SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 41
Descargar para leer sin conexión
22/06/57
1
ประชากรคืออะไร?
22/06/57
2
ประชากร (population) หมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่เป็นชนิด
เดียวกัน อาศัยอยู่ในบริเวณ เดียวกัน ในช่วงเวลาหนึ่ง
ตัวอย่าง
ประชากรปลาตะเพียนที่เลี้ยงในกระชังของนายสวัสดิ์ ใน
เดือนพฤษภาคม 2553 จานวน 1,750 ตัว
ข้อมูลในข้อใดที่ให้ความหมายของประชากรได้ถูกต้องที่สุด
1. ในปี 2527 มีนักเรียนชายในจังหวัด ก. 25, 000 คน
2. มะพร้าวในสวนของนาย ข. มีอยู่ 250 ต้น
3. เมื่ออาทิตย์ที่แล้วมีรถจอดอยู่ในถนนหน้าโรงเรียน ค. 200 คัน
4. ในเดือนมกราคมปีที่แล้วในบ้านของสาว ง. มีแมลงสาบและหนูอย่างละ 20
ตัว
22/06/57
3
ตอบ 1 ในปี 2527 มีนักเรียนชายในจังหวัด ก. 25, 000 คน
ความหนาแน่นของประชากรคืออะไร?
22/06/57
4
ความหนาแน่นของประชากร (population density) หมายถึงจานวน
สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันต่อหน่วยพื้นที่หรือปริมาตร
ประเมินหาความหนาแน่นได้ 2 วิธีคือ
การหาค่าความหนาแน่นอย่างหยาบ (crude density) เป็นการหาจานวน
ประชากรต่อพื้นที่ทั้งหมด (total space) ที่ศึกษา
การหาค่าความหนาแน่นเชิงนิเวศ (ecological density) เป็นการหาจานวน
หรือมวลของประชากรต่อหน่วย พื้นที่ที่ประชากรนั้นอาศัยอยู่จริง
(habitat space)
ความหนาแน่นของประชากรคือข้อใด
1. ข้าวเปลือกที่เก็บเกี่ยวใน จ.พระนครศรีอยุธยา ในปีพ.ศ.2543 มีจานวน
ทั้งสิ้น 567,892 ต้น
2. ผึ้งและมดที่อาศัยอยู่บนต้นมะม่วงหน้าโรงเรียนเมื่อวานนี้นับได้ 5,673 ตัว
3. นกพิราบที่อาศัยอยู่บริเวรสนามหลวงในเดือนเมษายนปีนี้ มีจานวนทั้งสิ้น
15,678 ตัว
4. จากการสารวจสามะโนประชากรในประเทศไทยพบว่ามีจานวนทั้งสิ้น 60
ล้านคน
22/06/57
5
ตอบ 3 นกพิราบที่อาศัยอยู่บริเวรสนามหลวงในเดือนเมษายนปีนี้
มีจานวนทั้งสิ้น15,678 ตัว
สูตรที่ใช้ในการคานวณหาความหนาแน่นของประชากรคือ
ความหนาแน่นของประชากร = N/A
N = จานวนของประชากร
A = พื้นที่หรือปริมาตร
ความหนาแน่นของประชากร (populationdensity)
22/06/57
6
ภาพแสดงชนิดและจานวนสัตว์ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างในแปลงผัก
จงคานวณหาความหนาแน่นของด้วงเต่าทองต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร
1. 33
2. 100
3. 55
4. 90
22/06/57
7
จงหาความหนาแน่นของประชากรที่แท้จริง ( true density)
และนับจานวนสิ่งมีชีวิตทั้งหมด (total count) ภายในเวลา 2 นาที
พี่ๆคานวณกันได้ไหมครับ
มีปัญหาอะไร ให้ ผมช่วยไหมครับ :)
ปัญหา (Problem)
- เยอะเกิน...
- ตัวเล็กไปนะ...
- หยุดบิน หยุดว่ายน้า
ก่อนได้ไหมครับผมจะ
นับครับ....
@_@ เข้าใจตรงกันนะ!
