนที่มีการท่องเที่ยว” หรือ
หมู่บ้านที่เรียกว่า “การท่องเที่ยวโดย
ชุมชน” ซึ่งมักจะมีหลายชื่อเรียกและจะ
มีความแตกต่างกันอยู่ในรายละเอียดและ
การจัดการ
1.หมู่บ้านสลักคอก
 เป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวตั้งอยู่ที่ เกาะช้าง จ.ตราด ซึ่งมีความ
น่าสนใจในด้านการจัดการที่แตกต่างจากที่อื่นๆ เป็นการ
ประยุกต์จากสิ่งเดิมที่ชุมชนเคยมี
 มีการนาจุดเด่น โดยการบริการจัดการจะมีการให้คนใน
ชุมชนมาเป็นเจ้าของกิจการโดยต้องจ้างผู้จัดการ 1 คน
ซึ่งเป็นผู้ที่เข้าใจเรื่องอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เพื่อมา
เป็นลูกจ้างของชาวบ้านในการติดต่อประสานงานกับ
บริษัททัวร์และการทาการตลาด
 รายได้ก็จะถูกตอบแทนเป็นเงินเดือนให้กับผู้ที่ทาหน้าที่
เป็นผู้จัดการ และส่วนต่างๆก็จะเป็นระบบปันผลให้แก่
สมาชิกที่มารวมหุ้นในการทาการท่องเที่ยวของหมู่บ้าน
ที่มา: Wikalender,2557
2.หมู่บ้านร่องกล้า
หมู่บ้านที่ตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาติภูหินร่อง
กล้า ถือเป็นหมู่บ้านชาวม้ง
ชาวบ้านร่วมกับทางอุทยานฯในการพยายาม
ใช้การท่องเที่ยวเข้าไปเป็นเครื่องมือที่ทาให้
ความสัมพันธ์ระหว่างชาวบ้านและเจ้าหน้าที่
อุทยานฯมีความสัมพันธ์ที่ดีขึ้น
 เนื่องจากก่อนหน้านี้มีการขัดแย้งกันเรื่อง
การบุกรุกพื้นที่ต่างๆ จึงทาให้สามารถอยู่
ร่วมกันได้
มีการนาวัฒนธรรมบางอย่างมาเป็นกิจกรรม
หนึ่งที่ใช้ในการท่องเที่ยว เช่น พิธีรับขวัญ
นักท่องเที่ยว
ที่มา :FarmKaset ,2557
3.วัดปงสนุก จังหวัดลำปำง
วัดปงสนุกเป็นวัดที่ได้รางวัลยูเนสโกใน
เรื่องการดูแลโบราณสถานและ
สถาปัตยกรรมโบราณ
 มีการเก็บรวบรวมโบราณวัตถุและ
สถาปัตยกรรมต่างๆที่อยู่ในยุคที่พม่ายัง
มีอานาจในการปกครองเมืองลาปาง
และเชียงใหม่
กลุ่มเป้ าหมายจึงเป็นกลุ่มเด็กนักเรียน
นักศึกษาในพื้นที่ จึงมีกิจกรรม
ท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อมา
เรียนรู้วัดและพื้นที่รอบชุมชนที่มี
เรื่องราวน่าสนใจมากมาย
ที่มา: Chomthai,2557
4.หมู่บ้ำนหนองแม่นำเขำค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
เป็นหมู่บ้านที่ชาวบ้านรวมตัวกันเพื่อ
ทาการท่องเที่ยวโดยเริ่มจากการเป็น
กลุ่มอนุรักษ์ป่ามาก่อน
มีการค้นพบแมงกะพรุนน้าจืดจึงมี
การสร้างกิจกรรมท่องเที่ยวการนั่ง
เรือเพื่อชมแมงกะพรุนน้าจืดในลาน้า
เข็ก
โดยมีการร่วมมือกันของชาวบ้านซึ่ง
มีการหมุนเวียนกันในการเป็นทั้งคน
พายเรือ ไกด์ เพื่อเป็นรายได้เสริม
ให้แก่ชาวบ้าน
ที่มา: khaoko , 2557
การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือ : ในการพัฒนาและทางานกับ
ชุมชนในด้านต่างๆ เช่น หมู่บ้านอาข่าที่เลือกใช้การท่องเที่ยว
เป็นเครื่องมือในการรักษา ดูแล และอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี
ของชาวอาข่าไว้
การท่องเที่ยวเป็นกระบวนการในการเก็บรักษาวัฒนธรรม
ท้องถิ่น ความภาคภูมิใจในการเป็นชาติพันธ์เนื่องจากมี
บุคคลภายนอกเข้าไปเยี่ยมชมและชื่นชมอยู่สม่าเสมอ เป็นต้น
สมาชิกในหมู่บ้านหรือเป็นผู้นาชุมชน: จะสามารถวิเคราะห์ได้ว่า
หมู่บ้านนั้นๆมีต้นทุนทางธรรมชาติที่ดีและสวยงาม หรือ วัฒนธรรมที่
น่าสนใจและมีความแตกต่างทางวัฒนธรรม สถานที่ที่ถ่ายรูปสวยงาม มี
ของที่ระลึกจาหน่าย
คนในพื้นที่ศูนย์เสียความเป็นส่วนตัวของชุมชน: การท่องเที่ยวเช่นนี้
คนในชุมชนจะตกอยู่ในสถานะของผู้ที่ถูกท่องเที่ยวซึ่งหลายหมู่บ้านเป็น
เช่นนี้ทาให้คนในพื้นที่สูญเสียความเป็นส่วนตัวจากการถูกรบกวนจาก
นักท่องเที่ยว มีเพียงคนบางกลุ่มเท่านั้นที่ได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยว
หรือได้รับผลตอบแทนที่ไม่คุ้มค่า
กิจกรรมการท่องเที่ยว: การให้บริการ และแหล่งท่องเที่ยวในชุมชน
นั้นจะอยู่บนฐานทั้งทรัพยากรและวัฒนธรรม ด้านวัฒนธรรมจาเป็น
จะต้องมีองค์ความรู้ในท้องถิ่นที่จะมีในตัวบุคคล ไม่ว่าจะเป็นภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น เช่น การทอผ้า การทาแคน เป็นต้น ทาให้สิ่งเหล่านี้
สามารถยกระดับและความสาคัญมากขึ้น
การถ่ายทอดสู่คนในรุ่นต่อไป: เป็นกระบวนการที่ทาให้คนในชุมชน
ตื่นตัวและเห็นความสาคัญนาไปสู่กระบวนการถ่ายทอดสู่คนรุ่นต่อไปได้
สิ่งเหล่านี้เป็นคุณค่าที่มีอยู่ในชุมชนที่นามาใช้ในการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวช่วยในเรื่องของการพัฒนาคุณภาพชีวิตเมื่อมีการท่องเที่ยว
เข้าไปช่วยเป็นตัวกระตุ้นทาให้ชาวบ้านเห็นว่าเป็นเรื่องสาคัญที่จะไม่สามารถใช้
ชีวิตที่ไม่ถูกสุขอนามัยได้ เนื่องจากจะมีบุคคลภายนอกเข้ามา ทาให้เกิดความ
ใส่ใจที่ทาให้เกิดประโยชน์กับคนในชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น
การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นการท่องเที่ยวคานึงถึงความยั่งยืน:
ของสิ่งแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม และชุมชนเป็นผู้กาหนดทิศทางของ
ตนเอง เช่น เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สร้างการเรียนรู้ให้กับเด็กและ
เยาวชน เป็นต้น
ดาเนินการตามทิศทางและเป้ าหมายที่กาหนดไว้แล้วชัดเจน จัดการ
ชุมชนเพื่อให้ชุมชนมีบทบาทและสิทธิในการจัดการดูแลแหล่งท่องเที่ยว
เพื่อให้เกิดการเรียนรู้แก่ผู้มาเยือน
จุดเริ่มต้นสำคัญในกำรทำกำรท่องเที่ยวโดยชุมชนนั้นคือ
กำรวำงเป้ำหมำย ซึ่งสำมำรถสรุปได้5 เรื่อง ได้แก่
•
1.ใช้การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นเครื่องมือในการสร้าง
ความมีส่วนร่วมในชุมชน นากระบวนการในการท่องเที่ยว
สร้างการทางานร่วมกัน
2.ใช้การท่องเที่ยวในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการสื่อสาร
กับผู้คนภายนอก
3.การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
4.การสร้างรายได้เสริมให้แก่ชุมชน
5.เป็นกระบวนการในการพัฒนาคนอีกด้วย
สรุป
การท่องเที่ยวโดยชุมชนไม่จาเป็นต้องให้ที่พักแบบ
โฮมสเตย์ก็ได้ หลายหมู่บ้านจะสร้างเป็นรีสอร์ชุมชน
โดยมีการบริหารจัดการร่วมกันของคนในชุมชน อาหาร
ท้องถิ่นและกิจกรรมท่องเที่ยวที่อยู่บนเรื่องราวของ
วัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน มัคคุเทศก์ชุมชนเพื่อผู้
ถ่ายทอดองค์ความรู้และพัฒนาความสามารถของคน
ในท้องถิ่น

