SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 76
น.ส.แพรไหม ลังก้า เลขที่ 8
น.ส.ศศิประพันธ์ สุขกาเนิด เลขที่ 23
ชั้นม. 6/1
เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์
คือ เชื้อเพลิงที่เปลี่ยนสภาพมาจาก
สิ่งมีชีวิตในยุคต่างๆ โดยกระบวนการทาง
ธรณีวิทยาและกระบวนการทางเคมี มี 4
ชนิด ได้แก่ น้ามัน แก๊สธรรมชาติ ถ่านหิน
และหินน้ามัน
ภาวะมลพิษที่เกิดจากการผลิตและใช้
ผลิตภัณฑ์จากเชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์
-เป็นหินตะกอนที่เกิดมาจากซากพืช
-มีลักษณะแข็งแต่เปราะ
-มีสีน้าตาลไปจนถึงสีดา
-มีทั้งชนิดผิวมันและผิวด้าน
-มีองค์ประกอบหลักเป็นธาตุคาร์บอน และธาตุอื่นๆ
เช่น ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจนและกามะถัน
การเกิดถ่านหิน
พืชในยุคโบราณเมื่อตายลงแล้วเกิดการทับถมและเน่าเปื่อยผุพังอยู่ใต้
แหล่งน้าและโคลตม เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก เช่น
แผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟระเบิด ซากพืชเหล่านี้จะจมลงไปในผิวโลก
ภายใต้ความร้อนและความดันสูง ซากพืชเหล่านี้ซึ่งอยู่ในภาวะที่ขาด
ออกซิเจนหรือมีออกซิเจนขากัดจะเกิดการย่อยสลายอย่างช้า ๆ
โครงสร้างของพืชซึ่งประกอบด้วยเซลลูโลส น้าและลิกนิน ซึ่งมีธาตุ
องค์ประกอบเป็นคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เมื่อถูกย่อยสลาย
ให้มีขนาดโมเลกุลเล็กลง คาร์บอนจะเปลี่ยนแปลงเป็นสารประกอบ
อินทรีย์ที่มีปริมาณคาร์บอนตั้งแต่ร้อยละ 50 โดยมวล หรือมากกว่าร้อย
ละ 70 โดยปริมาตร ส่วนไฮโดรเจนและออกซิเจนจะเกิดเป็น
สารประกอบอื่นแยกออกไป
ประเภทของถ่านหิน
พีต (Peat)
เป็นถ่านหินในขั้นเริ่มต้นของกระบวนการเกิดถ่านหิน
ซากพืชบางส่วนยังสลายตัวไม่หมด และมีลักษณะให้เห็นเป็น
ลาต้น กิ่งหรือใบ มีสีน้าตาลจนถึงสีดา มีความชื้นสูง
สารประกอบที่เกิดขึ้นมีปริมาณออกซิเจนสูงแต่มีปริมาณ
คาร์บอนต่า เมื่อนาพีตมาเป็นเชื้อเพลิงต้องผ่านกระบวนการ
ไล่ความชื้นหรือทาให้แห้งก่อน ความร้อนที่ได้จากการเผาพีต
สูงกว่าที่ได้จากไม้ ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อให้ความร้อนในบ้าน
หรือผลิตไฟฟ้ า ข้อดีของพีตคือมีร้อยละของกามะถันต่ากว่า
น้ามันและถ่านหินอื่น ๆ
ลิกไนต์ (Lignite)
หรือถ่านหินสีน้าตาลเป็นถ่านหินที่มีซากพืชเหลืออยู่
เล็กน้อย ลักษณะเนื้อเหนียวและผิวด้าน มีปริมาณออกซิเจน
และความชื้นต่า มีปริมาณคาร์บอนสูงกว่าพีต เมื่อติดไฟมีควัน
และเถ้าถ่านมาก ลิกไนต์ใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับให้ความร้อน
และใช้เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ า
ซับบิทูมินัส (Sub–bituminous)
เป็นถ่านหินที่เกิดนานกว่าลิกไนต์ มีสีน้าตาลจนถึงดา
ลักษณะมีทั้งผิวด้านและผิวมัน มีทั้งเนื้ออ่อนร่วนและแข็ง มี
ปริมาณออกซิเจนและความชื้นต่า แต่มีปริมาณคาร์บอนสูง
กว่าลิกไนต์ ใช้เป็นแหล่งพลังงานสาหรับผลิตกระแสไฟฟ้ าและ
อุตสาหกรรม
บิทูมินัส (Bituminous)
เป็นถ่านหินที่เกิดนานกว่าซับบิทูมินัส มีเนื้อแน่นและแข็ง
มีทั้งสีน้าตาลจนถึงสีดา มีปริมาณออกซิเจนและความชื้นต่า
แต่มีปริมาณคาร์บอนสูงกว่าซับบิทูมินัส ใช้เป็นเชื้อเพลิงใน
การถลุงโลหะ และนามาเป็นวัตถุดิบเพื่อเปลี่ยนเป็นเชื้อเพลิง
เคมีอื่น ๆ ได้
แอนทราไซต์ (Anthracite)
เป็นถ่านหินที่มีอายุการเกิดนานที่สุด มีสีดา ลักษณะเนื้อ
แน่น แข็ง และเป็นมัน มีปริมาณออกซิเจนและความชื้นต่า แต่
มีปริมาณคาร์บอนสูงกว่าถ่านหินชนิดอื่น จุดไฟติดยาก เมื่อ
ติดไฟจะให้เปลวไฟสีน้าเงินจาง ๆ มีควันน้อย ให้ความร้อนสูง
และไม่มีสารอินทรีย์ระเหยออกมาจากการเผาไหม้
ปริมาณร้อยละของธาตุองค์ประกอบและความชื้นของถ่าน
หินชนิดต่าง ๆ เทียบกับไม้
ชนิดของสาร
ปริมาณขององค์ประกอบ (ร้อยละโดยมวล)
C H O N S ความชื้น
ไม้ 50 6 43 1 - ขึ้นกับชนิดไม้
พีต 50-60 5-6 35-40 2 1 75-80
ลิกไนต์ 60-75 5-6 20-30 1 1 50-70
ซับบิทูนัส 75-80 5-6 15-20 1 1 25-30
บิทูมินัส 80-90 4-6 10-15 1 5 5-10
แอนทราไซต์ 90-98 2-3 2-3 1 1 2-5
การใช้ประโยชน์จากถ่านหิน
น้ามัน
7.9%
พลังงานน้า
17.1%
พลังงาน
นิวเคลียร์
16.9%แก๊สธรรมชาติ
17.4%
ถ่านหิน
39.1%
อื่นๆ
1.6%
แหล่งที่ผลิตมากที่สุดในประเทศไทยคือ แม่เมาะ จังหวัดลาปาง
การใช้ประโยชน์จากถ่านหิน(ต่อ)
ถ่านหิน ถูกนามาใช้เป็นแหล่งพลังงานมากกว่า 3,000 ปี ประเทศจีนเป็น
ประเทศแรก ๆ ที่นาถ่านหินมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการถลุงทองแดง ปัจจุบัน
การใช้ประโยชน์จากถ่านหินส่วนใหญ่ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิต
