SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 54
วิชา ส33102 
เรื่อง สงครามเย็น 
เสนอ 
อ.ปรางค์สุวรรณ ศักดิ์โสภณกุล 
จัดทาโดย 
นางสาวพิชญา ชนะกิจเสรี ม.6.1 เลขที่ 18 
นางสาวอภิรดี อิทธิกมลเลิศ ม.6.1 เลขที่ 38 
ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนสตรีวิทยา
ความหมายของสงครามเย็น
สงครามเย็น หมายถึง ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ทางการเมือง 
ระหว่างสองอภิมหาอานาจ คือ อุดมการณ์ทางการเมืองแบบ 
ประชาธิปไตยของสหรัฐอเมริกากับอุดมการณ์ทางการเมืองแบบ 
คอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียต ซึ่งเกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่2 
สงครามเย็นเป็นการช่วงชิงกันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการ 
โฆษณาชวนเชื่อ โดยไม่ได้ใช้กาลังทหารและอาวุธมาประหัตประหาร 
กัน
สาเหตุของสงครามเย็น
1.การเปลี่ยนแปลงดุลทางอานาจของโลก 
สงครามโลกครั้งที่2 ได้ทา ลายสถานะทางอา นาจของ 
มหาอา นาจเดิมคือ เยอรมนีและญี่ปุ่น ซึ่งเป็นผู้แพ้สงคราม 
ส่วนอังกฤษกับฝรั่งเศสเป็นชาติพันธมิตรที่ชนะสงคราม แต่ 
อังกฤษก็ได้รับความบอบช้า ทั้งด้านการเมืองและเศรษฐกิจ 
ตกต่า ส่วนฝรั่งเศสถูกเยอรมนียึดครองประเทศเป็นเวลานาน4 
ปี
ช่วงหลังสงครามสหรัฐอเมริกาจึงกลายเป็นชาติ 
มหาอานาจที่มั่งคั่งที่สุดในโลก ส่วนสหภาพโซเวียตถึงแม้จะ 
ได้รับความบอบช้า แต่ก็ฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็ว สหภาพโซเวียต 
จึงก้าวขึ้นมาเป็นชาติมหาอา นาจคู่กับสหรัฐอเมริกาแทนชาติ 
ยุโรปตะวันตกและญี่ปุ่น
2.อุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกัน 
สหรัฐอเมริกา ยึดหลักลัทธิเสรีประชาธิปไตย การเมืองแบบ 
เสรีนิยม ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบระบบทุนนิยม ให้สิทธิเสรีภาพ 
ในการดาเนินชีวิตของประชาชน 
สหภาพโซเวียต ยึดถืออุดมการณ์สังคมนิยมมาร์กซิสต์ระบอบ 
การปกครองแบบเผด็จการ หลักการสังคมนิยม เน้นในวัฒนธรรมชน 
ชั้นกรรมาชีพหรือผลประโยชน์ของผู้ใช้แรงงาน
3.ความขัดแย้งของผู้นาของชาติอภิมหาอา นาจ 
ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามโลกครั้งที่2 
คือ แฮร์รี่ เอส. ทรูแมน นายกรัฐมนตรีวินสตัน เชอร์ชิลล์ของอังกฤษ 
ซึ่งเป็นชาติพันธมิตรชนะสงครามที่สา คัญก็มีท่าทีต่อต้านสหภาพโซ 
