SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 20
Descargar para leer sin conexión
ปี ที่ 3 ฉบับที่ 6 สิงหาคม 2560
ความมั่นคงของรัฐชาติ
และอธิปไตยในตะวันออกกลาง
ย้อนมองผลสะท้อนจากอาหรับสปริงส์
ซาอุดิอาระเบีย ตุรกี และอินโดนีเซีย
สามชาติมุสลิมที่กาลังผงาด
เอเชียกลางและบทบาทของจีน
บทบาทของจีนในอาเซียน
กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
i | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017
ยุวดี คาดการณ์ไกล
ปลายฟ้า บุนนาค
ปลายฟ้า บุนนาค
ปาณัท ทองพ่วง
อุสมาน วาจิ
ปลายฟ้า บุนนาค
http://shoebat.com/wp-content/
uploads/2015/05/f-ramadan-a-20140704.jpg
http://www.uidownload.com/free-vectors/
mosque-vector-194253
สิงหาคม 2560
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
http://rsu-brain.com/
Tel. (+66) 2938 8826
Fax. (+66) 2938 8864
บรรณาธิการ
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการ
ออกแบบและจัดรูปเล่ม
ภาพปก
เผยแพร่
CONTACT US
ภาพปกใน
WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 | ii
สถาบันคลังปัญญาฯ ได้เผยแพร่งานวิจัยจากผู้ช่วยนักวิจัยของสถาบันคลังปัญญา 3 ฉบับ ได้แก่ บทบาทจีนใน
อาเซียน บทบาทจีนในเอเชียกลาง และสามชาติมุสลิมที่กาลังผงาด โดยได้สรุปย่อมาไว้ใน World Think Tank Moni-
tor ฉบับนี้เพื่อให้ผู้อ่านได้อ่านกัน นอกจากนี้ ยังมีงานเรื่อง ความมั่นคงของรัฐชาติและอธิปไตยในตะวันออกกลาง ย้อนมอง
ผลสะท้อนจากอาหรับสปริงส์
เชิญติดตามเนื้อหาด้านในได้เลยค่ะ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
1
4
12
9
1 | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017
เป็นเวลาราว 6 ปีแล้วที่เหตุการณ์อาหรับ
สปริงส์หรือคลื่นการปฏิวัติเพื่อเรียกร้องการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยได้เกิดขึ้นในภูมิภาคตะวันออก
กลาง อย่างไรก็ตาม นอกจากประเทศตูนีเซียที่
ประสบความสาเร็จในการสถาปนาประชาธิปไตย
แล้ว ประเทศอื่น ๆ กลับไม่สามารถปฏิรูประบอบ
การเมืองได้ ซ้าร้ายในบางประเทศระบอบเดิมนั้นทวี
อานาจมากขึ้นและเสถียรภาพของประเทศตกต่าลง
กว่าเดิม นอกจากระบอบการเมืองภายในประเทศที่
ได้รับผลกระทบแล้ว ดุลอานาจในภูมิภาคตะวันออก
กลางโดยรวมก็ได้รับผลกระทบเช่นเดียวกัน
เนื่องจากบางรัฐที่อยู่ในสภาวะใกล้เคียงกับสภาวะรัฐ
ล้มเหลว เช่น ซีเรีย และ เยเมน จนเกิดการ
แทรกแซงจากมหาอานาจทั้งในและนอกภูมิภาค
ตลอด 6 ปีที่ผ่านมาภายหลังอาหรับสปริงส์
นั้นภูมิภาคตะวันออกกลางไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป
เนื่องจากมีความท้าทายหลายประการที่รัฐต้อง
ประสบ ไม่ว่าจะเป็น ภาวะสุญญากาศทางการเมือง
กลุ่มติดอาวุธข้ามชาติ การแทรกแซงจากภายนอก
เช่นนี้แล้วรัฐในตะวันออกกลางจะยังคงรักษา
อธิปไตยของชาติไว้ได้หรือไม่ ? คาถามนี้มิได้สาคัญ
ต่อภูมิภาคตะวันออกกลางเท่านั้น แต่ยังสาคัญกับ
มหาอานาจทั่วโลกเนื่องด้วยตะวันออกกลางเป็น
แหล่งน้ามันและแหล่งเงินทุนสาคัญอีกด้วย และยัง
สาคัญต่อการวิพากษ์กรอบคิดในทางศาสตร์
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศว่าสามารถอธิบาย
ปรากฏการณ์ได้ถูกต้องเพียงใด
ความมั่นคงของรัฐชาติ
ที่มาภาพ https://ceasefiremagazine.co.uk/wp-content/uploads/Egypt-Victory.jpg
WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017| 2
โครงสร้างที่ยังคงเดิม
ภายหลังจากอาหรับสปริงส์เกิดขึ้นไม่นาน มี
การคาดการณ์โดยเฉพาะจากนักวิชาการและสื่อใน
โลกตะวันตกว่าอาหรับสปริงส์จะทาให้รัฐใน
ตะวันออกกลางแตกเป็นประเทศใหม่ ๆ เนื่องจาก
เสถียรภาพของรัฐที่ตกต่าลงและประชาชนส่วนมาก
นั้นไม่ยอมรับผู้ปกครองของตนอีกต่อไป แต่ใน
ปัจจุบันเป็นที่ชัดว่านี่เป็นการคาดการณ์ที่ผิด แม้จะมี
ความท้าทายหลายประการต่อรัฐชาติแต่ในท้ายที่สุด
แล้วก็ยังรักษามิให้เส้นพรมแดนต้องถูกเขียนขึ้นใหม่
สาเหตุสาคัญคือการที่ประชาชนจะลุกฮือประท้วงก็
ต่อเมื่อความต้องการในระดับพื้นฐานของตนนั้นไม่ถูก
ตอบสนอง การที่โครงข่ายขั้วอานาจเก่าซึ่งยังถือ
ครองอานาจและทรัพยากรอยู่มากไม่ยอมล่าถอยจาก
การเมือง และชาติมหาอานาจเองก็ไม่อยากที่จะ
ทาลายโครงสร้างอานาจเดิมเพราะเกรงจะกระทบ
ผลประโยชน์ของตน ทั้งมหาอานาจภายในภูมิภาค
ได้แก่ อิสราเอล อิหร่าน ตุรกี และซาอุดิอาระเบีย
ที่ต้องอาศัยโครงสร้างอานาจเดิมในภูมิภาคเพื่อค้าจุน
สถานะของตน มหาอานาจภายนอกภูมิภาคเช่น
สหรัฐฯ และ ชาติยุโรป ก็หวังเช่นนั้นแม้จะเรียกร้อง
ให้ผู้นารัฐต่าง ๆ เคารพสิทธิมนุษยชนอยู่อย่าง
เปิดเผยก็ตาม ส่วนรัสเซีย จีน และชาติมหาอานาจ
ใหม่ ต่างพึ่งพาน้ามันจากตะวันออกกลาง จึงไม่
ต้องการให้เกิดความวุ่นวายขึ้นซึ่งจะกระทบราคา
น้ามันแน่นอน ยิ่งไปกว่านั้นในตะวันออกกลางมี
ภาวะ“ซ้อนทับ”ของมหาอานาจอยู่ กล่าวคือแม้จะมี
การแข่งกันขยายอานาจมาโดยตลอดจากมหาอานาจ
ทั้งในและนอกภูมิภาคซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของความไร้
ระเบียบที่เกิดขึ้น แต่ไม่มีชาติใดที่มีอานาจพอที่จะ
กาหนดความเป็นไปของภูมิภาคอย่างเบ็ดเสร็จ
ปัจจัยเหล่านี้ทั้งที่เป็นปัจจัยภายในและ
ระหว่างประเทศ ทาให้ระบอบเผด็จการ รัฐชาติ และ
เส้นพรมแดนในภูมิภาค ที่แม้จะเผชิญความท้าทาย
อยู่เสมอและมีความผันแปรบางประการ แต่จะไม่มี
การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างขนาดใหญ่ การแบ่ง
เขตแดนอันเป็นผลสืบเนื่องจากสนธิสัญญา “Sykes
-Picot” ที่แบ่งดินแดนของอาณาจักร Otto-
man ออกเป็นรัฐย่อย ๆ ในปี 1916 ยังคงเป็น
ที่มาภาพ http://webpublicapress.net/now-facing-new-middle-east-geopolitical-reality/
Zine El Abidine Ben Ali
ผู้นาตูนีเซีย
Hosni Mubarak
ผู้นาอียิปต์
Muammar Gaddafi
ผู้นาลิเบีย
Bashar Al-Asad
ผู้นาซีเรีย
Ali Abdullah Saleh
ผู้นาเยเมน
3 | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017
เช่นเดิม แม้จะมีบางช่วงที่รัฐนั้นอยู่ในภาวะที่ย่าแย่
แต่มีแนวโน้มว่าวันหนึ่งรัฐจะกลับมาอยู่ในภาวะที่มี
เสถียรภาพขึ้นมากกว่าการที่รัฐจะเดินไปสู่การล่ม
สลาย ตัวอย่างที่ชัดเจนคือการคาดว่าประเทศซีเรีย
จะแตกออกเป็นประเทศย่อย ๆ จากการขยาย
อานาจขอบขบวนการรัฐอิสลาม (IS) อย่างไรก็ตาม
ในปัจจุบันมีแนวโน้มว่าขบวนการนี้จะอ่อนกาลังลง
ส่วนรัฐบาลบัชชาร อัล อะสัด จะกลับมามีอานาจ
เหนือซีเรียอีกครั้ง
การที่ระบุว่าประเทศใดประเทศหนึ่งเป็นรัฐ
ล้มเหลวแล้วใช้เป็นใบเบิกทางในการเข้าแทรกแซง
ประเทศนั้น ๆ อาจเป็นข้ออ้างเพื่อการเข้าแสวงหา
ประโยชน์ของชาติมหาอานาจก็เป็นได้ ที่นอกจากจะ
แก้วิกฤติการณ์ไม่ได้แล้วยังจะยิ่งเพิ่มปัญหาซับซ้อน
ไปกว่าเดิม จึงต้องระวังการใช้กรอบทฤษฎีเรื่องรัฐ
ล้มเหลวมิให้กลายเป็นเครื่องมือของการขูดรีด
แทนที่จะเป็นการรักษาระเบียบให้รัฐและโลกตาม
จุดมุ่งหมายเดิมของทฤษฎี
ภาพแสดงอาณาเขตของอาณาจักร Ottoman (สีเขียว)
เมื่อเทียบกับเส้นพรมแดนในปัจจุบัน
หรืออาหรับสปริงส์จะสูญเปล่า ?