กระแสไฟฟ้ า การถลุงโลหะ การผลิตปูนซีเมนต์ และอุตสาหกรรมที่ใช้
เครื่องจักรไอน้า การผลิตกระแสไฟฟ้ าทั่วโลกใช้พลังงานจากถ่านหิน
ประมาณร้อยละ 39 เป็นต้น
กลับไปที่เมนูหลัก
หินน้ามัน (Oil Shale)
-หินตะกอนเนื้อละเอียดขนาดตั้งแต่หินทรายแป้ ง
ลงมา
-ส่วนใหญ่เป็นหินดินดาน
-มีสีน้าตาลอ่อนจนถึงน้าตาลแก่
-มีอินทรียสารที่เรียกว่าเคอโรเจน (kerogen)
-เป็นสารน้ามันปนอยู่ในเนื้อหิน
การเกิดหินน้ามัน
หินน้ามันเกิดจากการสะสมและทับถมตัวของซากพืชพวก
สาหร่าย และสัตว์พวกแมลง ปลา และสัตว์เล็ก ๆ อื่น ๆ ภายใต้แหล่ง
น้าที่ภาวะเหมาะสมซึ่งมีปริมาณออกซิเจนจากัด มีอุณหภูมิสูง และ
ถูกกดทับจากการทรุดตัวของเปลือกโลกเป็นเวลานับล้านปี ทาให้
สารอินทรีย์ในซากพืชและสัตว์เหล่านั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็น
สารประกอบเคอโรเจน ผสมคลุกเคล้ากับตะกอนดินทรายที่ถูกอัด
แน่นกลายเป็นหินน้ามัน หินน้ามันแต่ละแหล่งในโลกมีช่วงอายุ
ตั้งแต่ 3 - 600 ล้านปี
ส่วนประกอบของหินน้ามัน มี 2 ประเภท ดังนี้
1) สารประกอบอนินทรีย์
ได้แก่แร่ธาตุต่าง ๆ ที่ผุพังมาจากชั้นหินโดย
กระบวนการทางกายภาพและทางเคมี ประกอบด้วย
แร่ธาตุที่สาคัญ 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
-กลุ่มแร่ซิลิเกต ได้แก่ ควอทซ์ เฟลสปาร์ เคลย์
-กลุ่มแร่คาร์บอเนต ได้แก่ แคลไซต์ โดโลไมต์
นอกจากนี้ ยังมีแร่ซัลไฟด์อื่น ๆ และฟอสเฟต ปริมาณ
แร่ธาตุในหินน้ามันแต่ละแห่งจะแตกต่างกันตาม
สภาพการกาเนิด การสะสมตัวของหินน้ามัน และ
สภาพแวดล้อม
2) สารประกอบอินทรีย์
ประกอบด้วยบิทูเมน และเคอโรเจน บิทูเมนละลายได้ใน
เบนซีน เฮกเซน และตัวทาละลายอินทรีย์อื่น ๆ จึงแยก
ออกจากหินน้ามันได้ง่าย เคอโรเจนไม่ละลายในตัวทา
ละลาย หินน้ามันที่มีสารอินทรีย์ละลายอยู่ในปริมาณสูง
จัดเป็นหินน้ามันคุณภาพดีเมื่อนามาสกัดควรให้น้ามัน
อย่างน้อยร้อยละ 50 ของปริมาณสารอินทรีย์ที่มีอยู่ แต่
อาจได้น้ามันเพียงร้อยละ 30 หรือน้อยกว่า แต่ถ้ามีสารอนิ
นทรีย์ปนอยู่มาก จะเป็นหินน้ามันคุณภาพต่า
การใช้ประโยชน์จากหินน้ามัน
1) หินน้ามันใช้เป็นแหล่งพลังงานได้เมื่อนามาผ่านกระบวนการสกัด สามารถสกัดเป็นน้ามัน
หินได้ ผลิตภัณฑ์ที่ได้ประกอบด้วยน้ามันก๊าด น้ามันตะเกียง พาราฟิน น้ามันเชื้อเพลิง
น้ามันหล่อลื่น ไข แนฟทา และผลิตภัณฑ์ที่ได้อื่น ๆ เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต
2) ประเทศเอสโตเนีย นาหินน้ามันมาใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2463 ปัจจุบันเป็นประเทศที่ใช้หิน
น้ามันมากที่สุด ส่วนใหญ่ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้ า
3) สารประกอบที่เกิดขึ้นจากกระบวนการสกัดหินน้ามัน คือ ยูเรเนียม วาเนเดียม สังกะสี
โซเดียมคาร์บอเนต แอมโมเนียมซัลเฟต และกามะถัน สามารถนาไปใช้ผลิตผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
หลายชนิด เช่น ใยคาร์บอน คาร์บอนดูดซับ คาร์บอนแบล็ก และปุ๋ ย
กลับไปที่เมนูหลัก
ปิโตรเลียม (Petroleum)
-มาจากรากศัพท์ภาษาละติน 2 คา คือ เพทรา
(Petra) แปลว่าหิน และโอลิอุม (Oleum)
แปลว่าน้ามัน รวมกันแล้วมีความหมายว่า น้ามันที่ได้
จากหิน
-ปิโตรเลียมเป็นสารผสมของสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนและสารอินทรีย์หลายชนิดที่เกิดตาม
ธรรมชาติทั้งในสถานะของเหลวและแก๊ส ได้แก่
น้ามันดิบ (Crude oil) และแก๊สธรรมชาติ
(Natural gas)
น้ามันดิบ
อาจมีสมบัติทางกายภาพแตกต่างกัน เช่น มีลักษณะ
ข้นเหนียว จนถึงหนืดคล้ายยางมะตอย มีสีเหลือง เขียว
น้าตาลจนถึงดา มีความหนาแน่น 0.79 - 0.97 g/cm3
น้ามันดิบมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนประเภทแอลเคน และไซโคลแอลเคน
อาจมีสารประกอบของ N , S และสารประกอบ
ออกไซด์อื่น ๆ ปนอยู่เล็กน้อย
แก๊สธรรมชาติ (Natural gas)
มีองค์ประกอบหลักคือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนในโมเลกุล
1-5 อะตอม ประมาณร้อยละ 95 ที่เหลือเป็นแก๊สไนโตรเจน และ
คาร์บอนไดออกไซด์ อาจมีแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ปนอยู่ด้วย แก๊ส
ธรรมชาติอาจมีสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า แก๊สธรรมชาติเหลว
(Condensate) ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนเช่นเดียวกับแก๊ส
ธรรมชาติ แต่มีจานวนอะตอมคาร์บอนมากกว่า เมื่ออยู่ในแหล่งกักเก็บใต้
ผิวโลกที่ลึกมากและมีอุณหภูมิสูงมากจะมีสถานะเป็นแก๊ส แต่เมื่อนาขึ้น
บนถึงระดับผิวดินซึ่งมีอุณหภูมิต่ากว่า ไฮโดร คาร์บอนจะกลายสภาพเป็น
ของเหลว
ปริมาณธาตุองค์ประกอบของน้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ
ชนิดของ
ปิโตรเลียม
ปริมาณเป็นร้อยละโดยมวล
C H S N
น้ามันดิบ 82-87 12 - 15 0.1 - 1.5 0.1 - 1
แก๊สธรรมชาติ 65 - 80 1 - 25 0.2 1 -15
การเกิดปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัว
ของอินทรีย์ สารจากพืชและสัตว์ที่
คลุกเคล้าอยู่กับตะกอนในชั้นกรวดทราย
และโคลนตมใต้พื้นดิน เมื่อเวลาผ่านไปนับ
ล้านปีตะกอนเหล่านี้จะจมตัวลงเรื่อย ๆ
เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก ถูก
อัดแน่นด้วยความดันและความร้อนสูง และ
มีปริมาณออกซิเจนจากัด จึงสลายตัว
เปลี่ยนสภาพเป็นแก๊สธรรมชาติและ
น้ามันดิบแทรกอยู่ระหว่างชั้นหินที่มีรูพรุน
ปิโตรเลียมที่เกิดอยู่ในชั้นหิน จะ
มีการเคลื่อนตัวออกไปตามรอยแตก
และรูพรุนของหินไปสูระดับความ
ลึกน้อยกว่าแล้วสะสมตัวอยู่ใน
โครงสร้างหินที่มีรูพรุน มีโพรง
หรือรอยแตกในเนื้อหินที่สามารถให้
ปิโตรเลียมสะสมคัวอยู่ได้ ด้านบน
เป็นหินตะกอนหรือหินดินดานเนื้อ
แน่นละเอียดปิดกั้นไม่ให้ปิโตรเลียม
ไหลลอดออกไปได้ โครงสร้างปิด
กั้นดังกล่าวเรียกว่า แหล่งกักเก็บ
ปิโตรเลียม
การสารวจปิโตรเลียม
การสารวจปิโตรเลียมทาได้หลายวิธี และมีขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้
1. การสารวจทางธรณีวิทยา (Geology) โดยทาแผนที่ภาพถ่าย
ทางอากาศ
2. สารวจทางธรณีวิทยาพื้นผิว โดยการเก็บตัวอย่างหิน ศึกษา
ลักษณะของหิน วิเคราะห์ซากพืชซากสัตว์ที่อยู่ในหิน ผล
การศึกษาช่วยให้คาดคะคะเนได้ว่ามีโอกาสพบโครงสร้างและ
ชนิดของหินที่เอื้ออานวยต่อการกักเก็บปิโตรเลียมในบริเวณนั้น
มากหรือน้อยเพียงใด
3. การสารวจทางธรณีฟิสิกส์ (Geophysics)
การวัดความเข้มสนามแม่เหล็กโลก จะบอกให้ทราบถึง
ขอบเขต ความหนา ความกว้างใหญ่ของแอ่ง และความลึกของ
ชั้นหิน
การวัดค่าความโน้มถ่วงของโลกทาให้ทราบถึงชนิดของชั้น
หินใต้ผิวโลกในระดับต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยในการกาหนดขอบเขต
และรูปร่างของแอ่งใต้ผิวดิน
การวัดค่าความไหวสะเทือน (Seismic wave) จะช่วยบอกให้
ทราบตาแหน่ง รูปร่างลักษณะ และโครงสร้างของหินใต้ดิน
4. การเจาะสารวจ จะบอกให้ทราบถึงความยาก
ง่ายของการขุดเจาะเพื่อนาปิโตรเลียมมาใช้ และ
บอกให้ทราบว่าสิ่งที่กักเก็บอยู่เป็นแก๊ส
ธรรมชาติหรือน้ามันดิบ และมีปริมาณมากน้อย
เพียงใด ข้อมูลในการเจสะสารวจจะนามาใช้ใน
การตัดสินถึงความเป็นไปได้ในเชิงเศรษฐกิจ
เมื่อเจาะสารวจพบปิโตรเลียมในรูปแก๊ส
ธรรมชาติหรือน้ามันดิบแล้ว ถ้าหลุมใดมีความ
ดันภายในสูง ปิโตรเลียมจะถูกดันให้ไหลขึ้นมา
เอง แต่ถ้าหลุมใดมีความดันภายในต่า จะต้อง
เพิ่มแรงดันจากภายนอกโดยการอัดแก๊สบาง
ชนิดลงไป เช่น แก๊สธรรมชาติ แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์
การกลั่นน้ามันดิบ
1.ก่อนการกลั่นต้องแยกน้าและสารประกอบต่าง ๆ ออกจากน้ามันดิบก่อน จนเหลือแต่
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเป็นส่วนใหญ่
2. ส่งผ่านสารประกอบไฮโดรคาร์บอนผ่านท่อเข้าไปในเตาเผาที่มีอุณหภูมิ 320 – 385O C
น้ามันดิบที่ผ่านเตาเผาจะมีอุณหภูมิสูง จนบางส่วนเปลี่ยนสถานะเป็นไอปนไปกับของเหลว
3. ส่งสารประกอบไฮโดรคาร์บอนทั้งที่เป็นของเหลวและไอผ่านเข้าไปในหอกลั่น ซึ่งหอ
กลั่นเป็นหอสูงที่ภายในประกอบด้วยชั้นเรียงกันหลายสิบชั้น แต่ละชั้นจะมีอุณหภูมิ
แตกต่างกัน ชั้นบนมีอุณหภูมิต่า ชั้นล่างมีอุณหภูมิสูง ดังนั้นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่
มีมวลโมเลกุลต่าและจุดเดือดต่าจะระเหยขึ้นไปและควบแน่นเป็นของเหลวบริเวณชั้นที่อยู่
ส่วนบนของหอกลั่น ส่วนสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลสูงและจุดเดือดสูง
กว่าจะควบแน่นเป็นของเหลวอยู่ในชั้นต่าลงมาตามช่วงอุณหภูมิของจุดเดือด
การทาให้สารประกอบไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่แตกออกเป็นโมเลกุลเล็ก โดยใช้ความ
ร้อนสูงประมาณ 500 องศาเซลเซียส และมีตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสม วิธีนี้เรียกว่า
กระบวนการแตกสลาย ดังตัวอย่าง
การเปลี่ยนสารประกอบไฮโดรเจนคาร์บอนแบบโซ่ตรงเป็นไอโซเมอร์แบบโซ่กิ่ง หรือ
การเปลี่ยนสารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวงให้เป็นสารอะโรมาติก โดยใช้ความร้อน
สูงและตัวเร่งปฏิกิริยา วิธีนี้เรียกว่า กระบวนการรีฟอร์มมิง ดังตัวอย่าง
การรวมสารประกอบของแอลเคนกับแอลคีนที่มีมวลโมเลกุลต่าโดยมีกรดเป็นตัวเร่ง
ปฏิกิริยา เกิดเป็นโมเลกุลของสารประกอบแอลเคนที่มีโครงสร้างแบบโซ่กิ่ง เรียกวิธีนี้
ว่า กระบวนการแอลคิเลชัน ดังตัวอย่าง
การรวมสารประกอบแอลคีนโมเลกุลเล็กเข้าด้วยกันโดยใช้ความร้อนหรือตัวเร่ง