22/06/57
8
วิธีการประเมินค่าความหนาแน่นของประชากร
สุ่มตัวอย่างแบบวางแปลง (quadrat sampling method) เป็นวิธีการวาง
แปลงสุ่มตัวอย่างสิ่งมีชีวิตบางส่วนในบริเวณที่ต้องการศึกษา แล้วนามาคิด
คานวณเทียบกับพื้นที่ทั้งหมดเพื่อหาความหนาแน่นซึ่งเหมาะสาหรับ
สิ่งมีชีวิตที่ค่อนข้างอยู่กับที่ เช่น พืช เพรียงทะเล
www.youtube.com/watch?v=71XGDT5WswY
วิธีการประเมินค่าความหนาแน่นของประชากร
ทาเครื่องหมายและจับซ้า (mark and recapture method) เป็นวิธีการทา
เครื่องหมายสัตว์ที่จับแล้วปล่อย เมื่อจับใหม่จะได้ทั้งตัวที่มีเครื่องหมาย
และตัวที่ไม่มีเครื่องหมาย
ข้อควรคานึงคือในขณะที่ใช้วิธีนี้สัตว์ต้องไม่มีการอพยพเข้า อพยพออก
หรือมีการเกิด การตาย จึงจะได้จานวนที่ใกล้เคียงความจริงสามารถคานวณ
ได้จากสูตร
22/06/57
9
วิธีการประเมินค่าความหนาแน่นของประชากร
ทาเครื่องหมายและจับซ้า (mark and recapture method)
เมื่อ P = ประชากรที่ต้องการทราบ
T2 = จานวนสัตว์ทั้งหมดที่จับได้ครั้งหลังทั้งที่มี
เครื่องหมายและไม่มีเครื่องหมาย
M1 = จานวนสัตว์ที่จับได้ครั้งแรกและทาเครื่องหมาย
ทั้งหมดแล้วปล่อย
M2 = จานวนสัตว์ที่มีเครื่องหมายที่จับได้ครั้งหลัง
www.youtube.com/watch?v=z2mVubzeIfc
P = T2M1
M2
นักปักษีวิทยาศึกษาจานวนประชากรนกบนเกาะช้างโดยจับนกมาติด
เครื่องหมาย 50 ตัวแล้วปล่อยไป หนึ่งเดือนต่อมา จับนกอีกครั้งได้จานวน
100 ตัว พบว่าในจานวนนี้มีนกที่ติดเครื่องหมายอยู่แล้ว 2 ตัว ดังนั้น
ประชากรนกบนเกาะนี้มีจานวนประมาณเท่าใด (O-net 51)
1. 250 ตัว
2. 1,250 ตัว
3. 2,500 ตัว
4. 10,000 ตัว
22/06/57
10
ตอบ 3
เหตุผล สูตรในการคานวณหาประชากรจากการทาเครื่องหมายและจับซ้า
กาหนดให้
• P = ประชากรที่ต้องการทราบ
• M1 = จานวนสัตว์ที่จับได้ครั้งแรกและทาเครื่องหมายทั้งหมดแล้วปล่อย
• M 2= จานวนสัตว์ที่ทาเครื่องหมายที่จับได้ครั้งหลัง
• T2 = จานวนสัตว์ทั้งหมดที่จับได้ครั้งหลังทั้งที่มีเครื่องหมายและไม่มี
เครื่องหมาย
แทนค่า จานวนประชากรของนก = (100 ตัว)(50 ตัว)/ (2ตัว)
= 2,500 ตัว
ดังนั้นนกในบริเวณนี้มีประมาณ 2,500 ตัว
ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการแพร่กระจายของประชากร ?