เวียตด้วยเช่นกัน
ผู้นาของสหภาพโซเวียต ได้แก่ จอม 
พล โจเซฟ สตาลินเป็นผู้นาเผด็จการ สตา 
ลินมีความหวาดระแวงในท่าทีของฝ่าย 
พันธมิตรตะวันตกในด้านต่างๆ ทาให้ 
สหภาพโซเวียตไม่ไว้วางใจประเทศ 
ตะวันตก เห็นว่าประเทศตะวันตกจ้องจะ 
ทา ลายลัทธิคอมมิวนิสต์
การเกิดสงครามเย็นเริ่มต้นตั้งแต่ ค.ศ. 1945 
- สหภาพโซเวียตได้จัดตั้งรัฐบาลคอมมิวนิสต์ 
- ฝ่ายสหรัฐอเมริกากับอังกฤษก็ได้จัดตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยขึ้นใน 
ประเทศที่อยู่ในอารักขาของตนที่มีพรมแดนติดต่อกับเขตยึดครองของ 
สหภาพโซเวียต 
- ช่วงเวลานั้น สหรัฐอเมริกาได้เข้าไปช่วยเหลือรัฐบาลกรีซและรัฐบาล 
ตุรกีต่อต้านอา นาจลัทธิคอมมิวนิสต์
ประธานาธิบดีทรูแมนได้ 
ประกาศหลักทรูแมน (Truman 
Doctrine) 
มีสาระสาคัญว่า “สหรัฐอเมริกา 
จะให้ความช่วยเหลือรัฐบาลใน 
ระบอบเสรีประชาธิปไตยและ 
ต่อต้านการขยายตัวของลัทธิ 
คอมมิวนิสต์”
ความจริงแล้วสหภาพโซเวียตต้องการที่จะเป็นผู้นาของ 
ยุโรปตะวันออก และยังต้องการเผยแพร่อุดมการณ์คอมมิวนิสต์ 
ไปทั่วโลกด้วย สหรัฐอเมริกาก็ได้ประกาศใช้แผนมาร์แชลล์ 
(Marshall Plan) เพื่อช่วยเหลือและฟื้นฟูประเทศต่างๆที่ประสบ 
ภัยจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ทา ให้ประเทศเหล่านั้นต้องอยู่ภายใต้ 
อิทธิพลของสหรัฐอเมริกาไปโดยปริยาย
ปัญหาความขัดแย้งในสงครามเย็น
ในช่วงที่เกิดสงครามเย็นระหว่าง ค.ศ. 1945-1991 ประเทศต่างๆ 
แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย 
- ฝ่ายเสรีประชาธิปไตยภายใต้การนาของสหรัฐอเมริกา 
- ฝ่ายสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ภายใต้การนาของสหภาพโซเวียต 
ซึ่งทั้งสองฝ่ายตั้งตนเป็นศัตรูแข่งขันกันทั้งในด้านการเมือง 
เศรษฐกิจ ทหาร และอุดมการณ์ สงครามในระยะนี้ไม่ใช่การต่อสู้ 
ระหว่างชาติมหาอา นาจ แต่เป็นสงครามตัวแทน(proxy war)
กรณีความขัดแย้งของชาติมหาอานาจ
1.กรณีความขัดแย้งในยุโรป 
1.1)กรณีปัญหาในยุโรปตะวันออก 
เมื่อตอนปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 สหภาพโซเวียตเข้ามา 
ปลดปล่อยประเทศต่างๆในยุโรปตะวันออกจากการยึดครองของกองทัพ 
เยอรมัน เมื่อสิ้นสุดสงครามกองทัพสหภาพโซเวียตยังคงประจา การและ 
สนับสนุนกลุ่มนิยมลัทธิคอมมิวนิสต์ ทาการยึดอานาจการปกครอง 
ประเทศ และเปลี่ยนแปลงกลายเป็นประเทศที่ปกครองในระบบสังคม 