อย่างไรก็ตาม ใช่ว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ใด ๆ เกิดขึ้นเลยในระดับการเมืองภายในประเทศ
แม้การเดินขบวนประท้วงจะจบลงไปแล้วเนื่องจาก
ความสูญเสียจากการปะทะกันระหว่างฝ่ายประชาชน
ที่ต้องการเห็นการเปลี่ยนแปลงและผู้ปกครองที่
ต้องการรักษาอานาจเดิม แต่ประชาชนในตะวันออก
กลางนั้นมีการตื่นตัวทางการเมืองสูงขึ้น มีการ
รวมกลุ่มทางสังคมมากขึ้น และมีความคาดหวังว่า
การเมืองนั้นต้องทาให้คุณภาพชีวิตของตนดีขึ้นได้
เหล่านี้แม้ไม่ทาให้เกิดการเรียกร้องประชาธิปไตย
แบบเดิมอีกในอนาคตอันใกล้ แต่การเคลื่อนไหว
ทางการเมืองในรูปแบบใหม่ ๆ ที่สอดคล้องกับ
บริบทของพื้นที่ยังคงมีอยู่อย่างเนื่อง และเป็นคลื่น
ใต้น้าที่วันหนึ่งจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางเมือง
อีกครั้ง
ผลกระทบต่อไทยและอาเซียน
จากเนื้อหาข้างต้นทาให้ทราบว่าเสถียรภาพของ
รัฐในตะวันออกกลางจะค่อย ๆ ดีขึ้น นั่นหมายรวมว่า
กลุ่มติดอาวุธต่าง ๆ ซึ่งเคยครองพื้นที่และอานาจที่
เข้มแข็งกาลังอยู่ในภาวะถดถอย และสมาชิกของกลุ่ม
เหล่านั้นจานวนหนึ่งคือพลเมืองของรัฐในอาเซียน
โดยเฉพาะ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ หาก
กลุ่มหลักคือขบวนการรัฐอิสลาม (IS) ล่มสลายลงแล้ว
ย่อมเป็นไปได้ว่าสมาชิกของกลุ่มที่เป็นพลเมืองใน
อาเซียนจะกลับมายังมาตุภูมิแล้วร่วมมือกับกลุ่มติดอาวุธ
ในพื้นที่ซึ่งมีอยู่แล้ว อันจะส่งผลลบต่อความมั่นคงใน
ภูมิภาคอาเซียนต่อไป รวมถึงประเทศไทยที่แม้ยังมี
ความเสี่ยงน้อยกว่าสามประเทศที่กล่าวมาแล้ว แต่เหตุ
ระเบิด ณ แยกราชประสงค์ในปี 2015 ได้ให้บทเรียน
ว่าไม่ควรประมาทว่าประเทศไทยจะปลอดภัยจากการก่อ
การร้ายได้ เนื่องจากมีชาวต่างชาติซึ่งเป็นเป้าหมายของ
การก่อการร้ายเดินทางมาท่องเที่ยวจานวนมาก อีกทั้ง
ไทยมีพรมแดนที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้านโดยรอบเป็น
ระยะทางทางหลายพันกิโลเมตรและมักเป็นป่าเขาซึ่ง
ง่ายต่อการหลบหนีเข้า-ออกประเทศอีกด้วย
ที่มา Louise Fawcett, States and sover-
eignty in the Middle East: myths and
realities https://www.chathamhouse.
org/publication/ia/states-and-
sovereignty-middle-east-myths-and-
realities
WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017| 4
และบทบาทของจีน
เอเชียกลาง (Central Asia หรือ
บางแหล่งยังเรียกว่า Middle Asia) เป็น
ดินแดนที่คนไทยแทบจะไม่รู้จัก ไม่แน่ใจว่าอยู่
ส่วนใดของโลก นึกภาพดินแดน บ้านเมือง
และหน้าตาของผู้คนที่นั่นก็ไม่ออก และไม่
เฉพาะคนไทย เชื่อว่าคนส่วนใหญ่ในโลกก็ไม่
ค่อยมีใครรู้จักดินแดนนี้ World Think
Tank Monitor ฉบับนี้จะพาท่านไปรู้จัก
เอเชียกลาง ภูมิภาคที่มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า
“ยูเรเซีย” เพราะเชื่อมระหว่างยุโรปกับเอเชีย
ดินแดนแห่งชนเผ่าและทุ่งหญ้าสเต็ปป์อัน
ไพศาล อดีตหลังบ้านของสหภาพโซเวียต
แผ่นดินแห่งบรรดาประเทศ “สถาน” เกิดใหม่
ห้าประเทศที่ไม่ใคร่จะมีใครรู้จักมากนัก
(คาซัคสถาน เติร์กเมนิสถาน อุซเบกิสถาน
เคอร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน) และดินแดน
ที่เป็นกุญแจสาคัญในมหายุทธศาสตร์เส้นทาง
สายไหมใหม่ของจีนในศตวรรษที่ 21
ภาพ เอเชียกลาง ในแผนที่โลก
ที่มาภาพ https://en.wikipedia.org/wiki/
Central_Asia#/media/File:Central_Asia_
(orthographic_projection).svg
5 | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017
ในวันที่คนพูดกันมากถึงเรื่องการกลับคืนมา
ของเส้นทางสายไหม และการกลับมานั้นก็ดูจะเป็น
จริง และจริงขึ้นเรื่อยๆ ด้วยการมุ่งหน้าดาเนิน
โครงการ One Belt One Road ของจีนอย่าง
ไม่หยุดยั้ง อย่างน้อยนับแต่การประกาศเมื่อปี
2013 (ซึ่งประธานาธิบดีสีจิ้นผิงของจีนเลือก
ประกาศเส้นทางสายไหมทางบกที่มหาวิทยาลัยนา
ซาร์บาเยฟ ประเทศคาซัคสถาน ในเอเชียกลาง
นี่เอง) ทาให้มีความตื่นตัวในวงวิชาการที่ศึกษา
ติดตามเรื่องเส้นทางสายไหมใหม่และเอเชียกลางใน
ฐานะที่เป็นกุญแจสาคัญดอกแรก เป็นพื้นที่หน้าด่าน
ที่จะเปิดออกไปยังโลกในยุคที่จีนสมัยสีมียุทธศาสตร์
ก้าวออกสู่โลก ไปทางตะวันตกเป็นหลัก และหนึ่งใน
นั้นก็คือบรรดา Think Tank ด้านนโยบาย
ทั้งหลายไม่ว่าในตะวันตกและตะวันออก World
Think Tank ฉบับนี้จะขอสรุปเอาสาระบางส่วน
จากการศึกษาเรื่องเอเชียกลางกับบทบาทของจีน ใน
รายงานวิจัยเรื่อง บทบาทของจีนในเอเชียกลาง ของ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ Think
Tank ของไทย และจาก Policy Contribu-
tion เ รื่ อ ง Central Asia at 25 โ ด ย
Uuriintuya Batsaikhan and Marek
Dabrowski นักวิจัยของ Brugel Think
Tank ของสหภาพยุโรป มานาเสนอครับ
Brugel นั้นเป็น Think Tank ของ
สหภาพยุโรป ซึ่งเป็นหนึ่งในมหาอานาจที่คลุกคลีกับ
ภูมิภาคเอเชียกลางมากที่สุดสามลาดับต้น (รองจาก