ปฏิกิริยา เกิดเป็นสารประกอบไฮโดรเจนคาร์บอนที่มีจานวนคาร์บอนเพิ่มขึ้นและมี
พันธะคู่เหลืออยู่ในผลิตภัณฑ์ เรียกวิธีนี้ว่ากระบวนการโอลิโกเมอไรเซซันดังตัวอย่าง
เลขออกเทน (Octane number)
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ไม่เหมาะสมเป็นเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์ประเภทนี้
คือแฮปเทนชนิดโซ่ตรง เพราะทาให้เครื่องยนต์เกิดการชิงจุดระเบิดง่าย จึงมีการ
กาหนดคุณภาพน้ามันเบนซินด้วย เลขออกเทนโดย กาหนดให้น้ามันเลขออกเทนเป็น
100 ส่วนน้ามันเบนซินที่มีสมบัติในการเผาไหม้เช่นเดียวกับเฮปเทนโซ่ตรงมีเลขออก
เทนเป็น 0 ดังนั้นน้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 95 จึงมีสมบัติในการเผาไหม้
เช่นเดียวกับเชื้อเพลิงที่ได้จากการผสมไอโซออกเทน ร้อยละ 95 กับเฮปเทนร้อยละ 5
โดยมวล
เลขซีเทน (Cetane number)
การกาหนดคุณภาพของน้ามันดีเซล (Diesel) ที่ใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลใช้เลขซีเทน โดย
กาหนดให้ซีเทน (C16H34) มีเลขซีเทน 100 และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน (C11H10) มี
เลขซีเทน 0 ซึ่งการแปลความหมายของเลขซีเทนเป็นดังนี้
· น้ามันดีเซลที่มีสมบัติในการเผาไหม้เหมือนกับซีเทน มีเลขซีเทน 100
· น้ามันดีเซลที่มีสมบัติในการเผาไหม้เหมือนกับแอลฟาเมทิลแนฟทาลีนมีเลขซีเทน 0
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม
ดีเซล (Diesel)
เป็นผลิตภัณฑ์น้ามันที่ได้จากการกลั่นลาดับส่วนน้ามันดิบ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
ดีเซลหมุนเร็ว หรือโซล่า เหมาะสาหรับเครื่องยนต์รอบสูงกว่า 1000 รอบ/นาที
และดีเซลหมุนช้า หรือขี้โล้ เหมาะสาหรับเครื่องยนต์ที่ใช้ขับเคลื่อนเรือเดินทะเล
และการผลิตกระแสไฟฟ้ า
ดีโซฮอล์ (Diesohol)
เป็นน้ามันเชื้อเพลิงที่ได้จากการผสมน้ามันดีเซลกับเอทานอลชนิดที่มีความ
บริสุทธิ์ 99.5% ขึ้นไป แต่ถ้าใช้เอทานอลชนิดที่มีความบริสุทธิ์ 95% จะต้องผสม
สารเคมีประเภทอิมัลซิฟายเออร์ลงไปด้วย เพื่อทาให้เอทานอลกับน้ามันดีเซล
ผสมเข้ากันโดยไม่แยกชั้น
ในความหมายสากลเป็นเอสเทอร์ที่ผลิตจากน้ามันพืชหรือน้ามันสัตว์ดโดยผ่าน
กระบวนการทางเคมีที่เรียกว่า transesterification คือการนาน้ามันพืชหรือน้ามัน
สัตว์ไปทาปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์โดยมีกรดหรือเบสเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จะได้เอส
เทอร์กับกลีเซอรอลเป็นผลพลอยได้ ไบโอดีเซลที่ได้มีชื่อเรียกตามชนิดของ
แอลกอฮอล์ ถ้าเป็นเมทิลแอลกอฮอล์จะเรียกว่าเมทิลเอสเทอร์ ถ้าเป็นเอทิลแอลกอฮอล์
จะเรียกว่า เอทิลเอสเทอร์
ไบโอดีเซล (Biodiesel)
การแยกแก๊สธรรมชาติ
แก๊สธรรมชาติและแก๊ส
ธรรมชาติเหลว ประกอบด้วย
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
ชนิดต่าง ๆ เช่น มีเทน (CH4)
อีเทน (C2H6) โพรเพน
(C3H8) บิวเทน (C4H10) เพน
เทน (C5H12) กับสารที่ไม่ใช่
ไฮโดรคาร์บอน ได้แก่
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ไอ
ปรอท และไอน้า ดังตาราง
สารประกอบ สูตรโมเลกุล
ร้อยละโดย
ปริมาตร
มีเทน CH4 50 – 80
อีเทน C2H6 5 – 10
โพรเพน C3H8 2 – 7
บิวเทน C4H10 1 – 3
เพนเทน C5H12 น้อยกว่า 1
คาร์บอนไดออกไซด์ CO2 10 – 25
ไนโตรเจน N2 1-4
อื่น ๆ (เฮกเซน ไอน้า ฮีเลียม
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และปรอท
H2S น้อยกว่า 0.5
แก๊สธรรมชาติและแก๊สธรรมชาติเหลวที่ขุดเจาะขึ้นมาได้ ก่อนจะนาไปใช้ต้อง
ผ่านกระบวนการแยกแก๊สก่อน เพื่อแยกสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ปะปนกันอยู่
ตามธรรมชาติออกเป็นแก๊สชนิดต่าง ๆ โดยผ่านกระบวนการดังนี้
1. หน่วยกาจัดสารปรอท เพื่อป้ องกันการผุกร่อนของ
ท่อจากการรวมตัวกับปรอท
2. หน่วยกาจัดแก๊ส H2S และ CO2 เนื่องจาก H2S มีพิษและกัดกร่อน ส่วน
CO2 ทาให้เกิดการอุดตันของท่อ เพราะว่าที่ระบบแยกแก๊สมีอุณหภูมิต่ามาก
การกาจัด CO2 ทาโดยใช้สารละลาย K2CO3ผสมตัวเร่งปฏิกิริยา CO2 ที่ได้
นาไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทาน้าแข็งแห้ง น้ายาดับเพลิง และ
ฝนเทียม
3. หน่วยกาจัดความชื้น เนื่องจากความชื้นหรือไอน้าจะกลายเป็น
น้าแข็งทาให้ท่ออุดตัน ทาโดยการกรองผ่านสารที่มีรูพรุนสูง และ
สามารถดูดซับน้าออกจากแก๊สได้ เช่น ซิลิกาเจล
4. แก๊สธรรมชาติที่ผ่านขั้นตอนแยกสารประกอบที่ไม่ใช่สารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนออกไปแล้ว จะถูกส่งไปลดอุณหภูมิและทาให้ขยายตัวอย่าง
รวดเร็ว แก๊สจะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวและส่งต่อไปยังหอกลั่นเพื่อ