นิยมคอมมิวนิสต์ ทา ให้บางประเทศเกิดข้อขัดแย้งระหว่างชาติตะวันตก 
กับสหภาพโซเวียต
1.2)กรณีปัญหาเรื่องเยอรมนี 
หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 วันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 
ประเทศเยอรมนีได้ถูกยึดครองแบ่งออกเป็น 4 ส่วนภายใต้การ 
ปกครองของสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส และสหภาพโซเวียต ส่วน 
กรุงเบอร์ลินก็ถูกแบ่งแยกด้วยเช่นกัน 
สหภาพโซเวียตพยายามเรียกร้องค่าปฏิกรรมสงครามจาก 
เยอรมนีเป็นจา นวนมาก แต่สหรัฐอเมริกาพยายามบ่ายเบี่ยงทา ให้ 
สหภาพโซเวียตไม่พอใจ
รูปแสดงพื้นที่ในเยอรมนีที่ 
ถูกครอบครองเมื่อ ค.ศ. 1945 
เยอรมนีตะวันตก ซึ่งอยู่ภายใต้ 
การปกครองของสหรัฐอเมริกา 
สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศส 
แ ล ะ เ ย อ ร ม นีต ะ วัน อ อ ก ที่ 
ปกครองโดยสหภาพโซเวียต
ความขัดแย้งในเยอรมนีมาถึงจุดสูงสุดในกลาง 
ค.ศ.1948 สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศสปฏิรูป 
เงินตราในเขตยึดครองของตนเพื่อฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจ 
ให้มั่นคง ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายให้สหภาพโซเวียต 
มาก สหภาพโซเวียตจึงปิดล้อมกรุงเบอร์ลิน บีบคั้น 
มหาอา นาจตะวันตกให้ละทิ้งเบอร์ลินตะวันตก 
ชาติตะวันตกได้เสนอปัญหานี้ต่อประชาชาติและ 
แก้ปัญหาด้วยการส่งเสบียงอาหารทางอากาศ 
ให้กับชาวเบอร์ลินตะวันตก ทา ให้การปิดล้อมไม่ 
ได้ผล สหภาพโซเวียตได้ยกเลิกการปิดล้อม แต่ 
ความขัดแย้งระหว่างสองฝ่ายก็ไม่ได้ยุติ
ปัญหาเยอรมนีนามาซึ่งการแบ่งแยก 
เยอรมนีในค.ศ.1949 
ชาติตะวันตกอันมีสหรัฐอเมริกา 
อังกฤษ ฝรั่งเศส ได้รวมเขตยึดครอง 
ข อ ง ต น จัด ตั้ง ป ร ะ เ ท ศ ส ห พัน ธ์ 
สาธารณรัฐเยอรมันหรือ เยอรมนี 
ตะวันตก 
ฝ่ายสหภาพโซเวียต จึงจัดตั้งเขต 
ยึด ค ร อ ง ข อ ง ต น เ ป็น ส า ธ า ร ณ รัฐ 
ประชาธิปไตยเยอรมันหรือเยอรมนี 
ตะวันออก
เยอรมนีตะวันตกได้พัฒนาเศรษฐกิจจนกลายเป็นประเทศที่ 
มั่งคั่ง ทา ให้ประชาชนเยอรมนีตะวันออกพยายามหลบหนีมา 
เยอรมนีตะวันตกเป็นจา นวนมาก รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกได้สร้าง 
กา แพงเบอร์ลินใน ค.ศ. 1961 เพื่อสกัดกั้นชาวเยอรมันตะวันออก 
หลบหนีมายังเยอรมนีตะวันตก
กาแพงเบอร์ลินจึงเป็นสัญลักษณ์ความขัดแย้งทางการเมือง 