22/06/57
11
ปัจจัยทางกายภาพที่มีผล
ต่อการแพร่กระจาย
ประชากร
ความสูงจาก
ระดับน้าทะเล
อุณหภูมิ
ความเป็น
กรด-เบส
แสง
ปัจจัยทางกายภาพ
ความสูงจากระดับน้าทะเล มีผลต่อการแพร่กระจายของพืชบางชนิด เช่น ที่
ความสูงจากระดับน้าทะเลตั้งแต่ 1,000-1,700 เมตร จะพบว่ามีสนสามใบ
ขึ้นอยู่ค่อนข้างมาก และที่ระดับความสูงจากระดับน้าทะเลต่ากว่า 1,000
เมตร จะพบสนสามใบขึ้นอยู่กระจัดกระจายทั่วไป
อุณหภูมิ ในพื้นที่แถบทะเลทรายซึ่งมีอุณหภูมิค่อนข้างสูงนั้น มักจะพบว่ามี
พืชบางชนิดเท่านั้นที่สามารถขึ้นอยู่ได้ เช่น พืชจาพวกกระบองเพชร
เนื่องจากสามารถทนต่ออุณหภูมิที่สูงถึง 60 องศาเซลเซียสได้ดี
22/06/57
12
ปัจจัยทางกายภาพ
ความเป็นกรด-เบส พืชบางชนิด เช่น ข้าวพบว่าสามารถเจริญเติบโตและ
ให้ผลผลผลิตดีที่สุดในสภาพดินเหนียว และในดินที่มีน้าท่วมขังซึ่งมีค่า
ความเป็นกรด-เบส อยู่ในช่วง 6.5-7.0
แสง มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชบางชนิด เช่น เดือย ซึ่งเป็น พืชวันสั้น
(short-day plant) ต้องการแสงแดดจัดในช่วงสั้นๆ และอุณหภูมิสูงในการ
เจริญเติบโต
ในสภาพธรรมชาติโดยทั่วไปพบว่ามีสิ่งมีชีวิตหลากหลายอยู่ร่วมกัน
สิ่งมีชีวิตบางชนิดพบว่าปัจจัยทางชีวภาพที่เป็นปัจจัยจากัดต่อสิ่งมีชีวิต
ชนิดอื่นได้ เช่น
กรณีของเสือหรือสิงโต ซึ่งเป็นผู้ล่ากับกวางซึ่งเป็นเหยื่อ กรณีดังกล่าว
นี้พบว่าเสือหรือสิงโตเป็นปัจจัยจากัดต่อการมีชีวิตอยู่รอดของกวาง หรือ
กรณีของการแข่งขันเพื่อการอยู่รอดในสังคมของสัตว์ชนิดเดียวกัน
พบว่าสัตว์ที่แข็งแรงกว่าจะมีโอกาสเจริญเติบโตและอยู่รอดกว่าสัตว์ที่
อ่อนแอกว่า นอกจากนี้ยังมีปัจจัยทางชีวภาพอื่นๆ ที่พบ ได้แก่
สิ่งมีชีวิตต่างถิ่น
22/06/57
13
สิ่งมีชีวิตต่างถิ่น
ผักตบชวา ที่แพร่กระจายลงสู่แหล่งน้าและเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจนทาให้
ผักตบไทยซึ่งเป็นพืชดั้งเดิมในแหล่งน้านั้นลดจานวนลงหรือสูญพันธ์ไป
ปลาดูด (suckermouth catfish) หรือที่รู้จักในนามของ ปลาเทศบาล ลงไปใน
แหล่งธรรมชาติ พบว่ามีผลทาให้สัตว์น้าเศรษฐกิจที่เป็นอาหารของมนุษย์บาง
ชนิด ที่วางไข่บนหน้าดินและตัวอ่อนเจริญเติบโตบนหน้าดินลดจานวนลง
หรือสูญพันธุ์ไป เนื่องจากปลาดูดจะทาลายแหล่งทารังและแหล่งวางไข่ของ
สัตว์ และกินไข่ของสัตว์น้าเป็นอาหาร
สิ่งมีชีวิตต่างถิ่น
22/06/57
14
หอยเชอรี่ในแหล่งน้าหรือนาข้าวมีต่อการทาลายพืชผล โดยเฉพาะกล้าข้าว
เนื่องจากจากหอยเชอรี่สามารถผสมพันธุ์และวางไข่ได้ตลอดปี โดยจะวางไข่
เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 350-3,000 ฟอง และไข่จะฟักเป็นตัวภายใน 7- 12 วัน การแพร่
ระบาดของหอยเชอรี่มีผลทางอ้อม ทาให้ปริมาณหอยโข่งในธรรมชาติลด
ปริมาณลงได้
สิ่งมีชีวิตต่างถิ่น
ในต่างประเทศ เช่น ในทวีปแอฟริกาพบว่าในพื้นที่หลายแห่งมี
แมลงเซทซิ (tsetse fly) อาศัยอยู่เป็นจานวนมากซึ่งแมลงชนิดนี้เป็นพาหะ
ของ โรคเหงาหลับ (African sleeping sickness) จึงทาให้แทบจะไม่มีผู้คน