รัสเซีย และจีน (ไม่เรียงตามลาดับ) โดยเฉพาะ
การค้าขายกับภูมิภาคแห่งนี้มานานพอสมควรตั้งแต่
ประเทศเหล่านี้ได้รับเอกราชมาครบ 25 ปี ในปี
2017 นี้ จึงรู้จัก ศึกษา และติดตามความ
เปลี่ยนแปลงของเอเชียกลางมาพอสมควร ในภาพ
ใหญ่ Brugel ตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงของ
อานาจภายนอกที่เข้ามามีอิทธิพลอยู่ในเอเชียกลาง
ภายหลังเป็นเวลาสองร้อยปีที่รัสเซีย ตั้งแต่ยุค
จักรวรรดิซาร์มาถึงยุคโซเวียต “ครอบงา” เอเชีย
กลางอยู่แต่เพียงหนึ่งเดียว เป็นคู่ค้าและที่พึ่งพิง
อันดับหนึ่งของทุกประเทศในเอเชียกลาง แต่ยี่สิบปี
หลัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งทศวรรษหลังมานี้ บทบาท
และอิทธิพลจีนเติบโตขยายตัวอย่างรวดเร็วในเอเชีย
กลาง ผ่านการลงทุนด้านพลังงานและโครงสร้าง
พื้นฐานเป็นหลัก จนใกล้และแซงหน้าบทบาทรัสเซีย
ในหลายๆ ด้านแล้ว จากข้อมูลในปี 2015 การค้า
รวมระหว่างจีนกับเอเชียกลางได้แซงหน้ารัสเซียไป
แล้ว (ดูตารางที่ 1)
ที่มา : http://container-news.com/wp-content/uploads/2016/04/6-Ningbo-Zhoushan-660x330.jpg
ตารางที่ 1 การค้ารวม (ผลรวมการนาเข้าและส่งออก) ระหว่างเอเชียกลางกับรัสเซียและจีน
ที่มา http://bruegel.org/wp-content/uploads/2017/05/PC-13-2017.pdf
WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017| 6
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
อันที่จริง เอเชียกลางเป็นภูมิภาคที่มีความสาคัญมากทางภูมิรัฐศาสตร์ของโลกมาช้านาน เพราะอยู่
ระหว่างเอเชียและยุโรปในแกนนอน และระหว่างรัสเซียกับตะวันออกกลางในแกนตั้ง ภูมิภาคนี้จึงมีอีกชื่อว่า
“ยูเรเซีย (Eurasia)” ที่มาจากคาว่ายุโรปบวกเอเชีย เอเชียกลางเป็นดินแดนที่ไม่มีทางออกทะเล (land
locked) แต่มีสถานะเป็น “สะพานเชื่อม” (land bridge) ทางบกระหว่างอารยธรรม จักรวรรดิ และ
มหาอานาจตั้งแต่สมัยโบราณถึงปัจจุบัน เอเชียกลางนั้นเป็นเพื่อนบ้านของจีนทางตะวันตก มีพรมแดนติดกับจีน
สามประเทศ คือ คาซัคสถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน ซึ่งทั้งหมดติดกับมณฑลซินเจียงของจีน เอเชีย
กลางมีขนาดใหญ่ราวเกือบครึ่งหนึ่งของจีน (ประมาณ 8 เท่าของไทย) เป็นดินแดนที่กว้างใหญ่แต่แห้งแล้ง
และมีประชากรน้อยเพียง 68 ล้านคน
เชื่อกันว่า จีนรู้จักเอเชียกลางครั้งแรก ผ่านการเดินทางบุกเบิกดินแดนตะวันตกอันลือเลื่องของ Zhang
Qian ตัวแทนของจักรพรรดิหวู (Hun Wudi) แห่งราชวงศ์ฮั่น เมื่อราว 200 ปีก่อนคริสตกาล และ
พัฒนาความสัมพันธ์ใกล้ชิดติดต่อกับเอเชียกลางต่อมาในยุคที่เส้นทางสายไหมโบราณรุ่งเรืองเมื่อ 2,000 ปี
มาแล้ว แต่ความสัมพันธ์จีนกับภูมิภาคเพื่อนบ้านทางตะวันตกแห่งนี้ซบเซาลงไปพร้อมๆ กับความเสื่อมของ
เส้นทางสายนั้น และฟื้นกลับมาอีกครั้งนับแต่สถาปนาความสัมพันธ์ในทศวรรษ 1990 จัดการเรื่องการปักปัน
เขตแดนกับสามประเทศที่ติดกับจีนในช่วงสิบปีหลังจากนั้น และเริ่มเข้าไปมีบทบาทโดยใช้เศรษฐกิจเป็นตัว
นามาตั้งแต่นั้น
ที่มาภาพ http://www.freeworldmaps.net/asia/central/centralasia-physical-map.jpg
7 | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017
ปัจจุบัน นอกจากจีนจะเป็นคู่ค้าอันดับ 1
ของเอเชียกลางแล้ว จีนยังเป็นผู้ลงทุน FDI อันดับ
1 ใน 3 ประเทศของเอเชียกลาง คือ เคอร์กีซ
สถาน (24 เปอร์เซ็นต์) เติร์กเมนิสถาน (39
เปอร์เซ็นต์) และทาจิกิสถาน (21 เปอร์เซ็นต์)
และเป็นผู้ลงทุนอันดับ 5 ในคาซัคสถาน (4.6
เปอร์เซ็นต์) และอันดับ 6 ในอุซเบกิสถาน (4
เปอร์เซ็นต์) ในภาพรวม บทบาทของจีนในเอเชีย
กลางในยุคปัจจุบันจาแนกได้เป็นด้านสาคัญคือ
บทบาทด้านพลังงาน (น้ามันและก๊าซธรรมชาติ)
บทบาทด้านโครงข่ายคมนาคมและโครงสร้างพื้นฐาน
บทบาทด้านความมั่นคง รวมทั้งบทบาทด้าน Soft
Power บทบาทแต่ละด้านนั้นสัมพันธ์ส่งเสริมกัน
รวมทั้งยืนอยู่บนพื้นฐานของความสาคัญเชิงภูมิ
รัฐศาสตร์ของเอเชียกลางต่อจีน
ปัจจุบัน จีนเป็นประเทศที่บริโภคพลังงาน
มากลาดับต้นของโลก โดยนาเข้าน้ามันดิบเป็นอันดับ
1 ของโลก และบริโภคเป็นอันดับสอง รองจาก
สหรัฐ และนาเข้าและบริโภคก๊าซธรรมชาติเป็นอันดับ
3 ของโลก จีนให้ความสาคัญกับ “ความมั่นคงด้าน
พลังงานของประเทศ” และพยายามกระจายแหล่ง
นาเข้าพลังงาน เอเชียกลางในฐานะภูมิภาคที่อุดม
ด้วยพลังงานทั้งน้ามันและก๊าซและอยู่ติดกับจีน ง่าย
ต่อการขนส่ง จึงเป็นที่ที่จีนเข้าไปเอาพลังงานมาก
โดยผ่าน “ท่อส่งน้ามันคาซัคสถาน-จีน” ความยาว
3,000 กม. จากแหล่งน้ามันริมทะเลแคสเปียนของ
คาซัคสถานข้ามมาเข้าที่มณฑลซินเจียง ก่อนจะ
กระจายไปป้อนภายในของจีน และ ““ท่อส่งก๊าซ
เอเชียกลาง-จีน (China-Central Asia
Gas Pipeline)” จากแหล่งหลักในเติร์กเมนิ
สถาน มาเข้าที่ซินเจียงเช่นกัน
ในด้านเครือข่ายคมนาคมและขนส่งซึ่งเป็น
ด้านที่จีนเข้าไปลงทุนในเอเชียกลางมากที่สุดนั้น จีน