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Tourism principles and practice
Tourism principles and practiceTourism principles and practice
Tourism principles and practiceSomyot Ongkhluap
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยวchickyshare
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยNurat Puankhamma
 
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยวความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยวamornsrivisan
 
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานกฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานChacrit Sitdhiwej
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศSomyot Ongkhluap
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวบทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว재 민 Praew 김
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9Nurat Puankhamma
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว재 민 Praew 김
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว Mint NutniCha
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวแบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวสำเร็จ นางสีคุณ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรมMint NutniCha
 

La actualidad más candente (20)

Tourism principles and practice
Tourism principles and practiceTourism principles and practice
Tourism principles and practice
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
T guide2
T  guide2T  guide2
T guide2
 
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยวความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานกฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
 
T guide 7
T    guide 7T    guide 7
T guide 7
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
T guide1
T guide1T guide1
T guide1
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
 
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวบทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
 
Ch 0 intro to mice
Ch 0 intro to miceCh 0 intro to mice
Ch 0 intro to mice
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวแบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรม
 

Más de Mint NutniCha

8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสาMint NutniCha
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่นMint NutniCha
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme Mint NutniCha
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการMint NutniCha
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทยMint NutniCha
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้าMint NutniCha
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุนMint NutniCha
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการMint NutniCha
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสาMint NutniCha
 
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aec
3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aec3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aec
3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aecMint NutniCha
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยวMint NutniCha
 
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 24 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2Mint NutniCha
 

Más de Mint NutniCha (20)

Draft programme
Draft programmeDraft programme
Draft programme
 
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
 
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
 
3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aec
3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aec3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aec
3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aec
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
 
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 24 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2
 

7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน