SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
หน้าที่ของไต

ทาความสะอาดเลือดให้สะอาด โดยการกรองของเสีย ได้แก่ ยูเรีย (บียูเอ็น)
ครีอะตินิน กรดยูริก และน้าออกจากเลือดผ่านทางปัสสาวะ



รักษาระดับเกลือแร่ในเลือดให้เป็นปกติ


สร้างฮอร์โมนหลายชนิด ได้แก่
• เรนิน: ช่วยควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
• อีริโทรโพอิติน: กระตุ้นไขกระดูกให้สร้างเม็ดเลือดแดง ป้องกันการเกิดภาวะโลหิตจาง
• วิตามินดี: ช่วยให้ระดับฟอสฟอรัสและแคลเซียมอยู่ในเกณฑ์ปกติ ป้องกันการเกิดโรคกระดูกพรุน
โรคไตเรื้อรังและไตวาย



      เมื่อคนเรามีอายุ 30 ปีขึ้นไป ไตจะเริ่มทางานลดลงหรือเสื่อมอย่างช้าๆ ไปตาม
อายุขย โดยลดลงเฉลี่ยประมาณ 1% ต่อปี แต่เมื่อไรก็ตามที่ไตเกิดโรค ไตจะเสื่อม
       ั
ลงเร็วกว่าปกติ ในกรณีที่ไตเสื่อมลงอย่างรวดเร็วหรือหยุดทางานทันที เราเรียกว่า
“โรคไตวายเฉียบพลัน” ซึ่งอาจจะกลับมาเป็นปกติได้ถ้าได้รับการรักษาที่เหมาะ
แต่ถ้าไตเสื่อมลงอย่างช้าๆ ต่อเนื่องทาให้เกิดความผิดปกติถาวร เราเรียกว่า “โรค
ไตวายเรื้อรัง” ซึงไม่สามารถกลับมาเป็นปกติได้
                  ่
การแบ่งระยะของโรคไตเรื้อรัง แบ่งออกเป็น 5 ระยะ ดังนี้

                          • ไตยังทางานปกติ แต่ตรวจพบความผิดปกติของไต เช่น
โรคไตเรื้อรังระยะที่ 1      ปัสสาวะมีตะกอน หรืออาจเรียกได้ว่า “ไตเริ่มผิดปกติ”

โรคไตเรื้อรังระยะที่ 2    • ไตทางานเหลือ 60-90% หรือ “ไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น”

โรคไตเรื้อรังระยะที่ 3    • ไตทางานเหลือ 30-60% หรือ “ไตเรื้อรังระยะปานกลาง”

โรคไตเรื้อรังระยะที่ 4    • ไตทางานเหลือ 15-30% หรือ “ไตเรื้อรังเป็นมาก”


โรคไตเรื้อรังระยะที่ 5:   • ไตทางานเหลือน้อยกว่า 15% หรือ “ไตวาย”
การชะลอการเสื่อมของไต
ควบคุมความดันโลหิต ให้อยู่ที่ 130/80 มิลลิเมตรปรอท
ควบคุมระดับน้าตาลให้ต่ากว่า 110 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรและ น้าตาลเฉลี่ยสะสมน้อยกว่า
6.5%
ควบคุมระดับไขมันในเลือด ระดับแอลดีแอล ให้น้อยกว่า 100 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
ถ้ามีโรคเกาต์ อย่าให้โรคเกาต์กาเริบ
หลีกเลี่ยงการใช้ยาแก้ปวดกระดูก ยาหม้อและยาลูกกลอน
งดสูบบุหรี่
ควบคุมน้าหนักตัวและออกกาลังกาย
รับประทานโปรตีน หรือเนื้อสัตว์ในสัดส่วนที่พอเหมาะ
เลี่ยงการบริโภคอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูงและอาหารรสเค็มจัด
สารอาหารที่ผู้ป่วยโรคไตควรควบคุมปริมาณ