เข้าไปสร้างถนน ทางรถไฟ ด่านการค้าทางบก
เชื่อมต่อระหว่างเอเชียกลางกับจีน และภายในเอเชีย
กลางเองมากมาย ทั้งหมดนี่เป็นส่วนหนึ่งของ
ยุทธศาสตร์ One Belt One Road ซึ่งพาด
ผ่านเอเชียกลาง ก่อนจะออกไปสู่ตะวันออกกลาง
เอเชียใต้ ยุโรป โครงการสาคัญ เช่น การพัฒนา
ด่านคอโกส (Khorgos/Horgos) ด่านการค้า
ใหญ่ชายแดนจีน-คาซัคสถาน ให้เป็นศูนย์กลางการ
ขนส่งสินค้าบนเส้นทางสายไหมใหม่ รถไฟขนส่ง
สินค้าสาย Khorgos-Aktau และ โครงการทาง
รถไฟสายจีน-เคอร์กีซสถาน-อุซเบกิสถาน เป็นต้น
โครงการเหล่านี้มีทั้งที่สาเร็จเริ่มเปิดใช้แล้ว และ
กาลังดาเนินการ
ด้านความมั่นคง บริเวณหุบเขาเฟอร์กานา
รอยต่อระหว่างอุซเบกิสถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิ
กิสถาน เป็นพื้นที่ซ่องสุมของ “สิ่งชั่วร้ายทั้งสาม”
คือ ขบวนการก่อการร้าย ขบวนการสุดโต่ง และ
ขบวนการแบ่งแยกดินแดน ทั้งที่เกี่ยวและไม่
เกี่ยวกับขบวนการแบ่งแยกอุยกูร์ในซินเจียง
นอกจากนี้ เอเชียกลางทางตอนใต้ยังอยู่ติดกับ
อัฟกานิสถาน ซึ่งอยู่ในภาวะสู้รบมายาวนาน ซึ่งทา
ให้จีนกังวลต่อการแพร่กระจายของกลุ่มหัวรุนแรง
ขบวนการลักลอบขนอาวุธ และยาเสพติด เข้ามาใน
เอเชียกลาง และในจีน โดยเฉพาะที่อาจเชื่อมโยง
กับกลุ่มหัวรุนแรงอุยกูร์ในซินเจียง ในปี 2016 จีน
ได้สร้างกลไกความร่วมมือพหุภาคี 4 ฝ่ายด้าน
การทหาร การต่อต้านการก่อการร้าย และข่าวกรอง
ร่วมกับทาจิกิสถาน ปากีสถาน และอัฟกานิสถาน
ซึ่งรวมถึงการฝึกกองกาลังร่วมกันสาหรับต่อต้านการ
ก่อการร้าย และมีความร่วมมือด้านความมั่นคงผ่าน
กรอบองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ (Shanghai
Cooperation Organization: SCO) ซึ่ ง
ริเริ่มโดยจีน และมีรัสเซีย อินเดีย ปากีสถาน และ
ทุกประเทศเอเชียกลางเว้น เติร์กเมนิสถาน เป็น
สมาชิกในปัจจุบัน
ส่วนบทบาทในด้าน Soft Power นั้น
จีนก็ได้เข้าไปสร้างในเอเชียกลางเช่นกัน ถือเป็นตัว
ช่วยลดแรงเสียดทาน สร้างความเข้าใจระหว่างผู้คน
WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017| 8
และวัฒนธรรม อันจะช่วยให้ความร่วมมือในด้าน
อื่นๆ ง่ายขึ้น เช่น จีนเข้าไปตั้ง สถาบันขงจื่อ
สถาบันเผยแพร่ภาษาและวัฒนธรรมจีน สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการจีน ในลักษณะเดียวกับ Brit-
ish Council ของสหราชอาณาจักร Alliance
Française ของฝรั่งเศส สถาบันขงจื่อแห่งแรกใน
เอเชียกลางถูกตั้งขึ้นที่กรุงทาชเคนท์ของอุซเบกิสถาน
ในปี 2005 ปัจจุบัน จีนเข้าไปตั้งสถาบันขงจื่อใน
ทุกประเทศของเอเชียกลางแล้ว ยกเว้นเติร์กเมนิ
สถาน โดยมีอยู่ในคาซัคสถาน 4 แห่ง อุซเบกิส
ถาน 2 แห่ง เคอร์กีซสถาน 15 แห่ง และทาจิกิ
สถาน 2 แห่ง และปัจจุบันก็มีนักศึกษาชาวเอเชีย
กลางหลายพันคนกาลังศึกษาในมหาวิทยาลัยใน
ประเทศจีน
ไทยจะเรียนรู้อะไรได้บ้างจากการศึกษา
ความสัมพันธ์จีน-เอเชียกลาง
ความสัมพันธ์ในช่วงสองทศวรรษมานี้
ระหว่างจีนกับเอเชียกลางเป็นการรื้อฟื้นความสัมพันธ์
ในอดีตและเป็นการรื้อฟื้นแบบก้าวกระโดด มิใช่การ
ค่อยๆ กระชับความสัมพันธ์แบบธรรมดา ที่ทาได้
เช่นนั้นเพราะจีนเข้าหาเอเชียกลาง “อย่างมี
ยุทธศาสตร์” ที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม และเป็นองค์
รวม นั่นคืออภิมหายุทธศาสตร์ One Belt One
Road ที่แม้แน่นอนว่าการเข้าไปในเอเชียกลางของ
จีนจะเผชิญแรงเสียดทาน ต่อต้าน แต่เหนือกว่านั้น
ในภาพรวมคือ การเข้าไปของจีนช่วยสร้างความรู้สึก
ว่าเป็นโอกาสของการพัฒนาอย่างจริงจังสาหรับ
เอเชียกลาง
มองความสัมพันธ์จีนกับเอเชียกลางแล้วก็
มองย้อนกลับมาที่ความสัมพันธ์ไทยจีน บริบทของ
เอเชียกลางนั้นต่างจากเรา เอเชียกลางอยู่ในระดับ
การพัฒนาที่ตามหลังประเทศไทยมาก (ประเทศที่มี
ขนาดเศรษฐกิจใหญ่อันดับ 1 ของเอเชียกลาง วัด
จากกาลังซื้อจริง (GDP,PPP) คือ คาซัคสถาน
อยู่ที่อันดับ 41 ของโลก ขณะที่ไทยอยู่อันดับ 19
จากข้อมูลของธนาคารโลก ปี 2016) โครงสร้าง
เศรษฐกิจของเอเชียกลางก็ยังพึ่งการขายพลังงาน
น้ามัน ก๊าซ แร่ธาตุ และผลผลิตการเกษตรเป็นหลัก
ขณะที่เศรษฐกิจไทยมีโครงสร้างที่กระจาย
(diversifed) มากกว่า ทั้งอุตสาหกรรม บริการ
เกษตรกรรม การท่องเที่ยว ฯลฯ ของเราก้าวหน้า
กว่ามาก ที่กล่าวมานี้ก็เพื่อชี้ให้เห็นว่า แม้ในแง่หนึ่ง
ไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็เหมือนกับเอเชีย
กลางและอีกหลายๆ ภูมิภาคของโลกที่จีนเข้าหา แต่
ด้วยพื้นฐานที่ดีกว่าของเรา เราสามารถสร้าง กาหนด
ทิศทางความสัมพันธ์ของเรากับจีนให้ดีเป็นที่พอใจ
ของเรา สมฐานะของเราได้มากกว่าเอเชียกลาง อยู่ที่
เราต้องมีความคิดเชิงยุทธศาสตร์นั่นเอง
ปาณัท ทองพ่วง.บทบาทของจีนในเอเชียกลาง.
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ. ออนไลน์
http://rsu-brain.com/?
page_id=1064.
Uuriintuya Batsaikhan and Marek
Dabrowski. Central Asia at 25.
Brugel. ออนไลน์ http://bruegel.org/
wp-content/uploads/2017/05/PC-13
-2017.pdf
9 | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017
การที่จะประเมินว่าชาติใดชาติหนึ่งเป็นชาติที่
กาลังผงาด หรือ Rising Power นั้นมีปัจจัย
พิจารณาอยู่หลายปัจจัย เช่น ขีดความสามารถด้าน
การทหาร Soft Power แต่ปัจจัยที่สาคัญที่สุด
และเป็นฐานของปัจจัยอื่น ๆ คือเศรษฐกิจ เพราะ
เศรษฐกิจนั้นมีความสาคัญต่อความเจริญก้าวหน้าของ
รัฐมาก เนื่องจากเป็นปัจจัยสาคัญในการดาเนิน
นโยบายของรัฐ หากไม่มีงบประมาณเพียงพอก็ยาก
ที่จะดาเนินนโยบายต่าง ๆ ได้สาเร็จ และเศรษฐกิจ
ยังเป็นเครื่องมือในการดาเนินโยบายโดยตรงได้อีก
ด้วย ทั้งนี้เมื่อเรียงตามลาดับประเทศตามขนาด
เศรษฐกิจโดยธนาคารโลกแล้ว พบว่าใน 20
ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดมีประเทศมุสลิม
อยู่ด้วยกัน 3 ประเทศ คือ ซาอุดิอาระเบีย ตุรกี
และ อินโดนีเซีย
สาหรับประเทศซาอุดิอาระเบียนั้นมีจุดแข็ง
อยู่ที่การมีเงินทุนสารองจานวนมากจากการขาย
น้ามัน แม้ราคาน้ามันมีแนวโน้มจะลดลงอย่าง
ต่อเนื่อง แต่ด้วยเงินทุนสารองที่มีทาให้สามารถแปร
เงินจานวนนี้เป็นการสร้างเทคโนโลยีและดึงบุคลากร
จากต่างชาติที่มีความรู้ความสามารถเข้ามาพัฒนา
ประเทศได้ อีกทั้งยังใช้อานาจทางเศรษฐกิจที่มีไป
เสริมสร้าง Soft Power มากอย่างที่ไม่เคย
เป็นมาก่อน เช่น การเยือนประเทศจีน ญี่ปุ่น มัลดีฟ
และประเทศในกลุ่มอาเซียน แต่ซาอุดิอาระเบียเองก็
มีความท้าทายที่ต้องเผชิญอยู่เช่นกัน เช่น ในระยะ
ยาวแล้วจะพัฒนาศักยภาพของพลเมืองในชาติเองได้
หรือไม่ ชาวต่างชาติจะพอใจที่จะอาศัยในประเทศ
มากเพียงใด จะทาให้นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเกิด
ประโยชน์กับชาติได้อย่างไร ยังรวมถึงภัยจากความ
ขัดแย้งทั้งในประเทศและระหว่างประเทศโดยเฉพาะ
กับอิหร่าน ด้วยเหตุนี้การมีเศรษฐกิจที่ดีขึ้นเพียง
อย่างเดียวจึงไม่เพียงพอ ต้องเสริมสร้างให้ชาติมี
ความมั่นคงด้วย
สามชาติมุสลิมที่กาลังผงาด
WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017| 10
ภาพประเทศที่มี GDP มากที่สุดเป็นอันดับ 11 – 20
ที่มา ที่มา :GDP ranking. Retrieved Au-
gust 12, 2017, from http://
data.worldbank.org/data-catalog/GDP-
ranking-table
สาหรับประเทศซาอุดิอาระเบียนั้นมีจุดแข็ง
อยู่ที่การมีเงินทุนสารองจานวนมากจากการขาย
น้ามัน แม้ราคาน้ามันมีแนวโน้มจะลดลงอย่าง
ต่อเนื่อง แต่ด้วยเงินทุนสารองที่มีทาให้สามารถแปร
เงินจานวนนี้เป็นการสร้างเทคโนโลยีและดึงบุคลากร
จากต่างชาติที่มีความรู้ความสามารถเข้ามาพัฒนา
ประเทศได้ อีกทั้งยังใช้อานาจทางเศรษฐกิจที่มีไป
เสริมสร้าง Soft Power มากอย่างที่ไม่เคย
เป็นมาก่อน เช่น การเยือนประเทศจีน ญี่ปุ่น มัลดีฟ
และประเทศในกลุ่มอาเซียน แต่ซาอุดิอาระเบียเองก็
มีความท้าทายที่ต้องเผชิญอยู่เช่นกัน เช่น ในระยะ
ยาวแล้วจะพัฒนาศักยภาพของพลเมืองในชาติเองได้
หรือไม่ ชาวต่างชาติจะพอใจที่จะอาศัยในประเทศ
มากเพียงใด จะทาให้นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเกิด
ประโยชน์กับชาติได้อย่างไร ยังรวมถึงภัยจากความ
ขัดแย้งทั้งในประเทศและระหว่างประเทศโดยเฉพาะ
กับอิหร่าน ด้วยเหตุนี้การมีเศรษฐกิจที่ดีขึ้นเพียง
อย่างเดียวจึงไม่เพียงพอ ต้องเสริมสร้างให้ชาติมี
ความมั่นคงด้วย
ในกรณีของตุรกีนั้น ตุรกี หรือ สาธารณรัฐ
ตุรกี ตั้งอยู่ในพื้นที่ซึ่งมีความพิเศษเป็นอย่างมาก
เนื่องจากตั้งอยู่ระหว่างสองทวีปสาคัญของโลกนั่นคือ
เอเชียและยุโรป มีพรมแดนที่ติดกับประเทศถึง 8
ประเทศและมีทางออกทะเลถึงสามทาง ที่ตั้งของ
ตุรกีในปัจจุบันนั้นหากมองย้อนไปในอดีตจะพบว่า
เคยถูกสับเปลี่ยนหมุนเวียนตกอยู่ใต้การปกครองของ
หลายกลุ่มด้วยกัน ก่อนจะถูกปกครองด้วยชาวเติร์ก
นั้นดินแดนแห่งนี้เคยมีความสาคัญเป็นเมืองหลวง
ด้านตะวันออกของจักรวรรดิโรมันซึ่งยึดมั่นในศาสนา
คริสต์อีกด้วย ก่อนที่จะล่มสลายด้วยการยึดครองของ
ชาวเติร์กที่มาพร้อมกับศาสนาและวัฒนธรรมอิสลาม
ในที่สุดภายใต้อาณาจักรออตโตมัน ด้วยเหตุนี้เอง
ตุรกีจึงกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ดึงดูดนักท่องเที่ยว
จานวนมากให้เข้าไปสัมผัสความหลากหลายที่
ผสมผสานกันอย่างลงตัว และอาศัยจุดเด่นเรื่องภูมิ
รัฐศาสตร์ที่อยู่ระหว่างทวีปเอเชียและยุโรป ทาให้
สามารถใช้ข้อได้เปรียบนี้ต่อทั้งสองภูมิภาคเพื่อการ
เสริมสร้างเศรษฐกิจและอิทธิพลของตน เช่น การ
เปิดรับการลงทุนจากโลกอาหรับและการส่งสินค้าไป
ยังยุโรป
ส่วนอินโดนีเซียที่ยังดูไม่โดดเด่นนักใน
ปัจจุบัน แต่ด้วยการเป็นประเทศที่มีประชากรและ
ทรัพยากรจานวนมาก ประกอบกับโครงสร้างพื้นที่
ฐานที่ดีขึ้นเรื่อย ๆ ได้ดึงดูดให้ต่างชาติเข้ามาลงทุน
มากขึ้นเป็นลาดับ เมื่อเงินทุนต่างชาติมากขึ้นย่อม
หมายถึงเศรษฐกิจที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องจนคาดการณ์
ว่าในทศวรรษหน้าอินโดนีเซียจะกลายเป็นผู้นา
อาเซียนได้ไม่ยากนัก และดังที่กล่าวไปแล้วว่าปัจจัย
ทางเศรษฐกิจคือฐานสาคัญของการดาเนินนโยบาย
ระหว่างประเทศ แน่นอนว่าจะพัฒนาการในหลาย ๆ
ด้านเกิดขึ้นกับอินโดนีเซียตามมาแน่นอน แต่สิ่งที่
ต้องระวังคือเมื่อกลุ่มก่อการร้ายในตะวันออกกลาง
กาลังถูกบีบให้ต้องสลายตัวลง ทาให้สมาชิกกลุ่มที่
จานวนหนึ่งเป็นชาวอินโดนีเซียจะกลับมาขยาย
แนวคิดก่อการร้ายในประเทศ รวมถึงการร่วมมือกับ
กลุ่มแบ่งแยกดินแดนอื่น ๆ ในอาเซียนได้
เมื่อมองในภาพรวมของโลกมุสลิมจะเห็นว่า
มีความพยายามสร้างความร่วมมือระหว่างกันมากขึ้น
11 | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017
โดยเฉพาะในทศวรรษที่ผ่านมาซึ่งโลกมุสลิมเกิด
ปัญหาหลายประการและความช่วยเหลือจากประเทศ
ภายนอกนั้นไม่สามารถจัดการปัญหาได้ ซ้าร้ายยังทา
ให้สถานการณ์เลวร้ายมากขึ้น เช่น สงครามอิรัก
สงครามกลางเมืองลิเบีย สงครามกลางเมืองซีเรีย
ซึ่งสุดท้ายแล้วผลเสียที่เกิดขึ้นก็จะกระทบกับโลก