แยกแก๊สมีเทนออกจากแก๊สธรรมชาติ ผ่านของเหลวที่เหลือซึ่งเป็น
ไฮโดรคาร์บอนผสมไปยังหอกลั่น เพื่อแยกแก๊สอีเทน แก๊สโพรเพน แก๊ส
ปิโตรเลียมเหลว (C3+C4) และแก๊สโซลีนธรรมชาติหรือแก๊สธรรมชาติ
หลว (liquefied natural gas) (C 5 อะตอมขึ้นไป)
ท่อส่งแก๊สธรรมชาติ
ท่อที่ทาด้วยเหล็กกล้า (steel) ขนาดและ
ความหนาของท่อขึ้นอยู่กับแรงดันที่ใช้ใน
การส่งแก๊ส และสภาพพื้นที่ในการวางท่อ
บนพื้นที่ภูเขา/ไม่มีชุมชน และในพื้นที่
ชุมชน/พื้นที่ทากิน ฝังท่อลึก 1–1.5 เมตร
บริเวณพื้นที่ลอดใต้ถนนฝังท่อลึก 3 เมตร
ท่อส่งแก๊สจะถูกเคลือบผิวภายนอกเพื่อ
ป้ องกันการผุกร่อน สาหรับท่อในทะเล
ต้องเคลือบ 2 ชั้น คือการเคลือบเพื่อ
ป้ องกันการผุกร่อน และการพอกด้วย
คอนกรีตเพื่อเพิ่มน้าหนักให้ท่อจมลงยัง
พื้นท้องทะเล
แก๊สธรรมชาติและแก๊สปิโตรเลียมเหลว
แก๊สธรรมชาติและแก๊สปิโตรเลียมเหลว (Liquefied petroleum gas : LPG) เป็นแก๊ส
ที่ไม่มีกลิ่น จึงมีการเติมสารเมอร์แคปแทน (Mercaptan) ซึ่งมีกลิ่นเหม็นเพื่อช่วยเตือน
ให้ทราบเมื่อมีแก๊สรั่ว เมอร์แคปแทน เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ –SH เกาะอยู่กับ
อะตอมคาร์บอน สารประกอบเมอร์แคปแทนที่เติมลงในแก๊สธรรมชาติอาจเป็นเมทิล
เมอร์แคปแทน (CH3–SH) หรือเอทิลเมอร์แคปแทน (C2H5–SH)
ซิลิกาเจล
มีสูตรโมเลกุล mSiO2.n H2O ไม่ละลายน้าและตัวทาละลาย ไม่มีกลิ่น ไม่
เกิดปฏิกิริยากับสารอื่น ผลิตได้หลายวิธีคือทาให้มีซิลิกาเจลหลายชนิดซึ่งมีขนาดของรู
พรุนในโครงสร้างที่แตกต่างกัน เป็นสารที่ใช้ดูดความชื้นได้ดีมาก
ปิโตรเคมีภัณฑ์ (Petrochemical)
อุตสาหกรรมปิโตรเคมี คืออุตสาหกรรมที่นาสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากการ
กลั่นน้ามันดิบและจากการแยกแก๊สธรรมชาติมาใช้เป็นวัตถุดิบเพื่อผลิตเคมีภัณฑ์ต่าง
ๆ แบ่งได้ดังนี้
1. อุตสาหกรรมปิโตรเคมีภัณฑ์ขั้นต้น (Upstream petrochemical industry)
2. อุตสาหกรรมปิโตรเคมีภัณฑ์ขั้นกลาง (Intermediate petrochemical industry)
3. อุตสาหกรรมปิโตรเคมีภัณฑ์ขั้นปลาย (Downstream petrochemical industry)
1. อุตสาหกรรมปิโตรเคมีภัณฑ์ขั้นต้น (Upstream petrochemical industry)
เป็นการนาสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากแก๊สธรรมชาติหรือน้ามันดิบ เช่น เมทานอล
เอทิลีน และเบนซีน มาผลิตเป็นสารโมเลกุลขนาดเล็ก เรียกว่า มอนอเมอร์ (monomer) เป็น
วัตถุดิบตั้งต้นในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต่อไป เช่น
styrene
ethylene
2. อุตสาหกรรมปิโตรเคมีภัณฑ์ขั้นกลาง (Intermediate petrochemical industry)
เป็นการนาผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปิโตรเคมีขั้นต้นมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเคมีภัณฑ์
ขั้นกลาง เช่น ฟอร์มอลดีไฮด์ เอทิลีนออกไซด์ เอทิลเบนซีน เพื่อป้ อนให้กับอุตสาหกรรม
ขั้นปลาย
เป็นการนามอนอเมอร์จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีภัณฑ์ขั้นต้นมาผลิตพอลิเมอร์ที่มีขนาด
โมเลกุลใหญ่ขึ้น ผลิตภัณฑ์ในขั้นนี้อาจอยู่ในรูปของพลาสติก วัตถุดิบที่ใช้ผลิตเส้นใย
สังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ สารซักล้าง สารเคลือบผิว และตัวทาละลาย ผลิตภัณฑ์จาก
อุตสาหกรรมขั้นต่อเนื่องอาจนาไปใช้เป็นสารตั้งต้นในอุตสาหกรรมต่าง ๆ
3. อุตสาหกรรมปิโตรเคมีภัณฑ์ขั้นปลาย (Downstream petrochemical industry)
เป็นการนาผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปิโตรเคมีขั้นต้นหรือขั้นกลางไปผ่านกระบวนการ
ต่างๆ เพื่อผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ขั้นปลาย ผลิตภัณฑ์ที่ได้ในขั้นนี้อาจอยู่ในรูปของ
พลาสติก วัตถุดิบที่ใช้ผลิตเส้นใยสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ สารซักล้าง สารเคลือบ
ผิวและตัวทาละลาย ผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมขั้นปลายนี้ อาจนาไปใช้เป็นสารตั้ง
ต้นในอุตสาหกรรมต่างๆ
ผลิตภัณฑ์หลายชนิดทาจากพอลิเมอร์สังเคราะห์ เช่น ภาชนะเมลามีน ขวด
พีอีที (PET : polyethylene terephthalate) ใช้บรรจุน้ามันพืชและน้าอัดลม
ขวดเอชดีพีอี (HDPE : High density polyethylene) ใช้บรรจุน้าดื่ม เส้นใย
ไนลอนใช้ทาถุงน่อง และยังใช้พอลิเมอร์ทาวัสดุทดแทนไม้ โลหะ และแก้ว
ได้ด้วย
กลับไปที่เมนูหลัก
พอลิเมอร์
(Polymer)
พอลิเมอร์ เป็นสารที่มีมวลโมเลกุล
สูง เกิดจากโมเลกุลพื้นฐานที่เรียกว่า
มอนอเมอร์ (monomer) จานวนมาก
เชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ประเภทของพอลิเมอร์
1. พอลิเมอร์ธรรมชาติ (Natural polymer)
เป็นสารที่เกิดขึ้นและมีอยู่ในธรรมชาติ เช่น แป้ ง โปรตีน กรด