ในช่วงสงครามเย็น ในช่วงค.ศ. 1989 รัฐบาลใหม่มีแนวนโยบายเป็น 
เสรีนิยมเปิดเส้นพรมแดนกับเยอรมนีตะวันตก ประชาชนและ 
รัฐบาลของเยอรมนีตะวันออกและตะวันตกจึงทาลายกาแพง 
เบอร์ลินลงเมื่อ ค.ศ. 1990 รวมประเทศเป็นผลสาเร็จเมื่อ ค.ศ. 1991
ความขัดแย้งทางการเมืองทาให้ประเทศยุโรปตะวันตกและ 
สหรัฐอเมริกาจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือหรือ 
องค์การนาโตขึ้นเพื่อต่อต้านสหภาพโซเวียตใน ค.ศ. 1949 
ต่อมาใน ค.ศ. 1955 สหภาพโซเวียตกับประเทศคอมมิวนิสต์ 
ยุโรปตะวันตกได้รวมกลุ่มจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาวอร์ซอขึ้น 
เผชิญหน้ากับองค์การนาโต ทั้งสองฝ่ายได้เผชิญหน้ากันตลอดมาใน 
ยุคสงครามเย็น
2)กรณีปัญหาในทวีปเอเชีย 
ปัญหาเรื่องการยึดครองญี่ปุ่น มี 2 กรณี 
กรณีแรก คือ ค่าปฏิกรรมสงครามซึ่งสหภาพโซเวียตพยายาม 
เรียกร้องค่าปฏิกรรมสงครามเป็นจา นวนมากจากญี่ปุ่น แต่สหรัฐอเมริกา 
พยายามบ่ายเบี่ยง 
กรณีที่ 2 คือ การทา สนธิสัญญาสันติภาพกับญี่ปุ่น ทั้งสองฝ่ายต่างมี 
ความคิดเห็นไม่ตรงกัน สหภาพโซเวียตยังโจมตีสหรัฐอเมริกาเรื่องการ 
ปกครองญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกาก็โจมตีสหภาพโซเวียตในกรณีที่ 
สหภาพโซเวียตกักตัวเชลยศึกชาวญี่ปุ่นไม่ให้กลับประเทศ
ภาวะสงครามเย็น
จุดเริ่มต้นของสงครามเย็นคือ 
กรณีความขัดแย้งระหว่างชาติมหาอา นาจ 
ในช่วง ค.ศ.1945-1948 หลังจาก ค.ศ. 
1948 โลกเข้าสู่ภาวะสงครามเย็นอย่าง 
แท้จริงทุกภูมิภาคถูกครอบงา โดยการ 
แข่งขันทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง 
การทหาร และเศรษฐกิจระหว่างสหภาพ 
โซเวียตกับสหรัฐอเมริกา ทั้งสอง 
สนับสนุนให้กลุ่มการเมืองภายในประเทศ 
จงรักภักดีต่อตนและสูกับรัฐบาลตนเอง 
จนถึงให้ประเทศบริวารสู้รบกันเองเพื่อ 
ขยายอิทธิพลของตน
ภูมิภาคยุโรป 
ยุโรปถูกแบ่งออกเป็น2ฝ่ายอย่างชัดเจนโดยยุโรปตะวันออก 
กลายเป็นประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์โดยการควบคุมของ 
สหภาพโซเวียต ยกเว้นประเทศยูโกสลาเวียที่เป็นคอมมิวนิสต์ที่ 
ต่อต้านสหภาพโซเวียต 
ต่อมายุโรปตะวันตกพยายามแทรกซึมเข้าไปในยุโรป 
ตะวันออกโดยการให้ข่าวสารเกี่ยวกับความเจริญรุ่งเรืองและสิทธิ 
เสรีภาพของประชาชน ก่อให้เกิดการต่อสู้เพื่อเสรีภาพในยุโรป 
ตะวันออกต่อมา
ภูมิภาคเอเชีย 