มุสลิมเอง ด้วยเหตุนี้เองจึงผลักดันให้ชาติมุสลิมชั้น
นาที่กาลังมีบทบาทในเวทีโลกมากขึ้น เช่น
ซาอุดิอาระเบีย ตุรกี และอินโดนีเซีย แสดงบทบาท
ในการเป็นผู้ประสานโลกมุสลิมและร่วมกันแก้ปัญหา
ที่เกิดขึ้น อันจะทาให้ในระยะยาวโลกมุสลิมใน
ภาพรวมจะมีพัฒนาการที่ดีขึ้นเช่นกัน
สาหรับประเทศไทย ควรตระหนักว่าในโลก
ยุคโลกาภิวัตน์นี้การผงาดขึ้นของชาติใดชาติหนึ่งมัก
หนีไม่พ้นการเกี่ยวข้องกับ
ชาติอื่น ๆ ทั้งในแง่ความ
ร่วมมือและความขัดแย้ง
โดยประเทศไทยนั้นมี
พื้นฐานที่พร้อมสาหรับการ
เข้าเป็นส่วนหนึ่งของกระแส
การเจริญก้าวหน้าของโลก
ภาพ กษัตริย์ Salman แห่งราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบียเสด็จเยือนอินโดนีเซียเมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา
ที่มาภาพ https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Salman_Jokowi_2017.jpg
WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017| 12
ความสัมพันธ์ระหว่างจีน-อาเซียน ได้
พัฒนาและเติบโตมากว่า 25 ปี ความร่วมมือ
ครอบคลุมทั้งด้านเศรษฐกิจ การค้า วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี ความมั่นคง และการเป็นหุ้นส่วนทาง
ยุทธศาสตร์ ความสาคัญของอาเซียนต่อจีน
เนื่องจากอาเซียนเป็นตลาดขนาดใหญ่ของจีน ที่มี
ประชากรราว 600 กว่าล้านคน ในด้านภูมิ
รัฐศาสตร์ (Geopolitics) อาเซียนก็ตั้งอยู่กลาง
ระหว่างสองอารยธรรมยิ่งใหญ่ คือ จีนกับอินเดีย มี
ทางออกสู่ทั้งทะเลอันดามันและมหาสมุทรอินเดีย
และอาเซียนมีความใกล้ชิดกับจีนทางวัฒนธรรมอีก
ด้วย ด้วยเหตุนี้ เมื่อจีนมีความเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดด อาเซียนจึงเป็นพื้นที่
แรกๆ ที่จีนเข้ามาลงทุน ด้วยการสนับสนุนจาก
รัฐบาล ไม่ว่าจะเป็นนโยบาย Going Out ที่รัฐ
จีนสนับสนุนด้านภาษีและการเงินให้บริษัทจีนที่
ออกมาลงทุนข้างนอก รวมถึงนโยบาย Soft
Power ที่มาในรูปแบบการช่วยเหลือด้านการเงิน
แก่ประเทศที่ด้อยกว่า โดยเฉพาะประเทศในแถบ
อาเซียน ซึ่งในงานชิ้นนี้เลือกศึกษามาเลเซีย พม่า
กัมพูชา และลาว เนื่องจากประเทศเหล่านี้เป็นเพื่อน
บ้านที่มีชายแดนติดกับประเทศไทย การเข้ามามี
บทบาทของจีนอาจส่งผลกระทบหรือเป็นโอกาส
สาหรับไทยได้ โดยจะศึกษาบทบาทจีนในด้าน
พลังงาน โครงสร้างพื้นฐาน การทหารและความ
มั่นคง อสังหาริมทรัพย์ และเศรษฐกิจ
ด้านพลังงานและแร่ธาตุ จีนเข้ามาลงทุนใน
ด้านพลังงานในพม่าหลายโครงการ อาทิ โครงการ
ก่อสร้างท่อส่งก๊าซธรรมชาติ (ปัจจุบันเปิดใช้แล้ว)
โครงการก่อสร้างท่อส่งน้ามันดิบ โครงการโรงไฟฟ้า
ที่มาภาพ https://cdn.mainichi.jp/vol1/2016/08/20/20160820p2a00m0na004000p/9.jpg?1
13 | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017
พลังงานน้ามิตโสนที่ก่อนหน้านี้ถูกคัดค้านจนต้องยุติไป แต่ภายหลังได้ถูกหยิบยกขึ้นมาพูดคุยกันใหม่ระหว่าง
จีนกับพม่า อีกทั้งมีการเข้ามาลงทุนก่อตั้งโรงงานผลิตแผงพลังงานแสงอาทิตย์ยักษ์ใหญ่ของจีนในมาเลเซียด้วย
นอกจากนี้ ยังมีบริษัทจีนได้รับสัมปทานเข้ามาสารวจทรัพยากรแร่ธาตุในกัมพูชา และโครงการเหมืองทองแดง
โมนยวาในพม่าที่จีนเข้ามาลงทุน
ด้านเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุน จีนเข้ามาร่วมลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษในหลายประเทศ เช่น
เขตเศรษฐกิจพิเศษจ้าวผิ่วในพม่า เขตเศรษฐกิจพิเศษอิสกันดาร์ในมาเลเซีย และยังมีเขตนิคมอุตสาหกรรม
มาเลเซีย(กวนตัน)-จีน นอกจากนี้ ยังมีการลงทุนด้านอุตสาหกรมสิ่งทอและด้านเกษตรกรรมในกัมพูชา
รวมถึงการลงทุนในการก่อสร้างห้างสรรพสินค้าอีกหลายแห่งในลาว
โครงสร้างพื้นฐาน การลงทุนด้านก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน จะเน้นไปที่การก่อสร้างเส้นทาง
รถไฟ ในมาเลเซีย เส้นทางจากเมืองตุมปัตไปสิ้นสุดที่ท่าเรือน้าลึกเคลัง เชื่อมฝั่งตะวันตกและตะวันออก
โครงการเส้นทางรถไฟจีน-ลาว เป็นเส้นทางที่สาคัญเพราะจะเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางรถไฟเชื่อมโยงคุนหมิง-
สิงคโปร์ (เป็นส่วนหนึ่งของโครงการยุทธศาสตร์ Belt and Road Initiative)
ด้านอสังหาริมทรัพย์ จีนเข้ามาลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ในมาเลเซีย ในโครงการ Malaysia
City ในกัมพูชา มีหลายโครงการที่จีนเขามาลงทุน เช่น โครงการพัฒนาเมืองใกล้กรุงพนมเปญ และ
โครงการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์บนพื้นที่เกาะกง
ด้านการเมือง การทหารและความมั่นคง ที่เห็นเด่นชัดสุดคือความสัมพันธ์กับกัมพูชา กัมพูชา
ยึดถือนโยบายจีนเดียว กัมพูชายังมีความสาคัญทางยุทธศาสตร์ของจีน ในยุทธศาสตร์ “สร้อยไข่มุก” ซึ่งเป็น
ยุทธศาสตร์เกี่ยวพันกันระหว่างการขยายอานาจทางเศรษฐกิจคู่ไปกับการตั้งฐานกองลาดตระเวนทางทหารเพื่อ
คุ้มกันความปลอดภัยตลอดเส้นทางการค้าของจีน
ด้านการศึกษา จีนเข้ามาลงทุนเปิดมหาวิทยาลัยเซียะเหมิน วิทยาเขตซาลัค ติงกี รัฐสลังงอร์
มาเลเซีย เป็นมหาวิทยาลัยแรกของจีนที่เปิดวิทยาเขตในต่างประเทศ โดยมหาวิทยาลัยเป็นผู้ออกทุนเอง
ทั้งหมด
การที่จีนเข้ามามีบทบาทในประเทศมาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว แสดงให้เห็นถึงการ
ขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีนที่กาลังเติบโตอย่างไม่หยุดหย่อน และประเทศเหล่านี้ก็ได้อานิสงส์จากการเติบโต
ของจีน ทาให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโตขึ้นมาด้วย ไม่เพียงเศรษฐกิจ โครงสร้างพื้นฐาน ความเป็นเมืองก็
เจริญตามมา แต่ในขณะเดียวกันก็มีข้อตระหนักว่าประเทศเหล่านี้ก็ต้องเผชิญกับปัญหาที่ตามมา เช่น ปัญหา
สิ่งแวดล้อม ปัญหาทางเศรษฐกิจของบริษัทรายเล็กรายน้อยที่ไม่สามารถสู้กับบริษัทยักษ์ใหญ่จากจีนได้ หรือ
แม้แต่ปัญหาสังคมวัฒนธรรม ที่วัฒนธรรมท้องถิ่นอาจถูกกลืนหายในเร็ววัน
อย่างไรก็ตาม แน่นอนว่าการเข้ามาลงทุนของจีนเป็นโอกาสที่มาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