หรือสัตว์เลี้ยงอาศัยอยู่เลย
22/06/57
15
- เกิดจากเชื้อโพรโทซัวชนิดหนึ่งจาพวกแฟลเจลเลต ชื่อ Trypanosoma brucei
rhodesiense และ Trypanosoma brucei gambiense
- แมลงเซทซิเป็นพาหะของโรคนี้
- คนถูกแมลงเซทซิที่มีเชื้อโรคเหงาหลับกัด โพรโทซัวจะแพร่เข้าสู่ร่างกาย
โดยผ่านทางน้าลายของแมลงเข้าสู่ทางผิวหนังของคนและแพร่เข้าสู่ระบบ
น้าเหลือง ระบบหมุนเวียนเลือด
- เมื่อเชื้อจากโพรโทซัวแพร่เข้าสู่สมอง สารพิษที่สร้างจากเชื้อชนิดนี้จะ
ส่งผลทาให้ผู้ป่วยมีอาการง่วง ซึม หลับตลอดเวลา และกินอาหารไม่ได้ เกิด
อาการอ่อนเพลียและทาให้ตายได้
โรคเหงาหลับ
รูปแบบการแพร่กระจายของ
ประชากร
การแพร่กระจายแบบสุ่ม
การแพร่กระจายแบบรวมกลุ่ม
การแพร่กระจายแบบ
สม่าเสมอ
การแพร่กระจายของประชากร
22/06/57
16
- พบมากในประชากรที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติโดยเฉพาะประชากรที่อาศัยอยู่ใน
สภาพแวดล้อมที่เหมือนกัน
-ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงจึงไม่มีการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างสมาชิก
-ไม่มีการรวมกลุ่มของสมาชิก
- การแพร่กระจายของพืชที่มีเมล็ดปลิวไปกับลม หรือสัตว์ที่กินผลไม้และ
ขับถ่ายอุจจาระทิ้งไว้ตามที่ต่างๆ และในอุจจาระนั้นมีเมล็ดพืชปะปนอยู่จึงงอก
กระจายทั่วๆ ไป
22/06/57
17
Copyright © 2002 Pearson Education, Inc., publishing as Benjamin Cummings
Fig. 52.2c
Random Dispersion
- พบในธรรมชาติมากที่สุด
- อยู่รวมกันด้วยเหตุผลเช่น สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันของดิน อุณหภูมิ
ความชื้น ทาให้เกิดแหล่งที่อยู่อาศัยรูปแบบต่างๆ สิ่งมีชีวิตจึงอยู่รวมกันเป็น
กลุ่ม
- ไส้เดือนดินจะพบในดินที่ร่วนซุยและมีความชื้นสูง มีอินทรียวัตถุมาก
,ชะนี เป็นสัตว์ที่อยู่เป็นกลุ่มครอบครัว ,ฝูงวัวควาย ฝูงปลา โขลงช้าง
มีพฤติกรรมที่อยู่เป็นกลุ่ม เช่น ฝูงนก
22/06/57
18
Copyright © 2002 Pearson Education, Inc., publishing as Benjamin Cummings
Clumped Dispersion
22/06/57
19
- พบในบริเวณที่มีปัจจัยทางกายภาพบางประการที่จากัดในการเจริญเติบโต
เช่น ความชื้น อุณหภูมิ และลักษณะของดิน เป็นต้น
- กระบองเพชรยักษ์ (saguaro) ที่ขึ้นในทะเลทรายของรัฐอริโซนา ประเทศ
สหรัฐอเมริกา ,การปลิวของผลยางไปตกห่างจากต้นแม่เพื่อเว้นระยะห่าง
ของพื้นที่ในการเจริญเติบโต เพื่อหลีกเลี่ยงการแก่งแย่งความชื้นและแสง
หรือการที่ต้นไม้บางชนิดทีรากที่ผลิตสารพิษ ซึ่งสามารถป้ องกันการงอก
ของต้นกล้าให้เป็นบริเวณห่างรอบๆ ลาต้น
-บางครั้งการแพร่กระจายแบบนี้อาจเกิดจากพฤติกรรมทางสังคมที่
กาหนดให้มีอาณาเขตรอบๆ เพื่อหากิน สืบพันธุ์และสร้างรัง
22/06/57
20
Uniform Dispersion
แบบสุ่ม
แบบสม่าเสมอ
แบบกลุ่ม
22/06/57
21
ขนาดของประชากร(population size)
ประชากรสิ่งมีชีวิตมีขนาดคงที่หรือไม่ และขนาดของ
ประชากรสิ่งมีชีวิตขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง ?
