SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 37
พระราชวังบางปะอิน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา
ประวัติความเป็นมา
พระราชวังบางปะอินตั้งอยู่บนเกาะบางปะอิน ตาบลบางเลน หมู่ที่ ๑ อาเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่าง
จากศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพียง ๑๔ กิโลเมตร เกาะบางปะอินแต่เดิมเรียกว่า เกาะเลนหรือเกาะบางนาง
อิน เป็นที่ตั้งของพระราชวังบางปะอินในปัจจุบัน เกาะบางปะอิน เคยเป็นที่เสด็จ ประพาสของกษัตริย์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา
มีเกร็ดประวัติเล่าว่า วันหนึ่งสมเด็จพระเอกาทศรถเมื่อครั้งยังเป็นพระมหาอุปราชได้เสด็จประพาสลาน้า เป็นที่สาราญพระ
หฤทัย เมื่อใกล้เกาะบางปะอินบังเกิดพายุใหญ่เรือใบพระที่นั่งถูกพายุพัดล่มลง จึงทรงว่ายน้าขึ้นไปอาศัยชาวบ้านผิงไฟ ได้
ทอดพระเนตรเห็นสาวงามนางหนึ่งเป็นที่ต้องพระทัย และได้อยู่กับสาวงามผู้นี้ ต่อมานางตั้งครรภ์และมีพระโอรส
พระโอรสองค์นี้ต่อมาได้เป็นพระอินทราชา และได้ครองราชย์เป็นพระเจ้าทรงธรรม (พ.ศ. ๒๑๖๓ - ๒๑๗๑)
ต่อมาเจ้าพระยากลาโหม ซึ่งเป็นพระญาติของพระมารดาพระเจ้าทรงธรรมได้ขึ้นครองราชย์ ระหว่าง พ.ศ.
๒๑๗๓ - ๒๑๙๘ ปรากฏพระนามในพงศาวดารว่า สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เนื่องจากบางปะอินเป็นพระราช
เคหสถานเดิมของพระองค์ จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างตาหนักไอสวรรย์ทิพยอาสน์ไว้ริมสระ และสร้างวัดชุมพลนิกายาราม
ขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๑๗๔ เพราะเคยเป็นที่ประชุมไพร่พลมาก่อน
ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงปฎิสังขรณ์วัดนี้ตามแบบเดิมทุกอย่าง และโปรดเขียนภาพ
ชาดกไว้ที่ผนังพระอุโบสถด้วย ซึ่งยังปรากฏอยู่จนทุกวันนี้
เกาะบางปะอินเป็นที่เสด็จประพาสของพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยาหลังพระเจ้าปราสาท
ทอง ต่อมาทุกรัชกาลจนกระทั่งเสียกรุง และเมื่อย้ายนครหลวงมาอยู่กรุงเทพมหานครแล้ว
เกาะบางปะอินถูกทิ้งรกร้างมาเป็นเวลา ๘๐ ปีเศษ จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เริ่มมีเรือกลไฟเป็นพาหนะทางน้า พระองค์
โปรดเสด็จทางน้าอยู่เสมอ ครั้งหนึ่งเสด็จประพาสพระนครศรีอยุธยา ขากลับทรงล่องเรือ
ผ่านเกาะบางปะอิน ทอดพระเนตรเห็นดงมะม่วงร่มรื่นเป็นที่พอพระราชหฤทัยยิ่งนัก จึงโปรด
เกล้าฯ ให้สร้างพระตาหนักขึ้นในบริเวณวังเก่าสมัยกรุงศรีอยุธยา พระราชทานนามว่า พระที่
นั่งไอสวรรย์ทิพยอาสน์ ตามนามพระตาหนักเดิมของพระเจ้าปราสาททอง
ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง
พระราชวังขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๕ ต่อมาโปรดให้สร้างพระที่นั่งเวหาศจารูญ ปรับปรุงพระที่นั่งวโร
ภาสพิมานใหม่ สร้างศาลเหมมณเฑียรเทวราชและอาคารอื่นๆ และมีการเฉลิมพระที่นั่งและสมโภช
พระเศวตฉัตร ๓ วัน หลังจากนั้นได้เสด็จประพาสที่พระราชวังบางปะอินเป็นประจาทั้งทางเรือและ
ทางรถไฟ ในขณะประทับแรม ณ พระราชวังนั้นโปรดเกล้าฯ ให้ราษฎรมีส่วนร่วมในการรับเสด็จ
พระราชาธิบดีจากต่างเมืองและงานฉลองอื่นๆ เป็นที่สนุกสนาน
นอกจากนั้นพระราชวังบางปะอินยังเป็นที่ประกอบพระราชพิธีสาคัญๆ ในสมัยนั้นด้วย เช่น พระราช
พิธีศรีสัจจปานกาลถือน้า พระพิพัฒน์สัตยา การฉลองช้างสาคัญๆ การลอยพระประทีบ พระ