รวมถึงประเทศอาเซียนต้องคว้าเอาไว้ แต่ต้องกระทาอย่างระมัดระวังและคานึงถึงผลได้ผลเสียที่แท้จริงที่
ประเทศของตนพึงได้รับ
WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017| 14
ข้อเสนอแนะต่อไทย
ประเทศไทยในฐานะที่มีภูมิรัฐศาสตร์ที่ดีมาก ตั้งอยู่ใจกลางประเทศอาเซียนทั้งหมด จึงยากที่จะหลีก
หนีการเข้ามาของจีน โดยเฉพาะเส้นทางรถไฟคุนหมิง-สิงคโปร์ที่เป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์ Belt and
Road Initiative ของจีน แต่เราต้องมองให้เห็นโอกาสสาคัญที่จะใช้ข้อได้เปรียบทางภูมิรัฐศาสตร์ของเรา
ให้เกิดประโยชน์ ส่งเสริมธุรกิจบริการด้านการขนส่งโลจิสติกส์ เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่าง
อาเซียนและประเทศรอบอาเซียน เราต้องเตรียมความพร้อมในการรองรับการเข้ามาของจีนและการเติบโตของ
ประเทศเพื่อนบ้าน โดยใช้ประเทศเพื่อนบ้านตัวอย่างที่ยกมาเป็นกรณีศึกษาในรายงานฉบับนี้ พิจารณาทั้งผลดี
และข้อควรตระหนักที่เกิดขึ้นกับประเทศเพื่อนบ้านของเรา เพื่อเป็นแนวทางในการรับมือและเตรียมพร้อม
ประเทศต่อไป
ไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
เอนกทรรศน์
ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์
จีนมุ่งลงใต้ อินเดียมุ่งตะวันออก
ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์
เพ่งประชาธิปไตยโลก
พิศประชาธิปไตยไทย
ขบวนการรัฐอิสลาม(Islamic State)
อาทิตย์ ทองอินทร์
สั่งซื้อได้ที่ ...
1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com
2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ)
3) Facebook Page : สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
CPWI Bookstore
วิทยาลัย
รัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริของ
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุน
จาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความ
ปรารถนาที่ต้องการให้เป็นคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยมีพันธกิจ
ดังนี้
เพื่อการพัฒนา
ประเทศอย่างมีสุขภาวะท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคบูรพาภิวัตน์
ระหว่างสถาบันทาง
วิชาการต่างๆ ในประเทศให้เกิดการเชื่อมโยงศึกษาต่อย่อยประเด็นวิชาการเพื่อการพัฒนา
เชิงยุทธศาสตร์
เพื่อร่วมระดมความคิด หาทางออกและชี้แนะแนวทางยุทธศาสตร์
เพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทย
ให้ได้มีโอกาสเรียนรู้
และแลกเปลี่ยนความคิดอย่างสร้างสรรค์
ผ่านช่องทางสื่อสาธารณะเพื่อให้สาธารณะสามารถเข้าถึงเพื่อการเรียนรู้
กับสังคมในวงกว้าง
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ คลังปัญญาเพื่อการอภิวัฒน์ประเทศไทย มีชื่อ
ภาษาอังกฤษว่า “Klangpanya” โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
มีความปรารถนาที่จะเป็นคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยรวบรวมนักคิด นักยุทธศาสตร์ นักวิชาการ และผู้นาที่มี
ประสบการณ์ มาระดมความคิด เพื่อกรองประเด็นออกมาเป็นทั้งความรู้และข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์ ผ่านการจัดเวที
การประชุมต่างๆ เช่น เวทียุทธศาสตร์ ที่มีการจัดมาอย่างต่อเนื่อง
1Full text of President Xi's speech at opening of Belt and Road forum. ออนไลน์ http://news.xinhuanet.com/english/2017-05/14/c_136282982.htm#0-fbook-1-87251-
b182d7286068ff4101843e17368e4b10
2Archeologists Find New Starting Point of 'Silk Road On Sea' ออนไลน์http://www.china.org.cn/english/features/woeld_heritage/23864.htm
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
Website: www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864

Más contenido relacionado

Más de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Más de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560

  • 1. ปี ที่ 3 ฉบับที่ 6 สิงหาคม 2560 ความมั่นคงของรัฐชาติ และอธิปไตยในตะวันออกกลาง ย้อนมองผลสะท้อนจากอาหรับสปริงส์ ซาอุดิอาระเบีย ตุรกี และอินโดนีเซีย สามชาติมุสลิมที่กาลังผงาด เอเชียกลางและบทบาทของจีน บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
  • 2. i | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017 ยุวดี คาดการณ์ไกล ปลายฟ้า บุนนาค ปลายฟ้า บุนนาค ปาณัท ทองพ่วง อุสมาน วาจิ ปลายฟ้า บุนนาค http://shoebat.com/wp-content/ uploads/2015/05/f-ramadan-a-20140704.jpg http://www.uidownload.com/free-vectors/ mosque-vector-194253 สิงหาคม 2560 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 http://rsu-brain.com/ Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864 บรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ออกแบบและจัดรูปเล่ม ภาพปก เผยแพร่ CONTACT US ภาพปกใน
  • 3. WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 | ii สถาบันคลังปัญญาฯ ได้เผยแพร่งานวิจัยจากผู้ช่วยนักวิจัยของสถาบันคลังปัญญา 3 ฉบับ ได้แก่ บทบาทจีนใน อาเซียน บทบาทจีนในเอเชียกลาง และสามชาติมุสลิมที่กาลังผงาด โดยได้สรุปย่อมาไว้ใน World Think Tank Moni- tor ฉบับนี้เพื่อให้ผู้อ่านได้อ่านกัน นอกจากนี้ ยังมีงานเรื่อง ความมั่นคงของรัฐชาติและอธิปไตยในตะวันออกกลาง ย้อนมอง ผลสะท้อนจากอาหรับสปริงส์ เชิญติดตามเนื้อหาด้านในได้เลยค่ะ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ 1 4 12 9