สงครามเกาหลี(ค.ศ.1950-1953) ญี่ปุ่นครอบครอง 
คาบสมุทรเกาหลีแต่ต่อมาญี่ปุ่นกลายเป็นผู้แพ้สงครามโลกครั้งที่2 
ทา ให้มหาอา นาจครอบครองคาบสมุทรเกาหลีไว้ โดยองค์การ 
สหประชาชาติกา หนดให้เส้นขนานที่38องศาเหนือเป็นแนวแบ่ง 
ดินแดน ส่วนเหนือเส้นเป็นเขตปลอดอาวุธทหารญี่ปุ่น อยู่ใน 
ความดูแลของสหภาพโซเวียต มีรัฐบาลปกครองด้วยแบบสังคม 
นิยมคอมมิวนิสต์และดินแดนส่วนล่างอยู่ในความดูแลของ 
สหรัฐอเมริกา ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย
ในปี ค.ศ.1948มีการจัดการเลือกตั้งที่ 
ไม่ได้รับการยินยอมจากสหภาพโซเวียตใน 
การรวมเกาหลีและพรรคการเมืองที่นิยม 
สหรัฐอเมริกาชนะจึงถือเป็นการปิดหนทาง 
รวมเกาหลีแบบถาวร
ในวันที่25 มิถุนายน ค.ศ.1950 กองทัพ 
เกาหลีเหนือที่ได้รับการสนับสนุนจากสหภาพ 
โซเวียตได้บุกผ่านเส้นขนานที่38มาในดินแดน 
ของเกาหลีใต้ทา ให้คณะมนตรีความมั่นคงแห่ง 
สหประชาชาติเรียกประชุมฉุกเฉินแต่สหภาพโซ 
เวียตไม่เข้าประชุมและจีนคัดค้าน 
ประธานาธิบดีทรูแมนแห่งสหรัฐอเมริกาจึง 
เคลื่อนพลของตนเข้าช่วยเกาหลีใต้และขอความ 
ช่วยเหลือจากชาติพันธมิตร
สหรัฐอเมริกาไล่เกาหลีเหนือออกไปและยึดดินแดนบริเวณ 
แม่น้า ยาลูของเกาหลีเหนือไว้แต่จีนให้ถอนกา ลัง นายพลดักลาส 
แมกอาร์เทอร์ไม่ปฏิบัติตาม จีนจึงส่งกา ลังมาแต่ไม่สามารถสู้ 
กองทัพสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรไหวจึงถอยกลับไป
แต่นายพลแมกอาร์เทอร์ 
ต้องการกา จัดจีนออกจากสงครามจึงปิด 
ล้อมชายฝั่งจีนและถล่มฐานทัพรัสเซีย 
ในแมนยจูเรีย แต่ประธานาธิบดีทรูแมน 
ไม่เห็นด้วย เพราะเกรงว่าสหภาพโซเวีย 
ตจะเข้าสู่สงครามจึงแต่งตั้งแมทธิว ริดจ์ 
เวย์มาเป็นแทน จนกระทั่งนายพลดไวต์ 
ดี. ไอเซนฮาวร์ ได้เป็นประธานาธิบดี 
คนต่อมาจึงได้ดา เนินนโยบาย 
ประนีประนอมมากขึ้น สหประชาชาติ 
ไกล่เกลี่ยคู่สงคราม จนในปี ค.ศ.1953 
สงครามจึงยุติลง 
พลเอกดักลาส แมกอาร์เธอร์ 
(Douglas MacArthur)
กรณีขัดแย้งเรื่องเกาะไต้หวัน (ค.ศ.1950-ปัจจุบัน) 
ใน ค.ศ.1949 เหมาเจ๋อตุง กองทัพคอมมิวนิสต์จีนได้จัดตั้ง 
สาธารณรัฐประชาชนจีน และจอมพลเจียง ไคเชกและพรรค 
ชาตินิยมกับปรพชาชนบางส่วนอพยพไปตั้งสาธารณรัฐจีนบนเกาะ 
ไต้หวัน
ค.ศ.1954 รัฐบาลจีน 
คอมมิวนิสต์มีนโยบายรวมเกาะ 
ไต้หวันกับจีน สหรัฐอเมริกาจึงส่ง 
กองทัพเรือที่7มาลาดตระเวนที่ช่อง 
แคบไต้หวัน จีนจึงระดมยิงเกาะ 