                  น้า

     โซเดียม               โปรตีน
               ปริมาณที่
               เหมาะสม     ฟอส
     พลังงาน
                           ฟอรัส
                 โพแทส
                 เซียม
น้ำ
      เนื่องจากความเสื่อมของไต
      ทาให้การขับปัสสาวะลดลง
      ดังนั้นหากผู้ป่วยมีความดันโลหิตสูง
      และมีอาการบวมต้องมีการจากัดน้า ทั้งจากน้าดื่ม
      และน้าในอาหารตามคาแนะนาของแพทย์
โปรตีน

โปรตีน
คือสารอาหารที่จาเป็นในการเสริมสร้างและซ่อมแซมกล้ามเนื้อให้แก่ร่างกาย
โปรตีนพบมากใน เนื้อสัตว์ นอกจากนี้ยังพบใน ข้าวแป้ง ผัก และผลไม้

แหล่งของโปรตีนคุณภำพดี
โปรตีนคุณภาพดีคือ โปรตีนที่ร่างกายจะเอาไปใช้ได้เต็มที่ ทาให้ของเสียเกิดขึ้นน้อย
ทาให้ ไตไม่ต้องทางานหนัก โปรตีนคุณภาพดี จะอยู่ในไข่ เนื้อสัตว์ นม
และผลิตภัณฑ์นม ทั้งนี้ต้องกินโปรตีนตามปริมาณที่แพทย์กาหนด
โปรตีน
เนือสัตว์ที่ควรเลือก
เนื้อสัตว์สด ไขมันต่า โคเลสเตอรอลต่า และไม่ผ่านการแปรรูป เช่น เนื้อปลา

เนือสัตว์ที่ควรหลีกเลี่ยง
เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ ไต ตับอ่อน
ปลาเค็ม ปูเค็ม กั้งดอง
อาหารหมักดอง เช่น ปลาส้ม แหนม
เนื้อสัตว์แปรรูป เช่น ไส้กรอก หมูแฮม กุนเชียง
หมูสามชั้น สันคอหมู ขาหมูส่วนที่มีมัน
โปแตสเซียม
แร่ธาตุที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อ
และหัวใจ ถ้าร่างกายมีระดับของโปแตสเซียมสูงเกินไป จะส่งผลให้หัวใจทางานผิดปกติ
และทาให้หัวใจวายได้

ฟอสฟอรัส
แร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของกระดูกและฟัน ความเสื่อมของไตทาให้เกิด
การคั่งของฟอสฟอรัส ส่งผลให้เกิดการสลายแคลเซียมทาให้เกิดโรคกระดูกพรุนได้


โซเดียม
แร่ธาตุที่มีบทบาทสาคัญในการควบคุมสมดุลของน้า และความดันเลือดความเสื่อมของไต
ทาให้เกิดการคั่งของโซเดียมในเลือด ทาให้เกิดความดันเลือดสูง
และการบวมตามส่วนต่างๆของร่างกาย
อำหำรที่มีโปแตสเซียมสูง
  ทุเรียน                                           กล้วย
                    ขนุน   แคนตาลูป




              ส้ม               มะเขือเทศ

บร็อกโคลี
                                                 มันฝรั่ง

   มะละกอ                               ฟักทอง
อำหำรฟอสฟอรัสสูง



ไอศกรีม      ช็อคโกแลต        เค้ก/พาย




พิซซ่า     น้้าอัดลม     นม              ถั่วต่างๆ
อำหำรโซเดียมสูง



     เกลือ      น้้าปลา/ซอสปรุงรสต่างๆ   ผงชูรส/ซุปก้อน




อาหารหมักดอง           อาหารแห้ง            ขนมขบเคี้ยว
พลังงำน
ผู้ป่วยโรคไตเรือรัง อาจมีอาการเบื่ออาหารทาให้เกิด
               ้
ภาวะขาดอาหารได้ ดังนั้นผู้ป่วยจึงจาเป็นที่จะต้องได้รับอาหาร
ในปริมาณที่เพียงพอ เพื่อให้อวัยวะต่างๆในร่างกาย
สามารถทางานได้เป็นปกติ