นิวคลีอิก ยางพารา
2. พอลิเมอร์สังเคราะห์ (Synthetic Polymer)
เป็นพอลิเมอร์ที่สังเคราะห์หรือสร้างขึ้นโดยใช้มอนอเมอร์ซึ่ง
ส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการกลั่นน้ามันดิบและการแยก
แก๊สธรรมชาติ มาทาปฏิกิริยาเคมีภายใต้สภาวะที่เหมาะสม ได้แก่
เส้นใยสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ และพลาสติก กระบวนการ
สังเคราะห์พอลิเมอร์เรียกว่า ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน
(polymerization)
ถ้าจาแนกประเภทตามลักษณะการเกิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
ถ้าจาแนกประเภทของพอลิเมอร์ตามชนิดของมอนอเมอร์
จะแบ่งได้ 2 ประเภทดังนี้
1. โฮโมพอลิเมอร์ (Homopolymer)
เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ชนิดเดียวกัน เช่น พอลิ
ไวนิลคลอไรด์ (PVC : Poly vinyl chloride ) เกิดจากไวนิล
คลอไรด์ (CH2=CHCl)
โฮโมพอลิเมอร์มีทั้งที่เป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติเช่น
แป้ ง เซลลูโลส และพอลิเมอร์สังเคราะห์ เช่น พอลิเอ
ทิลีน (PE : Polyethylene) เกิดจากเอทิลีน (CH2= CH2)
พอลิโพรพิลีน (PP : Polypropylene) เกิดจากโพรพิลีน
(CH2= CH2– CH3)
ฝ้ าย เป็นโฮโมพอลิ
เมอร์ที่มีในธรรมชาติ
2. โคพอลิเมอร์หรือพอลิเมอร์ร่วม (Copolymer)
เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ต่างชนิด
กัน เช่น พอลิเมอร์ที่มีชื่อสามัญว่า ไนลอน 6,6
เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างเฮกซะเมทิลีนไดเอมีน
กับกรดอะดิปิก
โคพอลิเมอร์มีทั้งที่เป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติ
เช่น โปรตีน ซึ่งเกิดจากกรดอะมิโน ใยไหม
และพอลิเมอร์สังเคราะห์ เช่น พอลิเอสเทอร์ พอ
ลิเอไมด์
โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์
โครงสร้างโมเลกุลของโฮโมพอลิเมอร์และโคพอลิเมอร์ แบ่งได้เป็น 3 ชนิด ดังนี้
1. โครงสร้างแบบเส้น (Linear polymer)
เกิดจากมอนอเมอร์สร้างพันธะโคเวเลนต์เป็นโซ่ยาว ในกรณีที่เป็นโคพอลิเมอร์
มอนอเมอร์จะจัดเรียงสลับกันในแบบต่าง ๆ ได้หลายแบบ ตัวอย่างพอลิเมอร์แบบ
เส้น เช่น พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอลิไวนิลคลอไรด์ พอลิสไตรีน พอลิอะคริ
โลไนไตรล์ ไนลอน 6,6 และพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต
พอลิเอทิลีนและพอลิโพรพิลีนเป็นพอลิเมอร์ที่สายโซ่เรียงชิดกันได้มาก จึงมี
ความแข็ง ขุ่น และเหนียว
2. โครงสร้างแบบกิ่ง (Branched polymer)
ในโครงสร้างของพอลิเมอร์มีโซ่กิ่ง ซึ่งอาจเป็นโซ่สั้นหรือโซ่ยาว
แตกออกไปจากโซ่หลัก ทาให้โซ่พอลิเมอร์ไม่สามารถจัดเรียงตัว
ชิดกันได้พอลิเมอร์ชนิดนี้จึงมีความยืดหยุ่น มีความหนาแน่นต่า
จุดหลอมเหลวต่ากว่าพอลิเมอร์แบบเส้น เช่น พอลิเอทิลีนชนิด
ความหนาแน่นต่า (LDPE : Low Density Polyethylene)
3. โครงสร้างแบบร่างแห (Network polymer)
เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างโซ่พอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบ
เส้นหรือแบบกิ่งต่อเนื่องกันเป็นร่างแห ถ้าพันธะที่เชื่อมโยงระหว่างโซ่หลักมี
จานวนน้อย พอลิเมอร์จะมีสมบัติยืดหยุ่นและอ่อนตัว แต่ถ้ามีจานวนพันธะ
มากพอลิเมอร์จะแข็งไม่ยืดหยุ่น พอลิเมอร์แบบร่างแหมีจุดหลอมเหลวสูง เมื่อ
ขึ้นรูปแล้วไม่สามารถหลอมหรือเปลี่ยนรูปร่างได้ เช่น พอลิฟีนอล
ฟอร์มาลดีไฮด์ (เบกาไลต์) พอลิเมลามีนฟอร์มาลดีไฮด์ หรือเมลามีน
สมบัติของพอลิเมอร์
1. โครงสร้างของพอลิเมอร์จะมีผลต่อสมบัติทางกายภาพ
2. มวลโมเลกุล และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโซ่ของพอลิเมอร์มีผลต่อสมบัติของพอลิ
เมอร์ด้วย โดยพอลิเมอร์ที่มีมวลโมเลกุลสูง และมีโครงสร้างแบบเส้นจะมีความเหนียว
ส่วนพอลิเมอร์ที่ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสายโซ่ แต่ยึดกันด้วยพันธะไฮโดรเจน
ระหว่างหมู่ฟังก์ชัน หรือยึดกันด้วยแรงแวนเดอร์วาลส์ จะมีจุดหลอมเหลวสูง
พอลิเมอร์ที่มีโซ่เรียงชิดกันได้มาก จะมีความหนาแน่นและความเป็นผลึกสูง จึงมี
ความแข็ง อากาศหรือน้าผ่านไม่ได้ มีลักษณขุ่น หรือทึบแสง
สมบัติทางเคมีของพอลิเมอร์จะขึ้นอยู่กับหมู่ฟังก์ชันในโซ่พอลิเมอร์ และมีสมบัติ
เหมือนกับสารอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชันเดียวกัน เช่น พอลิไวนิลแอลกอฮอล์ ละลายน้าได้
เพราะมีหมู่ –OH เป็นหมู่ฟังก์ชันเช่นเดียวกับแอลกอฮอล์
ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์
1.พลาสติก
พอลิเมอร์ที่นามาขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อใช้
งานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ถ้วย จาน ชาม เก้าอี้
รองเท้า ด้ามปากกา ถุงใส่ของ ภาชนะ เรียก
รวมว่า ผลิตภัณฑ์พลาสติก
การจาแนกประเภทพลาสติก สามารถจาแนก
ตามกรรมวิธีผลิตและการใช้งานเป็นดังรูป
เมื่อใช้การเปลี่ยนแปลงของพลาสติกเมื่อได้รับความร้อนเป็นเกณฑ์
จาแนกพลาสติกได้ 2 ประเภท ดังนี้
1) เทอร์มอพลาสติก (Thermoplastic)
เป็นพลาสติกที่อ่อนตัวเมื่อได้รับความร้อน และเมื่ออุณหภูมิลดลงจะแข็งตัว
ถ้าให้ความร้อนอีกก็จะอ่อนตัว และสามารถทาให้กลับเป็นรูปร่างเดิมหรือเปลี่ยน
รูปร่างได้ โดยสมบัติของพลาสติกไม่เปลี่ยนแปลง จึงสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้
พอลิเมอร์แบบนี้มีโครงสร้างแบบเส้นหรือโซ่กิ่ง มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่พอลิ
เมอร์น้อยมาก เช่น พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอสไตรีน
2) พลาสติกเทอร์มอเซ็ต (Thermosetting plastic)
เป็นพลาสติกที่ขึ้นรูปด้วยการผ่านความร้อนหรือแรงดันแล้วจะม่สามารถนากลับมา
ขึ้นรูปใหม่ได้อีก เพราะพอลิเมอร์ประเภทนี้มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่โมเลกุลแบบ
ร่างแห เมื่อแข็งตัวแล้วจะมีความแข็งมาก ทนต่อความร้อนและความดันได้ดีกว่าเทอร์
มอพลาสติก ถ้าทาให้มีอุณหภูมิสูงมากจะแตกและไหม้เป็นเถ้า เช่น พอลิฟีนอล
ฟอร์มาลดีไฮด์ พอลิเมลามีนฟอร์มาลดีไฮด์ และพอลิยูรีเทน
2.เส้นใย
เส้นใยธรรมชาติ (Natural fiber)
เส้นใยธรรมชาติที่นามาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลายคือเซลลูโลส ซึ่งได้
จากส่วนต่าง ๆ ของพืช ได้แก่ เส้นใยหุ้มเมล็ดฝ้ าย นุ่น ใยมะพร้าว เส้นใย
จากเปลือกไม้ เช่น ลินิน ปอ กัญชา เส้นใยจากใบ เช่น สับปะรด
ศรนารายณ์ เส้นใยจากฝ้ ายเป็นเซลลูโลสบริสุทธิ์ นามาใช้ประโยชน์มาก
ที่สุดถึง 50% ของเส้นใยทั้งหมด
เส้นใยที่ได้จากสังเคราะห์ (Synthetic fiber) ได้แก่
เซลลูโลสแอซีเตต
เป็นเส้นใยกึ่งสังเคราะห์ชนิดแรกที่สังเคราะห์ขึ้นจาก
การนาเซลลูโลสมาทาปฏิกิริยากับกรดแอซีติกเข้มข้น โดย
มีกรดซัลฟิวริกเข้มข้นเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เซลลูโลสแอซี
เตตใช้ทาเส้นใย และผลิตเป็นแผ่นพลาสติก ทาแผงสวิตช์
และหุ้มสายไฟฟ้ า
เส้นใยสังเคราะห์ (syntheticfiber)
เป็นเส้นใยที่ได้จากพอลิเมอร์สังเคราะห์ ประกอบด้วยโมเลกุลที่มีการเรียงตัว
ค่อนข้างเป็นระเบียบ และโมเลกุลส่วนใหญ่ต้องเรียงตัวตามแนวแกนของเส้นใย
โดยทั่วไปความยาวของเส้นใยต้องไม่น้อยกว่า 100 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้น
ใยนั้น
เส้นใยสังเคราะห์บางชนิดมีสมบัติดีกว่าเส้นใยธรรมชาติ เช่น มีความทนทานต่อ
จุลินทรีย์ เชื้อรา แบคทีเรีย ไม่ยับง่าย ไม่ดูดน้า ทนทานต่อสารเคมี ซึกง่าย แห้งเร็ว
ตัวอย่างเส้นใยที่นามาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย เช่น ไนลอน และโอรอน (พอ
ลิอะคริโลไนไตรด์)
ไนลอน (Nylon)
เป็นชื่อเรียกทางการค้าของเส้นใยพอลิเอไมด์ ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย เช่น ไนลอน 6,6
และไนลอน 6,10 (ตัวเลขหลังไนลอนแสดงถึงจานวนอะตอมของ C ในมอนอเมอร์ของ
เอมีนและในกรดคาร์บอกซิลิก)
พอลิเอสเทอร์
เป็นเส้นใยที่นิยมใช้ มีชื่อทางการค้าว่า ดาครอนหรือโทเรเทโทรอน ซึ่งเป็นโคพอลิ
เมอร์ระหว่างเอทิลีนไกลคอลกับไดเมทิลเทเรฟทาเรต ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน
แบบควบแน่น มีสมบัติทนความร้อนและแสงแดด ทนสารเคมี ไม่ยับ ซักแล้วไม่ต้องรีด
3.ยาง
ยางพาราเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติที่มนุษย์นามาใช้ประโยชน์เป็น
เวลาหลายร้อยปีแล้ว น้ายางสดจากต้นยางมีลักษณะข้นสีขาวคล้าย
น้านม มีสารหลายชนิดผสมอยู่ด้วยกัน เมื่อทิ้งไว้จะบูดเน่าได้ ถ้า
ต้องการเก็บน้ายางดิบไว้เป็นเวลานานจะต้องเติมแอมโมเนียลงไป
เพื่อเป็นสารกันบูดและป้ องกันการจับตัวของน้ายาง การแยกเนื้อ
ยางจากน้ายางทาได้โดยเติมกรดบางชนิด เช่น กรดแอซีติก
(CH3COOH) หรือกรดฟอร์มิก (HCOOH) เจือจาง เพื่อทาให้เนื้อ
ยางรวมตัวเป็นก้อนตกตะกอนแยกออกมา โดยทั่วไปน้ายางสดมี
เนื้อยางอยู่ประมาณร้อยละ 25-45 ทั้งนี้ ขึ้นกับพันธุ์ยาง อายุของ
ต้นยาง และฤดูกาลกรีดยาง เนื้อยางที่ได้เรียกว่า ยางดิบ
โครงสร้างทางเคมีของเนื้อยางประกอบด้วยมอนอเมอร์ไอโซพรีน
(isoprene) ที่เชื่อมต่อกันอยู่ในช่วง 1500 ถึง 15000 หน่วย มีสูตรดังนี้
ยางพารา (ซิส–พอลิไอโซพรีน)
สูตรเคมีของไอโซพรีนคือ C5H8 มีสูตร
โครงสร้างดังนี้
ยางกัตตาพอลิไอโซพรีนเช่นเดียวกับยางพารา
แต่มีโครงสร้างต่างกันดังนี้
กลับไปที่เมนูหลัก
ภาวะมลพิษ (Pollution)