ราชพิธีรัชฎาภิเษก
พระราชวังบางปะอินได้เป็นสถานที่รับเสด็จเจ้าชายจากต่างเมือง พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงนาแกรนด์ดุ๊กซาร์วิตส์ แห่งรัสเชีย และเจ้าชายยอร์จแห่งกรีซไปยังพระ
ที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร ซึ่งจัดไว้เป็นที่ประทับแรม
ศาลพระเจ้าปราสาททอง(เหมมณเฑียรเทวราช )
เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้จาลองแบบจาก
ปรางค์ขอม และสร้างแทนศาลเดิม ซึ่งชาวบางปะอินสร้างไว้
สาเหตุของการสร้างศาลเนื่องมาจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงทราบข่าว
การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ ณ ลาน้าเจ้าพระยา ระหว่างทางเสด็จไป
พระราชวังบางปะอิน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๓ ทรงพระราชวิตกว่า สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ า
มหาวชิรุณหทิศ อาจจะทรงเป็นอันตรายด้วย จึงทรงบนว่าถ้าหากสมเด็จพระบรมโอรสธิราช ทรง
รอดพ้นจากอันตราย จะทรงสร้างศาลถวายพระเจ้าปราสาททอง สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชได้
เสด็จมาด้วยความปลอดภัย จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างศาลดังกล่าวขึ้นเป็นการใช้บน
มุมมองจากบริเวณ ศาลพระเจ้าปราสาททอง
รัชกาลที่ ๖ โปรดเสด็จไปประทับแรมที่พระราชวังบางปะอินเป็นเวลาหลายปี รัชกาลที่ ๗ เสด็จไป
เพียงครั้งเดียวเมื่อคราวเสด็จไปบวงสรวง พระมหากษัตริย์ในอดีต ณ พระนครศรีอยุธยา
หลังจากนั้นพระราชวังก็ถูกทอดทิ้งมานาน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ ได้เคยเสด็จไปยังพระราชวังบางปะอิน และได้เสด็จเยี่ยม
ราษฎรในจังหวัดใกล้เคียง ในบางครั้งใช้เป็นที่พระราชทานเลี้ยงรับรองเจ้านายจากต่างประเทศ เช่น
เจ้าหญิงมาเกรตเต้แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงบีทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ พระเจ้าโบดวงแห่งเบลเยียม
เป็นต้น
นาชมพระราชวังบางปะอิน
เมื่อเข้าไปในบริเวณพระราชวังบางปะอินภายในบริเวณร่มรื่นด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด
บรรยากาศสดชื่นแจ่มใสเพราะแวดล้อมด้วยสระน้า มีตุ๊กตาปั้นแบบกรีกยืนอยู่บนราวสะพานห่างกัน
เป็นระยะดูสวยงาม สนามหญ้าเขียวขจี มีต้นไม้ตัดเป็นรูปสัตว์นานาชนิด พระที่นั่งต่างๆ ตาหนักและ
สถานที่ต่างๆ ในพระราชวังบางปะอินมีรูปลักษณ์อันงามไม่ซ้าแบบกัน
กระโจมแตร
พระที่นั่งวโรภาสพิมาน
พระที่นั่งนี้เป็นอาคารแบบยุโรป ตั้งอยู่
ริมแม่น้า รัชการที่ ๕ ทรงใช้รับแขก ใช้
เป็นท้องพระโรงออกขุนนาง และสาหรับมี
งานพระราชพิธี พระที่นั่งองค์นี้มีห้อง
สาคัญ ๔ ห้อง ห้องแรกเป็นห้องรับแขก
มีมโหระทึกสองข้างประตู มีภาพเขียนสีน้า
ประดับที่ผนังเป็นเรื่องโคลงพระราช
พงศาวดาร เช่น ภาพพระสุริโยทัยขาด
คอช้าง ซึ่งสมเด็จเจ้าฟ้ ากรมพระยานริศ
รานุวัดติวงศ์ทรงเขียน และมีอาวุธ
โบราณติดเป็นแผงประดับที่ผนัง
เช่นเดียวกัน
พระที่นั่งไอสวรรย์ทิพยอาสน์
พระที่นั่งองค์นี้เป็นสัญลักษณ์ของพระราชวังบาง
ปะอิน เป็นปราสาทสร้างอยู่ตรงกลางสระใน
รูปแบบของสถาปัตยกรรมไทย ตรงกลางพระที่
นั่งประดิษฐานพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเครื่องยศจอมพล
ทหารบกหล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ ขนาดเท่า
พระองค์ประทับยืนเด่นเป็นสง่า
พิพิภัณฑ์รถพระที่นั่ง
พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร
วิทูรทัศนา
เป็นหอสูงสร้างอยู่บนเกาะน้อยในระหว่างพระที่
นั่งอุทยานภูมิเสถียรกับพระที่นั่งเวหาศจารูญ
สร้างเป็น ๓ ชั้น มีบันไดเวียนขึ้นไปได้ถึงยอด
รัชกาลที่ ๕ ทรงใช้เป็นที่เสด็จขึ้นไปทอดพระเนตร
ทัศนียภาพอันสวยงามรอบเกาะบางปะอิน
มุมมองจาก หอวิทูรทัศนา
พระที่นั่งเวหาศจารูญ
พระที่นั่งองค์นี้เป็นผลงานชิ้นเอกทางศิลปกรรมจีน สร้างตามแบบพระที่นั่งของ
พระมหากษัตริย์จีน จึงมักเรียกกันว่า “พระที่นั่งเก๋งจีน” พระที่นั่งนี้เป็นของถวาย
ของข้าราชการท่าซ้าย ตือ พ่อค้าใหญ่ๆ ชาวจีน ซึ่งมีพระยาโชฎึกราชเศรษฐี เจ้า
กรมท่าช้ายเป็นหัวหน้า ทาหน้าที่เป็นนายงานในการก่อสร้าง
รายละเอียดภานใน
สภาคารราชประยูร
 เป็นตาหนักสร้างเป็นตึกสองชั้น ตั้งอยู่ริมน้าตรงหน้าพระที่นั่งวโรภาสพิมาน รัชกาลที่ ๕
โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นที่ประทับของเจ้านายฝ่ ายหน้าซึ่งตามเสด็จมาประทับแรมที่
พระราชวังบางปะอิน ในปัจจุบันยังคงใช้เป็นที่ประทับของเจ้านายและแขกผู้มีเกียรติ
อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์และอนุสาวรีย์ราชานุสรณ์
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระปิยมาวดีศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) ซึ่งต่อมาใน
รัชกาลที่ ๕ ได้ทรงสถาปนาเป็นสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวีอัครมเหสี และได้ประสูติพระธิดา
พระองค์แรกคือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ เมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๔๒๑
วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๔๒๓ สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พร้อมพระมเหสีอีก ๓ พระองค์ได้ตามเสด็จ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแปรพระราชฐานเพื่อไปประทับแรม ณ พระราชวังบางปะอิน แต่เกิด
เหตุการณ์อันไม่มีใครได้คาดคิดเกิดขึ้น เรือพระที่นั่งของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์เกิดอุบัติเหตุล่มลงในลา
น้าเจ้าพระยา ขณะนั้นสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ทรงพระครรภ์ ๕ เดือนเต็ม ประทับอยู่ในเก๋งเรือพระที่นั่ง
เสด็จออกไม่ทันจึงสิ้นพระชนม์พร้อมสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้ ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้า ให้สร้างอนุสาวรีย์เพื่อเป็นที่ระลึกถึงสมเด็จพระนางเจ้าสุนัน
ทากุมารีรัตน์ พระอัครมเหสี ณ บริเวณพระราชวังบางปะอิน องค์อนุสาวรีย์สร้างด้วยหินอ่อน ฐานเป็นแท่นสี่เหลี่ยม
มียอดแหลมสูง ภายในบรรจุพระสริรางคารของสมเด็จพระนางเจ้าพระองค์นั้น รอบฐานมีโซ่เหล็กล้อมรอบ มีคา
จารึกของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นภาษาไทยด้านหนึ่ง ภาษาอังกฤษอีกด้านหนึ่ง ที่บริเวณใกล้
อนุสาวรีย์นี้ มีอนุสาวรีย์อีกองค์หนึ่ง สร้างเป็นอนุสรณ์แด่พระอัครชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคนารีรัตน์ สมเด็จ
พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าพาหุรัดมณีมัย สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ าตรีเพ็ชรุตม์ธารงและเจ้าฟ้ าศิริราชกกุธภัณฑ์
แต่ละพระองค์มพระรูปจาหลักไว้พระองค์ละด้านของอนุสาวรีย์
ศาลสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์
พระตาหนักต่างๆ
จบการน้าเสนอ