กำรก้ำหนดพลังงำน
ให้ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังแนะนาให้ 35-40 กิโลแคลอรี่ ต่อน้าหนักตัว1 กิโลกรัม
ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยหนัก 40 กิโลกรัม
ดังนั้นผู้ป่วยควรได้พลังงาน = 40 x 35 = 1,440 กิโลแคลอรี่ต่อวัน
แต่ถ้าต้องการพลังงานมากกว่านี้ก็คูณน้าหนักตัวด้วย 40 กิโลแคลอรี่ ก็ได้เช่นกัน
แบบแผนอาหารสาหรับผู้ที่เป็นโรคไต
     โปรตีน 30 กรัม
   พลังงาน เนื้อสัตว์ ข้าว-แป้ง                    ผัก         ผลไม้**        น้ามัน         น้าตาล            แป้ง
   (แคลอรี) (ช้อนโต๊ะ) (ทัพพี)                   (ทัพพี)       (ส่วน)        (ช้อนชา)       (ช้อนชา)          ปลอด
                                                                                                              โปรตีน
                                                                                                              (ทัพพี)
  1600                3              5             2.5             1             10             8                4
  1800                3              5             2.5             1            11.5            9              5.5
     โปรตีน 40 กรัม
   พลังงาน เนื้อสัตว์ ข้าว-แป้ง                    ผัก         ผลไม้**        น้ามัน         น้าตาล            แป้ง
   (แคลอรี) (ช้อนโต๊ะ) (ทัพพี)                   (ทัพพี)       (ส่วน)        (ช้อนชา)       (ช้อนชา)          ปลอด
                                                                                                              โปรตีน
                                                                                                              (ทัพพี)
  1600                5              5              4              2             9              8                2
  1800                5              5              4              2             11             9
** ผลไม้ 1 ส่วน = สัปปะรด, มะละกอ 6-8 ชิ้นคา, ส้ม 1 ผล, ฝรั่ง ½ ลูก, ชมพู่ 3 ผล, แอปเปิ้ล 1 ผล, องุน12 เม็ด
                                                                                                   ่
                                                                                                               3.5

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรKamol Khositrangsikun
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงbird090533
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานMuay Muay Somruthai
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลUtai Sukviwatsirikul
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 

La actualidad más candente (20)

แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Ppt. metabolic syndrome
Ppt. metabolic syndrome Ppt. metabolic syndrome
Ppt. metabolic syndrome
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 

Similar a Food for CKD

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอPacharee
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงRachanont Hiranwong
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพChirarat Boonperm
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 
การบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารการบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารWilailak Luck
 
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติPostharvest Technology Innovation Center
 

Similar a Food for CKD (12)

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรารู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355
 
การบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารการบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหาร
 