หมายถึงภาวะแวดล้อมที่ทาให้เกิดอันตรายต่อการดารงชีวิตของ
สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์
1.มลภาวะทางอากาศ
ภาวะมลพิษทางอากาศ (Air Pollution) มีสาเหตุต่าง ๆ ดังนี้
1. การเผาไหม้เชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม หรือใน
เครื่องยนต์ การเผาถ่านหินหรือเชื้อเพลิงที่มีกามะถันและ
สารประกอบของกามะถันเป็นองค์ประกอบ จะมีแก๊สซัลเฟอร์
ไดออกไซด์ (SO2) เกิดขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุของฝนกรด มีผลต่อ
การดารงชีวิตของสัตว์น้า ทาให้สีใบไม้ซีดจาง และสังเคราะห์
แสงไม่ได้ ถ้าร่างกายได้รับ SO2 จะเกิดอาการปวดเมื่อยเรื้อรัง
โลหิตจาง เป็นอันตรายต่อระบบหายใจและปอด
2. การเผาไหม้เชื้อเพลิงปิโตรเลียมอย่างไม่สมบูรณ์ จะได้เขม่าและออกไซด์ของ
คาร์บอน ได้แก่ CO และ CO2 นอกจากนี้ยังได้แก๊สอื่น ๆ อีกหลายชนิด เช่น SO2 ,
NO2 และ H2S รวมทั้งเถ้าถ่านที่มีปริมาณโลหะน้อยมากเป็นองค์ประกอบในบริเวณที่
มีการจราจรคับคั่ง จะมี CO เกิดขึ้นมาก CO เป็นแก๊สพิษ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น รวมกับ
ฮีโมโกลบินเกิดเป็นคาร์บอกซีฮีโมโกลบินได้ดี ทาให้เม็ดเลือดแดงไม่สามารถรับ
ออกซิเจนได้ตามปกติ จะเกิดอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ถ้าร่างกายรับเข้าไป
มากทันที อาจทาให้เสียชีวิตได้
3. การเผาไหม้เชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ต่าง ๆ มีไฮโดรคาร์บอนที่เผาไหม้ไม่หมด
ออกมาด้วย ไฮโดรคาร์บอนที่มีพันธะคู่จะรวมตัวกับแก๊สออกซิเจนหรือแก๊สโอโซน
เกิดเป็นสารประกอบแอลดีไฮด์ซึ่งมีกล่นเหม็น ทาให้เกิดอาการระคายเคืองเมื่อสูดดม
ไฮโดรคาร์บอนสามารถเกิดปฏิกิริยากับ O2 และ NO2 เกิดสารประกอบเปอร์ออกซี แอ
ซีทิลไนเตรต (PAN) ซึ่งเป็นพิษ ทาให้เกิดการระคายเคืองต่อดวงตาและระบบทางเดิน
หายใจ มีผลต่อพืชโดยทาลายเนื้อเยื่อที่ใบ
2.มลภาวะทางน้า
ภาวะมลพิษทางน้า (Water Pollution) มีสาเหตุต่าง
ๆ ดังนี้
1. การใช้ปิโตรเคมีภัณฑ์ เช่น ปุ๋ ยเคมี สารปราบ
ศัตรูพืช และผงซักฟอก แม้ว่าปุ๋ ยและผงซักฟอกไม่
เป็นพิษโดยตรง แต่เป็นอาหารที่ดีต่อพืชน้าบางชนิด
เพราะมีสารฟอสเฟต โดยเฉพาะน้าทิ้งจากบ้านเรือน
จะมีผงซักฟอกปนอยู่ด้วย ฟอสเฟตจะกระตุ้นให้พืช
น้าเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เมื่อพืชน้าตาย
จุลินทรีย์ในน้าจะต้องใช้ออกซิเจนจานวนมากเพื่อ
ย่อยสลายซากพืชเหล่านี้ เป็นเหตุให้ปริมาณ
ออกซิเจนในน้าลดลง จึงทาให้น้าเกิดเน่าเสีย
2. สารเคมีและวัตถุมีพิษที่ใช้ในการเกษตร
สารกาจัดแมลง และกาจัดวัชพืช เช่น
สารประกอบไนไตรต์และไนเตรต
สารประกอบคลอริเนเตตไฮโดรคาร์บอน
ออร์แกโนฟอสเฟต คาร์บาเมต เมื่อตกค้าง
อยู่ในอากาศหรือดินก็จะถูกน้าชะล้างลงสู่
แหล่งน้า ทาให้แหล่งน้ามีสารพิษสะสมหรือ
ปะปนอยู่
3. น้ามันเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทาให้
เกิดภาวะมลพิษทางน้า เมื่อน้ามันรั่ว
หรือไหลลงสู่ทะเลหรือแม่น้าลาคลอง
จะเกิดคราบน้ามันลอยอยู่ที่ผิวน้า
คราบน้ามันจะเป็นแผ่นฟิล์มปกคลุม
ผิวน้า ทาให้ออกซิเจนไม่สามารถ
ละลายลงสู่น้า ทาให้น้าขาดออกซิเจน
การบ่งชี้คุณภาพของน้า
ตามปกติน้าในธรรมชาติมีออกซิเจนละลายอยู่ 5 – 7 ส่วนในล้านส่วน (5 – 7 ppm)
ปริมาณออกซิเจนในน้าหรือค่า DO (Dissolved Oxygen) จึงมีความสาคัญและมีความ
จาเป็นอย่างยิ่งสาหรับการดารงชีวิตของพืชและสัตว์น้า
การบ่งชี้คุณภาพของน้า อาจทาได้หลายวิธี เช่น
ก) หาปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ต้องใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้า เรียกว่า
ค่า BOD (Biochemical Oxygen Demand) ซึ่งจะบอกถึงปริมาณจุลินทรีย์ที่ต้องใช้
ออกซิเจนในน้า
ข) หาปริมาณความต้องการออกซิเจนของสารเคมีที่อยู่ในน้า เรียกว่า COD
(Chemical Oxygen Demand) ซึ่งจะบอกถึงปริมาณสารเคมีที่สามารถทาปฏิกิริยากับ
ออกซิเจนในน้า
3.มลภาวะทางดิน
ภาวะมลพิษทางดิน (Soil Pollution) มีสาเหตุต่าง ๆ ดังนี้
1. การกาจัดสารพิษด้วยการฝังดิน ตลอดจนการกาจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลต่าง ๆ
โดยการทิ้งบนดิน เป็นสาเหตุให้ดินมีสภาพไม่เหมาะสมสาหรับการเพาะปลูก
2. ปุ๋ ยเคมีและสารเคมีที่ใช้ปราบศัตรูพืช
3. เครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น ยางรถยนต์ พลาสติก บรรจุ
ภัณฑ์ ซึ่งสลายตัวยาก มีความทนทานต่อน้า แสงแดด และอากาศ จึง
ตกค้างอยู่ในดินและน้า
กลับไปที่เมนูหลัก

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 

La actualidad más candente (20)

บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8