คีมอยและเกาะมัทสุนอกชายฝั่งจีน 
ส่งผลให้สหรัฐอเมริกาลงนาม 
สนธิสัญญาพันธะมิตรทางทหารกับ 
ไต้หวัน และออกกฎหมายคุ้มครอง 
เกาะคีมอยและเกาะมัทสุ จีนจึงยอม 
ยุติการโจมตี
สงครามเวียดนาม (ค.ศ.1965-1975) 
เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่2 ฝรั่งเศส 
พยายามที่จะยึดอา นาจการปกครองในเวียตนาม 
จึงเกิดขบวนการคอมมิวนิสต์เวียดมินห์ ภายใต้ 
การนาของ โฮ จิ มินห์ ต่อต้านฝรั่งเศส โดยการ 
สนับสนุนจากกลุ่มชาตินิยมทางเหนือของ 
ประเทศ ทา ให้เกิดสงครามตั้งแต่ ค.ศ.1946 
จนกระทั่ง ค.ศ. 1954 ฝรั่งเศสพ่ายแพ้ที่เดียน 
เบียนฟู โดยชาติมหาอา นาจอื่นๆรวมถึงชาติ 
ต่างๆในเอเชียและยุโรปจักให้มีการเจรจาสงบศึก 
ที่นครเจนีวา ฝรั่งเศสจึงต้องให้เอกราชแก่ 
เวียดนาม
เวียดนามแบ่งเป็น2ส่วนตามเส้น 
ขนานที่17องศาเหนือ โดยเวียดนามเหนืออยู่ 
ภายใต้การปกครองของโฮ จิ มินห์ และ 
เวียดนามใต้อยู่ภายใต้การปกครองของ 
จักรพรรดิ บ๋าว ได่ การแบ่งอาณาเขตครั้งนี้ 
เป็นการแบ่งชั่วคราว กา หนดให้รวมหลังการ 
เลือกตั้งปี ค.ศ.1956 แต่ก็ไม่ได้จัดการ 
เลือกตั้ง
ในเวียดนามใต้มีการเคลื่อนไหวของแนวร่วมปลดแอกแห่งชาติหรือ 
เวียงกง เมื่อ โง ดินห์ เสี่ยม ดา รงตา แหน่งนายกรัฐมนตรี ได้ปราบเวียดกง 
โดยอาศัยการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา ต่อมา โง ดินห์ เสี่ยม โดนโค่น 
การเมืองในเวียดนามใต้ไร้เสถียรภาพ มีรัฐบาลทหารผลัดเปลี่ยนมาปกครอง 
โดยได้สหรัฐอเมริกาสนับสนุนการสู้รบกับเวียดนามเหนือและเวียดกง
สงครามครั้งนี้ทา ให้สหรัฐอเมริกาต้องกลายเป็นผู้แพ้ 
สงคราม มีทหารเสียชีวิตถึง2ล้านกว่าคน ราษฎรเสียชีวิตกว่าล้านคน 
และยังเป็นสาเหตุให้เวียดนามใต้ต้องอพยพหนีออกนอกประเทศ 
เป็นจา นวนมาก
กลุ่มประเทศละตินอเมริกา 
วิกฤตการณ์คิวบา ถือเป็นการเผชิญหน้าระหว่างสหรัฐอเมริกากับ 
สหภาพโซเวียตที่รุนแรงที่สุดครั้งหนึ่ง เพราะเกือบนา ไปสู่สงคราม 
นิวเคลียร์ระหว่าง2ชาติมหาอา นาจ
คิวบาได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ 
รัฐบาลเผด็จการของนายพลฟูลเกนเซียว บาติสตา โดยการสนับสนุนจาก 
สหรัฐอเมริกา ต่อมาในปี ค.ศ.1959 ได้ถูกฟิเดล คัสโตรที่มีสหภาพโซ 
เวียตเป็นผู้สนับสนุนโค่นล้ม โดยได้ดา เนินนโยบายการปกครองแบบ 
สังคมนิยม 
สหรัฐอเมริกาพยายามจะโค่นล้มรัฐบาลฟิเดล คัสโตร โดยการส่งกองกา ลัง 