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
 

Food for CKD

  • 1.
  • 2. หน้าที่ของไต ทาความสะอาดเลือดให้สะอาด โดยการกรองของเสีย ได้แก่ ยูเรีย (บียูเอ็น) ครีอะตินิน กรดยูริก และน้าออกจากเลือดผ่านทางปัสสาวะ รักษาระดับเกลือแร่ในเลือดให้เป็นปกติ สร้างฮอร์โมนหลายชนิด ได้แก่ • เรนิน: ช่วยควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ • อีริโทรโพอิติน: กระตุ้นไขกระดูกให้สร้างเม็ดเลือดแดง ป้องกันการเกิดภาวะโลหิตจาง • วิตามินดี: ช่วยให้ระดับฟอสฟอรัสและแคลเซียมอยู่ในเกณฑ์ปกติ ป้องกันการเกิดโรคกระดูกพรุน
  • 3. โรคไตเรื้อรังและไตวาย เมื่อคนเรามีอายุ 30 ปีขึ้นไป ไตจะเริ่มทางานลดลงหรือเสื่อมอย่างช้าๆ ไปตาม อายุขย โดยลดลงเฉลี่ยประมาณ 1% ต่อปี แต่เมื่อไรก็ตามที่ไตเกิดโรค ไตจะเสื่อม ั ลงเร็วกว่าปกติ ในกรณีที่ไตเสื่อมลงอย่างรวดเร็วหรือหยุดทางานทันที เราเรียกว่า “โรคไตวายเฉียบพลัน” ซึ่งอาจจะกลับมาเป็นปกติได้ถ้าได้รับการรักษาที่เหมาะ แต่ถ้าไตเสื่อมลงอย่างช้าๆ ต่อเนื่องทาให้เกิดความผิดปกติถาวร เราเรียกว่า “โรค ไตวายเรื้อรัง” ซึงไม่สามารถกลับมาเป็นปกติได้ ่
  • 4. การแบ่งระยะของโรคไตเรื้อรัง แบ่งออกเป็น 5 ระยะ ดังนี้ • ไตยังทางานปกติ แต่ตรวจพบความผิดปกติของไต เช่น โรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 ปัสสาวะมีตะกอน หรืออาจเรียกได้ว่า “ไตเริ่มผิดปกติ” โรคไตเรื้อรังระยะที่ 2 • ไตทางานเหลือ 60-90% หรือ “ไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น” โรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 • ไตทางานเหลือ 30-60% หรือ “ไตเรื้อรังระยะปานกลาง” โรคไตเรื้อรังระยะที่ 4 • ไตทางานเหลือ 15-30% หรือ “ไตเรื้อรังเป็นมาก” โรคไตเรื้อรังระยะที่ 5: • ไตทางานเหลือน้อยกว่า 15% หรือ “ไตวาย”
  • 5. การชะลอการเสื่อมของไต ควบคุมความดันโลหิต ให้อยู่ที่ 130/80 มิลลิเมตรปรอท ควบคุมระดับน้าตาลให้ต่ากว่า 110 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรและ น้าตาลเฉลี่ยสะสมน้อยกว่า 6.5% ควบคุมระดับไขมันในเลือด ระดับแอลดีแอล ให้น้อยกว่า 100 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ถ้ามีโรคเกาต์ อย่าให้โรคเกาต์กาเริบ หลีกเลี่ยงการใช้ยาแก้ปวดกระดูก ยาหม้อและยาลูกกลอน งดสูบบุหรี่ ควบคุมน้าหนักตัวและออกกาลังกาย รับประทานโปรตีน หรือเนื้อสัตว์ในสัดส่วนที่พอเหมาะ เลี่ยงการบริโภคอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูงและอาหารรสเค็มจัด
  • 6. สารอาหารที่ผู้ป่วยโรคไตควรควบคุมปริมาณ น้า โซเดียม โปรตีน ปริมาณที่ เหมาะสม ฟอส พลังงาน ฟอรัส โพแทส เซียม
  • 7. น้ำ เนื่องจากความเสื่อมของไต ทาให้การขับปัสสาวะลดลง ดังนั้นหากผู้ป่วยมีความดันโลหิตสูง และมีอาการบวมต้องมีการจากัดน้า ทั้งจากน้าดื่ม และน้าในอาหารตามคาแนะนาของแพทย์