 ขึ้นกับ
อัตราการเกิด(natality)
อัตราการตาย(mortality)
การอพยพเข้า (immigration)
การอพยพออก (emigration)
ขนาดของประชากร(population size)
คิดเป็นเชิงประเมิน คือเทียบกับ 1,000
22/06/57
22
ขนาดของประชากร(population size)
Parameters that effect size or density of a population:
Figure 1. The size of a population is determined by a balance between
births, immigration, deaths and emigration
Birth Death
Emigration
Immigration
Population (N)
22/06/57
23
เมื่อนาแมลงหวี่ 3 คู่มาเลี้ยงในขวดบรรจุอาหารเทียมจาการนับจานวนแมลง
หวี่เป็นระยะๆ ตลอดเวลา 55 วัน ได้ขนาดประชากรแมลงหวี่ดังกราฟอัตรา
การเกิดและอัตราการตายของแมลงหวี่น่าจะเท่ากันในช่วงวันที่เท่าไร
1. 1-7 2. 25-31 3. 43-49 4. 49-55
ตอบ 4. 49-55 เพราะกราฟเริ่มคงที่
22/06/57
24
สัตว์แต่ละชนิดมีการเพิ่มจานวนประชากรอย่างไร ?
รูปแบบการสืบพันธุ์เพื่อเพิ่มประชากร
การสืบพันธุ์เพียงครั้งเดียวในช่วงชีวิต (single reproduction)
- เมื่อถึงวัยเจริญพันธุ์ก็จะออกลูกจากนั้นก็ตาย
- เช่น แมลงต่างๆ เช่น แมลงชีปะขาว ผีเสื้อและตัวไหม เป็นต้น หรือ
ไม้ล้มลุกบางชนิด เช่น คะน้า กวางตุ้ง ข้าว และถั่วเขียว
การสืบพันธุ์ได้หลายครั้งในช่วงชีวิต (multiple reproduction)
- สัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น สุนัข แมว มนุษย์
- ไม้พุ่ม เช่น ชบา แก้ว เข็ม และไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง ขนุน ส้ม ลาไย
22/06/57
25
รูปแบบการสืบพันธุ์เพื่อเพิ่มประชากร
Single reproduction Vs Multiple reproduction
Single reproduction
ปลา,กบ
Multiple reproduction
หมีแพนด้า
 มี 2 ชนิด
การเพิ่มจานวนประชากรแบบเอ็กโพเนนเชียล
Exponential growth
การเพิ่มของประชากรแบบลอจิสติก
Logisticgrowth
22/06/57
26
• กราฟรูป J แบ่งเป็น 2 ระยะคือ
• lag phase (เพิ่มอย่างช้าๆ)
• exponential growth phase (เพิ่มอย่างรวดเร็ว)
ภาวะเหตุการณ์ทางอุดมคติ
idealized circumstances
ตัวต้านทานในสิ่งแวดล้อม
environmental resistance
Example of Exponential Growth
Kruger National Park, South Africa
22/06/57
27
Figure 35.3A
แนวคิดของ ทอมัส มัลทัส (Thomas Malthus)
เมื่อระยะหนึ่งการเพิ่มขึ้นของประชากรจะลดลงอย่างรวดเร็ว
และเพิ่มขึ้นลดลงสลับกัน (irruptive growth)
?
22/06/57
28
การเพิ่มจานวนประชากรที่ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม หรือมีตัวต้านทานใน
สิ่งแวดล้อมเข้ามาเกี่ยวข้อง ตัวอย่างของการเพิ่มประชากรแบบนี้ดังภาพที่
22-10 ซึ่งเป็นการศึกษาการเพิ่มจานวนของเซลล์ยีสต์ที่เพาะเลี้ยงใน
ห้องปฏิบัติการ
รูปตัวเอส (S- shape) หรือ
กราฟแบบซิกมอยด์
(singmoidal curve)
22/06/57
29
Carrying capacity (K) ประชากรมากที่สุดที่สามารถอยู่ในสิ่งแวดล้อมซึ่ง
มีบทบาทจากัดได้
22/06/57
30
• Declining birth rate or increasing death rate are
caused by several factors including:
– Limited food supply
– The buildup of toxic wastes
– Increased disease
– Predation
Factors Limiting Growth Rate
“Booms” and “Busts”
22/06/57
31
ทาไมสิ่งมีชีวิตบางชนิดจึงออกลูกหรือวางไข่คราวละมากๆ
และบางชนิดก็ออกลูกหรือวางไข่คราวละ 1 หรือ 2 ตัว ?