Más contenido relacionado

Destacado

BandFive Product Development Portfolio
BandFive Product Development PortfolioBandFive Product Development Portfolio
BandFive Product Development PortfolioGary Noe
 
RI Pension Analysis
RI Pension AnalysisRI Pension Analysis
RI Pension AnalysisAlex Link
 
Культурне життя Русі-України
Культурне життя Русі-УкраїниКультурне життя Русі-України
Культурне життя Русі-УкраїниNatalia Yushkova
 
Київська держава за часів Володимира Великого та Ярослава Мудрого
Київська держава за часів Володимира Великого та Ярослава МудрогоКиївська держава за часів Володимира Великого та Ярослава Мудрого
Київська держава за часів Володимира Великого та Ярослава МудрогоNatalia Yushkova
 
Рух опору в Україні
Рух опору в УкраїніРух опору в Україні
Рух опору в УкраїніNatalia Yushkova
 
Мистецтво Стародавнього Єгипу
Мистецтво Стародавнього ЄгипуМистецтво Стародавнього Єгипу
Мистецтво Стародавнього ЄгипуNatalia Yushkova
 
Галицько-Волинська держава
Галицько-Волинська державаГалицько-Волинська держава
Галицько-Волинська державаNatalia Yushkova
 
From Wordy to Web-ready
From Wordy to Web-readyFrom Wordy to Web-ready
From Wordy to Web-readyAnn Fandrey
 
Узагальнення з теми «Княжа Русь-Україна»
Узагальнення з теми «Княжа Русь-Україна»Узагальнення з теми «Княжа Русь-Україна»
Узагальнення з теми «Княжа Русь-Україна»Natalia Yushkova
 
Unit 22 tv drama 2.0
Unit 22 tv drama 2.0Unit 22 tv drama 2.0
Unit 22 tv drama 2.0MulkacE147
 
Ultimo Trabajo lll Periodo
Ultimo Trabajo lll PeriodoUltimo Trabajo lll Periodo
Ultimo Trabajo lll Periodojordankroos1008
 
The Story Arc for the King in the North Storyline
The Story Arc for the King in the North StorylineThe Story Arc for the King in the North Storyline
The Story Arc for the King in the North StorylineMulkacE147
 
Початок першої Світової війни
Початок першої Світової війниПочаток першої Світової війни
Початок першої Світової війниNatalia Yushkova
 
презентація досвіду роботи
презентація досвіду роботипрезентація досвіду роботи
презентація досвіду роботиNatalia Yushkova
 

Destacado (17)

BandFive Product Development Portfolio
BandFive Product Development PortfolioBandFive Product Development Portfolio
BandFive Product Development Portfolio
 
RESUME NEW
RESUME  NEWRESUME  NEW
RESUME NEW
 
RI Pension Analysis
RI Pension AnalysisRI Pension Analysis
RI Pension Analysis
 
Культурне життя Русі-України
Культурне життя Русі-УкраїниКультурне життя Русі-України
Культурне життя Русі-України
 
Київська держава за часів Володимира Великого та Ярослава Мудрого
Київська держава за часів Володимира Великого та Ярослава МудрогоКиївська держава за часів Володимира Великого та Ярослава Мудрого
Київська держава за часів Володимира Великого та Ярослава Мудрого
 
Рух опору в Україні
Рух опору в УкраїніРух опору в Україні
Рух опору в Україні
 
Мистецтво Стародавнього Єгипу
Мистецтво Стародавнього ЄгипуМистецтво Стародавнього Єгипу
Мистецтво Стародавнього Єгипу
 
Галицько-Волинська держава
Галицько-Волинська державаГалицько-Волинська держава
Галицько-Волинська держава
 
From Wordy to Web-ready
From Wordy to Web-readyFrom Wordy to Web-ready
From Wordy to Web-ready
 
Узагальнення з теми «Княжа Русь-Україна»
Узагальнення з теми «Княжа Русь-Україна»Узагальнення з теми «Княжа Русь-Україна»
Узагальнення з теми «Княжа Русь-Україна»
 
Rasha CV
Rasha CVRasha CV
Rasha CV
 
Unit 22 tv drama 2.0
Unit 22 tv drama 2.0Unit 22 tv drama 2.0
Unit 22 tv drama 2.0
 
Ultimo Trabajo lll Periodo
Ultimo Trabajo lll PeriodoUltimo Trabajo lll Periodo
Ultimo Trabajo lll Periodo
 
The Story Arc for the King in the North Storyline
The Story Arc for the King in the North StorylineThe Story Arc for the King in the North Storyline
The Story Arc for the King in the North Storyline
 
Початок першої Світової війни
Початок першої Світової війниПочаток першої Світової війни
Початок першої Світової війни
 
Давній Єгипет
Давній ЄгипетДавній Єгипет
Давній Єгипет
 
презентація досвіду роботи
презентація досвіду роботипрезентація досвіду роботи
презентація досвіду роботи
 

นางสาว ฐิติ สุวรรณสุทธิ