คิวบาที่ลี้ภัยในสหรัฐอเมริกาเข้าโจมตีโดยการยกพลขึ้นบกที่อ่าวพิกซ์ใน 
เดือนเมษายน ค.ศ. 1961 แต่ก็ถูกปราบปรามได้
ต่อมาในเดือนตุลาคม ค.ศ.1962 สหภาพโซเวียตได้สร้างฐาน 
ขีปนาวุธในคิวบาซึ่งถือเป็นการคุกคามสหรัฐอเมริกาอย่างยิ่ง 
ประธานาธิบดี จอห์น เอฟ เคนเนดี แห่งสหรัฐอเมริกา ได้ทา การปิดล้อม 
คิวบาและแจ้งเตือนสหภาพโซเวียตว่าพร้อมที่จะตอบโต้ด้วยอาวุธ 
นิวเคลียร์ นีกีตา ครุชชอฟ ผู้นา สหภาพโซเวียตยอมประนีประนอมโดย 
การถอนกา ลังขีปนาวุธออกจากคิวบาแลกกับการที่สหรัฐอเมริกาไม่บุก 
คิวบา วิกฤตการณ์คิวบาจึงสิ้นสุดลง แต่การแข่งขันสะสมอาวุธทางยุธ 
ศาสตร์ระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตยังดา เนินต่อไป
การผ่อนคลายความตึงเครียด
การเปลี่ยนแปลงของสภาวะ 
สงครามเย็นเกิดจากความเปลี่ยนแปลง 
ทางการเมืองของประเทศมหาอา นาจ 
เมื่อนีกีตา ครุชชอฟ ผู้นา ของสหภาพโซ 
เวียตประกาศนโยบายอยู่ร่วมกันโดย 
สันติใน ค.ศ.1956 โดยมีหลักการให้ทั้ง 
สองฝ่ายอยู่ร่วมกันโดยไม่แข่งขันด้าน 
สงครามแต่แข่งขันกันในด้านอื่นแทน 
นีกีตา ครุชชอฟ 
(Nikita Khrushchev)
นโยบายนี้ทา ให้สหภาพโซเวียตได้ขยายความสัมพันธ์กับประเทศ 
ต่างๆมากขึ้นโดยเฉพาะประเทศกา ลังพัฒนาและผ่อนความเข้มงวดกับกลุ่ม 
ประเทศยุโรปตะวันออกมากขึ้น ถือเป็นการขยายอิทธิพลแทนการขยาย 
อา นาจ 
ส่วนสหรัฐอเมริกาเปลี่ยนนโยบายทางการทหารมาเป็นการทูตแทน 
เพราะหวั่นเกรงต่อภัยสงครามนิวเคลียร์ นโยบายปิดล้อมประเทศ 
คอมมิวนิสต์ใช้ไม่ได้ผลและชาวอเมริกันรู้เกี่ยวกับประเทศสังคมนิยมมาก 
ขึ้น เช่นการให้การสนับสนุนทางการทหารและเศรษฐกิจต่อประเทศกา ลัง 
พัฒนา
แต่อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างชาติมหาอา นาจทั้งสอง 
เสื่อมลงเมื่อสหภาพโซเวียตขยายอิทธิพลไปในแองโกลา เอธิโอเปีย 
และแทรงแซงทางการเมืองในอัฟกานิสถานใน ค.ศ.1979 ซึ่งทา ให้ 
สหรัฐอเมริการทา การคว่า บาตรทางเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ๆ เทคโนโลยี 
ระดับสูง และไม่เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิคที่สหภาพโซเวียตเป็นเจ้าภาพ 
ในปี ค.ศ.1980 จึงทา ให้ความสัมพันธ์ของทั้งสองประเทศกลับมาตรึง 
เครียดอีกครั้ง
การสิ้นสุดสงครามเย็น
สภาวะสงครามเย็นเริ่มคลี่คลายลง เมื่อมี 
มิฮาอิล กอร์บาชอฟ เลขานุการพรรค 
คอมมิวนิสต์และผู้นาสหภาพโซเวียต ใน ค.ศ. 