  • 8. โปรตีน โปรตีน คือสารอาหารที่จาเป็นในการเสริมสร้างและซ่อมแซมกล้ามเนื้อให้แก่ร่างกาย โปรตีนพบมากใน เนื้อสัตว์ นอกจากนี้ยังพบใน ข้าวแป้ง ผัก และผลไม้ แหล่งของโปรตีนคุณภำพดี โปรตีนคุณภาพดีคือ โปรตีนที่ร่างกายจะเอาไปใช้ได้เต็มที่ ทาให้ของเสียเกิดขึ้นน้อย ทาให้ ไตไม่ต้องทางานหนัก โปรตีนคุณภาพดี จะอยู่ในไข่ เนื้อสัตว์ นม และผลิตภัณฑ์นม ทั้งนี้ต้องกินโปรตีนตามปริมาณที่แพทย์กาหนด
  • 9. โปรตีน เนือสัตว์ที่ควรเลือก เนื้อสัตว์สด ไขมันต่า โคเลสเตอรอลต่า และไม่ผ่านการแปรรูป เช่น เนื้อปลา เนือสัตว์ที่ควรหลีกเลี่ยง เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ ไต ตับอ่อน ปลาเค็ม ปูเค็ม กั้งดอง อาหารหมักดอง เช่น ปลาส้ม แหนม เนื้อสัตว์แปรรูป เช่น ไส้กรอก หมูแฮม กุนเชียง หมูสามชั้น สันคอหมู ขาหมูส่วนที่มีมัน
  • 10. โปแตสเซียม แร่ธาตุที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อ และหัวใจ ถ้าร่างกายมีระดับของโปแตสเซียมสูงเกินไป จะส่งผลให้หัวใจทางานผิดปกติ และทาให้หัวใจวายได้ ฟอสฟอรัส แร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของกระดูกและฟัน ความเสื่อมของไตทาให้เกิด การคั่งของฟอสฟอรัส ส่งผลให้เกิดการสลายแคลเซียมทาให้เกิดโรคกระดูกพรุนได้ โซเดียม แร่ธาตุที่มีบทบาทสาคัญในการควบคุมสมดุลของน้า และความดันเลือดความเสื่อมของไต ทาให้เกิดการคั่งของโซเดียมในเลือด ทาให้เกิดความดันเลือดสูง และการบวมตามส่วนต่างๆของร่างกาย
  • 11. อำหำรที่มีโปแตสเซียมสูง ทุเรียน กล้วย ขนุน แคนตาลูป ส้ม มะเขือเทศ บร็อกโคลี มันฝรั่ง มะละกอ ฟักทอง
  • 12. อำหำรฟอสฟอรัสสูง ไอศกรีม ช็อคโกแลต เค้ก/พาย พิซซ่า น้้าอัดลม นม ถั่วต่างๆ
  • 13. อำหำรโซเดียมสูง เกลือ น้้าปลา/ซอสปรุงรสต่างๆ ผงชูรส/ซุปก้อน อาหารหมักดอง อาหารแห้ง ขนมขบเคี้ยว
  • 14. พลังงำน ผู้ป่วยโรคไตเรือรัง อาจมีอาการเบื่ออาหารทาให้เกิด ้ ภาวะขาดอาหารได้ ดังนั้นผู้ป่วยจึงจาเป็นที่จะต้องได้รับอาหาร ในปริมาณที่เพียงพอ เพื่อให้อวัยวะต่างๆในร่างกาย สามารถทางานได้เป็นปกติ กำรก้ำหนดพลังงำน ให้ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังแนะนาให้ 35-40 กิโลแคลอรี่ ต่อน้าหนักตัว1 กิโลกรัม ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยหนัก 40 กิโลกรัม ดังนั้นผู้ป่วยควรได้พลังงาน = 40 x 35 = 1,440 กิโลแคลอรี่ต่อวัน แต่ถ้าต้องการพลังงานมากกว่านี้ก็คูณน้าหนักตัวด้วย 40 กิโลแคลอรี่ ก็ได้เช่นกัน
  • 15. แบบแผนอาหารสาหรับผู้ที่เป็นโรคไต โปรตีน 30 กรัม พลังงาน เนื้อสัตว์ ข้าว-แป้ง ผัก ผลไม้** น้ามัน น้าตาล แป้ง (แคลอรี) (ช้อนโต๊ะ) (ทัพพี) (ทัพพี) (ส่วน) (ช้อนชา) (ช้อนชา) ปลอด โปรตีน (ทัพพี) 1600 3 5 2.5 1 10 8 4 1800 3 5 2.5 1 11.5 9 5.5 โปรตีน 40 กรัม พลังงาน เนื้อสัตว์ ข้าว-แป้ง ผัก ผลไม้** น้ามัน น้าตาล แป้ง (แคลอรี) (ช้อนโต๊ะ) (ทัพพี) (ทัพพี) (ส่วน) (ช้อนชา) (ช้อนชา) ปลอด โปรตีน (ทัพพี) 1600 5 5 4 2 9 8 2 1800 5 5 4 2 11 9 ** ผลไม้ 1 ส่วน = สัปปะรด, มะละกอ 6-8 ชิ้นคา, ส้ม 1 ผล, ฝรั่ง ½ ลูก, ชมพู่ 3 ผล, แอปเปิ้ล 1 ผล, องุน12 เม็ด ่ 3.5