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีแบบแผนการรอดชีวิตของประชากรซึ่งขึ้นอยู่กับ
ช่วงอายุขัย (life span) ของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
เช่น แมลงมีช่วงอายุขัยสั้น แต่ในสัตว์ขนาดใหญ่ เช่น ช้างและคนมีช่วง
อายุขัยยาวนานเฉลี่ย 70-120 ปี
22/06/57
32
รูปแบบที่ 1 สิ่งมีชีวิตมีอัตราการรอดชีวิตสูงในวัยแรกเกิดและจะ
คงที่เมื่อโตขึ้น หลังจากนั้นอัตราการรอดชีวิตจะต่าเมื่อสูงวัยขึ้น
สิ่งมีชีวิตดังกล่าว เช่น มนุษย์ช้าง ม้า สุนัข เป็นต้น
22/06/57
33
รูปแบบที่ 2 สิ่งมีชีวิตมีอัตราการรอดชีวิตที่เท่ากันในทุกวัย เช่น
ไฮดรา นก เต่า เป็นต้น
รูปแบบที่ 3 สิ่งมีชีวิตมีอัตราการรอดชีวิตต่าในระยะแรกของช่วง
ชีวิต หลังจากนั้นเมื่ออายุมากขึ้นอัตราการรอดชีวิตจะสูง เช่น ปลา
หอย และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังส่วนใหญ่ เป็นต้น
22/06/57
34
นักเรียนคิดว่าแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของประชากร
มนุษย์ของโลกเป็นอย่างไร?
22/06/57
35
อัตราการเกิดเชิงประเมินและอัตราการตายเชิงประเมินของประชากรมนุษย์ในทวีปต่างๆ
อัตราการเกิดเชิงประเมิน หมายถึง จานวนสิ่งมีชีวิตที่เกิดต่อ
จานวนสิ่งมีชีวิต 1,000 หน่วยในประชากรนั้นในรอบปี เขียน
แทนสูตรได้เป็น
22/06/57
36
อัตราการตายเชิงประเมิน หมายถึง จานวนสิ่งมีชีวิตที่ตายต่อ
จานวนสิ่งมีชีวิต 1,000 หน่วยในประชากรนั้นในรอบปี เขียนแทน
สูตรได้เป็น
22/06/57
37
การเพิ่มจานวนประชากรมีผลต่อปริมาณความต้องการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไร และมีผลกระทบต่อสังคมและ
สิ่งแวดล้อมใดบ้าง นักเรียนจะมีวิธีการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างไร ?
ช่วงอายุประชากรมนุษย์ออกเป็น 3 กลุ่มคือ
-วัยก่อนเจริญพันธุ์(per -reproductive) ช่วงอายุตั้งแต่แรกเกิด- 14 ปี
-วัยเจริญพันธุ์ (reproductive) ช่วงอายุตั้งแต่ 15-44 ปี
-วัยหลังเจริญพันธุ์ (post- reproductive) ช่วงอายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป
22/06/57
38
แผนภาพโครงสร้างอายุของประชากร (age structure diagram)
• ขนาดประชากรเพิ่มขึ้นรวดเร็ว มีเด็กมาก อัตราการเกิดสูงกว่าอัตรา
การตาย การคุมกาเนิดและระบบสาธารณสุขมีประสิทธิภาพไม่ดี ประชากร
อายุขัยสั้น
22/06/57
39
• ขนาดประชากรเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ อัตราการตายและอายุขัยดีขึ้น
(ไทย)
• ขนาดประชากรคงที่ คนแก่มากขึ้น
22/06/57
40
• อัตราการเกิดและอัตราการตายต่า ขนาดประชากรลดลง อายุขัยมาก
22/06/57
41
แผนภาพโครงสร้างอายุของประชากร (age structure diagram)
โครงสร้างอายุประชากรสามารถสะท้อนภาพของประชากรจากอดีต
ถึงปัจจุบันได้ และยังสามารถใช้คาดคะเนขนาดของประชากรใน
อนาคตได้อีกด้วย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1dnavaroj
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 

Destacado

ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร PopulationPat Sn
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้Wann Rattiya
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 

Destacado (7)

บทที่ 22 ประชากร
บทที่ 22 ประชากรบทที่ 22 ประชากร
บทที่ 22 ประชากร
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร Population
 
ประชากร
ประชากรประชากร
ประชากร
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 

ประชากร1