1985 กอร์บาชอฟได้ประกาศนโยบายเปิด- 
ปรับ หรือกลาสนอสต์-เปเรสตรอยกา 
(Glasnost-Perestroika) ปฏิรูปการเมือง 
เศรษฐกิจ ให้เป็นเสรีนิยมประชาธิปไตยมาก 
ขึ้น สร้างความสัมพันธ์กับชาติต่างๆ ถอน 
กาลังทหารออกจากอัฟกานิสถาน เจรจากับ 
สหรัฐอเมริกาและจีนเพื่อแก้ไขปัญหา 
ชายแดนร่วมกัน
นโยบายกลาสนอสต์-เป 
เรสตรอยกาทาให้สภาวะสงคราม 
เย็นยุติเร็วขึ้น รัฐบาลสหภาพโซ 
เวียตประกาศว่าจะไม่เข้ายุ่งเกี่ยวกับ 
กิจการภายในของกลุ่มประเทศ 
คอมมิวนิสต์ในภูมิภาคยุโรป 
ตะวันออก
จุดเริ่มต้นของการสิ้นสุดสภาวะ 
สงครามเย็น เริ่มต้นจากประชาชนชาว 
เยอรมนีตะวันออกเรียกร้องเสรีภาพ 
ทางการเมือง กาแพงเบอร์ลินซึ่งเป็น 
สัญลักษณ์ของการแบ่งแยกฝ่ายเสรี 
ประชาธิปไตยกับฝ่ายคอมมิวนิสต์ได้ถูก 
ประชาชนทาลายลงใน ค.ศ. 1990 
เหตุการณ์ทาลายกาแพงเบอร์ลินนับว่า 
เป็นเหตุการณ์สาคัญอันมีความหมายว่า 
สภาวะสงครามเย็นใกล้ถึงกาลอวสาน 
แล้ว
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในยุโรปตะวันออกทาให้ประเทศใน 
ค่ายยุโรปตะวันออกต่างถอนตัวจากสมาชิกกลุ่มกติกาสนธิสัญญา 
วอร์ซอ และการถอนทหารออกจากภูมิภาคนี้ทาให้องค์การกลุ่มกติกา 
สนธิสัญญาวอร์ซอต้องล่มสลายลง 
สหภาพโซเวียตต้องเผชิญกลับปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและ 
การเมืองอย่างรุนแรง ต้องขอความช่วยเหลือจากชาติตะวันตก อีกทั้ง 
ยังประสบกับปัญหาการเมืองภายใน พวกอนุรักษนิยมได้ทาการ 
รัฐประหารโค่นล้มกอร์บาชอฟ แต่ประชาชนต่อต้าน จึงทาให้ล้มเหลว 
ลง
ผลจากการรัฐประหารคือ พรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียต 
ล่มสลายลง และสาธารณรัฐต่างๆในสหภาพโซเวียตร่วมกันจัดตั้ง 
เครือรัฐเอกราช ประเทศสหภาพโซเวียตจึงล่มสลายลง สงครามเย็นที่ 
ดาเนินมานานถึง 45ปี ยุติลงในที่สุด
นางสาวพิชญา ชนะกิจเสรี ม.6.1 เลขที่18 
นางสาวอภิรดี อิทธิกมลเลิศ ม.6.1 เลขที่ 38 
สมาชิก

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2280125399
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)noeiinoii
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2Waciraya Junjamsri
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21jinjuthabam
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียDe'Icejoong Ice
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1fsarawanee
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1nidthawann
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก OhmTaraya Srivilas
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

La actualidad más candente (20)

เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 

Similar a สงครามเย็น

68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwarTeeranan
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจknwframe1
 
สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1Jiratchaya Phisailert
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1tanut lanamwong
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นMarz Zuthamat
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นMarz Zuthamat
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iNew Nan
 

Similar a สงครามเย็น (20)

68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
Ww2 Work
Ww2 WorkWw2 Work
Ww2 Work
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
โจเซฟ สตาลิน 6.3
โจเซฟ สตาลิน 6.3โจเซฟ สตาลิน 6.3
โจเซฟ สตาลิน 6.3
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwar
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
องค์การโคมินฟอร์ม
องค์การโคมินฟอร์มองค์การโคมินฟอร์ม
องค์การโคมินฟอร์ม
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
 
สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
Truman
TrumanTruman
Truman
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 

สงครามเย็น