  • 4. 1 | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017 เป็นเวลาราว 6 ปีแล้วที่เหตุการณ์อาหรับ สปริงส์หรือคลื่นการปฏิวัติเพื่อเรียกร้องการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยได้เกิดขึ้นในภูมิภาคตะวันออก กลาง อย่างไรก็ตาม นอกจากประเทศตูนีเซียที่ ประสบความสาเร็จในการสถาปนาประชาธิปไตย แล้ว ประเทศอื่น ๆ กลับไม่สามารถปฏิรูประบอบ การเมืองได้ ซ้าร้ายในบางประเทศระบอบเดิมนั้นทวี อานาจมากขึ้นและเสถียรภาพของประเทศตกต่าลง กว่าเดิม นอกจากระบอบการเมืองภายในประเทศที่ ได้รับผลกระทบแล้ว ดุลอานาจในภูมิภาคตะวันออก กลางโดยรวมก็ได้รับผลกระทบเช่นเดียวกัน เนื่องจากบางรัฐที่อยู่ในสภาวะใกล้เคียงกับสภาวะรัฐ ล้มเหลว เช่น ซีเรีย และ เยเมน จนเกิดการ แทรกแซงจากมหาอานาจทั้งในและนอกภูมิภาค ตลอด 6 ปีที่ผ่านมาภายหลังอาหรับสปริงส์ นั้นภูมิภาคตะวันออกกลางไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป เนื่องจากมีความท้าทายหลายประการที่รัฐต้อง ประสบ ไม่ว่าจะเป็น ภาวะสุญญากาศทางการเมือง กลุ่มติดอาวุธข้ามชาติ การแทรกแซงจากภายนอก เช่นนี้แล้วรัฐในตะวันออกกลางจะยังคงรักษา อธิปไตยของชาติไว้ได้หรือไม่ ? คาถามนี้มิได้สาคัญ ต่อภูมิภาคตะวันออกกลางเท่านั้น แต่ยังสาคัญกับ มหาอานาจทั่วโลกเนื่องด้วยตะวันออกกลางเป็น แหล่งน้ามันและแหล่งเงินทุนสาคัญอีกด้วย และยัง สาคัญต่อการวิพากษ์กรอบคิดในทางศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศว่าสามารถอธิบาย ปรากฏการณ์ได้ถูกต้องเพียงใด ความมั่นคงของรัฐชาติ ที่มาภาพ https://ceasefiremagazine.co.uk/wp-content/uploads/Egypt-Victory.jpg
  • 5. WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017| 2 โครงสร้างที่ยังคงเดิม ภายหลังจากอาหรับสปริงส์เกิดขึ้นไม่นาน มี การคาดการณ์โดยเฉพาะจากนักวิชาการและสื่อใน โลกตะวันตกว่าอาหรับสปริงส์จะทาให้รัฐใน ตะวันออกกลางแตกเป็นประเทศใหม่ ๆ เนื่องจาก เสถียรภาพของรัฐที่ตกต่าลงและประชาชนส่วนมาก นั้นไม่ยอมรับผู้ปกครองของตนอีกต่อไป แต่ใน ปัจจุบันเป็นที่ชัดว่านี่เป็นการคาดการณ์ที่ผิด แม้จะมี ความท้าทายหลายประการต่อรัฐชาติแต่ในท้ายที่สุด แล้วก็ยังรักษามิให้เส้นพรมแดนต้องถูกเขียนขึ้นใหม่ สาเหตุสาคัญคือการที่ประชาชนจะลุกฮือประท้วงก็ ต่อเมื่อความต้องการในระดับพื้นฐานของตนนั้นไม่ถูก ตอบสนอง การที่โครงข่ายขั้วอานาจเก่าซึ่งยังถือ ครองอานาจและทรัพยากรอยู่มากไม่ยอมล่าถอยจาก การเมือง และชาติมหาอานาจเองก็ไม่อยากที่จะ ทาลายโครงสร้างอานาจเดิมเพราะเกรงจะกระทบ ผลประโยชน์ของตน ทั้งมหาอานาจภายในภูมิภาค ได้แก่ อิสราเอล อิหร่าน ตุรกี และซาอุดิอาระเบีย ที่ต้องอาศัยโครงสร้างอานาจเดิมในภูมิภาคเพื่อค้าจุน สถานะของตน มหาอานาจภายนอกภูมิภาคเช่น สหรัฐฯ และ ชาติยุโรป ก็หวังเช่นนั้นแม้จะเรียกร้อง ให้ผู้นารัฐต่าง ๆ เคารพสิทธิมนุษยชนอยู่อย่าง เปิดเผยก็ตาม ส่วนรัสเซีย จีน และชาติมหาอานาจ ใหม่ ต่างพึ่งพาน้ามันจากตะวันออกกลาง จึงไม่ ต้องการให้เกิดความวุ่นวายขึ้นซึ่งจะกระทบราคา น้ามันแน่นอน ยิ่งไปกว่านั้นในตะวันออกกลางมี ภาวะ“ซ้อนทับ”ของมหาอานาจอยู่ กล่าวคือแม้จะมี การแข่งกันขยายอานาจมาโดยตลอดจากมหาอานาจ ทั้งในและนอกภูมิภาคซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของความไร้ ระเบียบที่เกิดขึ้น แต่ไม่มีชาติใดที่มีอานาจพอที่จะ กาหนดความเป็นไปของภูมิภาคอย่างเบ็ดเสร็จ ปัจจัยเหล่านี้ทั้งที่เป็นปัจจัยภายในและ ระหว่างประเทศ ทาให้ระบอบเผด็จการ รัฐชาติ และ เส้นพรมแดนในภูมิภาค ที่แม้จะเผชิญความท้าทาย อยู่เสมอและมีความผันแปรบางประการ แต่จะไม่มี การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างขนาดใหญ่ การแบ่ง เขตแดนอันเป็นผลสืบเนื่องจากสนธิสัญญา “Sykes -Picot” ที่แบ่งดินแดนของอาณาจักร Otto- man ออกเป็นรัฐย่อย ๆ ในปี 1916 ยังคงเป็น ที่มาภาพ http://webpublicapress.net/now-facing-new-middle-east-geopolitical-reality/ Zine El Abidine Ben Ali ผู้นาตูนีเซีย Hosni Mubarak ผู้นาอียิปต์ Muammar Gaddafi ผู้นาลิเบีย Bashar Al-Asad ผู้นาซีเรีย Ali Abdullah Saleh ผู้นาเยเมน
  • 6. 3 | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017 เช่นเดิม แม้จะมีบางช่วงที่รัฐนั้นอยู่ในภาวะที่ย่าแย่ แต่มีแนวโน้มว่าวันหนึ่งรัฐจะกลับมาอยู่ในภาวะที่มี เสถียรภาพขึ้นมากกว่าการที่รัฐจะเดินไปสู่การล่ม สลาย ตัวอย่างที่ชัดเจนคือการคาดว่าประเทศซีเรีย จะแตกออกเป็นประเทศย่อย ๆ จากการขยาย อานาจขอบขบวนการรัฐอิสลาม (IS) อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันมีแนวโน้มว่าขบวนการนี้จะอ่อนกาลังลง ส่วนรัฐบาลบัชชาร อัล อะสัด จะกลับมามีอานาจ เหนือซีเรียอีกครั้ง การที่ระบุว่าประเทศใดประเทศหนึ่งเป็นรัฐ ล้มเหลวแล้วใช้เป็นใบเบิกทางในการเข้าแทรกแซง ประเทศนั้น ๆ อาจเป็นข้ออ้างเพื่อการเข้าแสวงหา ประโยชน์ของชาติมหาอานาจก็เป็นได้ ที่นอกจากจะ แก้วิกฤติการณ์ไม่ได้แล้วยังจะยิ่งเพิ่มปัญหาซับซ้อน ไปกว่าเดิม จึงต้องระวังการใช้กรอบทฤษฎีเรื่องรัฐ ล้มเหลวมิให้กลายเป็นเครื่องมือของการขูดรีด แทนที่จะเป็นการรักษาระเบียบให้รัฐและโลกตาม จุดมุ่งหมายเดิมของทฤษฎี ภาพแสดงอาณาเขตของอาณาจักร Ottoman (สีเขียว) เมื่อเทียบกับเส้นพรมแดนในปัจจุบัน หรืออาหรับสปริงส์จะสูญเปล่า ? อย่างไรก็ตาม ใช่ว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ใด ๆ เกิดขึ้นเลยในระดับการเมืองภายในประเทศ แม้การเดินขบวนประท้วงจะจบลงไปแล้วเนื่องจาก ความสูญเสียจากการปะทะกันระหว่างฝ่ายประชาชน ที่ต้องการเห็นการเปลี่ยนแปลงและผู้ปกครองที่ ต้องการรักษาอานาจเดิม แต่ประชาชนในตะวันออก กลางนั้นมีการตื่นตัวทางการเมืองสูงขึ้น มีการ รวมกลุ่มทางสังคมมากขึ้น และมีความคาดหวังว่า การเมืองนั้นต้องทาให้คุณภาพชีวิตของตนดีขึ้นได้ เหล่านี้แม้ไม่ทาให้เกิดการเรียกร้องประชาธิปไตย แบบเดิมอีกในอนาคตอันใกล้ แต่การเคลื่อนไหว ทางการเมืองในรูปแบบใหม่ ๆ ที่สอดคล้องกับ บริบทของพื้นที่ยังคงมีอยู่อย่างเนื่อง และเป็นคลื่น ใต้น้าที่วันหนึ่งจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางเมือง อีกครั้ง ผลกระทบต่อไทยและอาเซียน จากเนื้อหาข้างต้นทาให้ทราบว่าเสถียรภาพของ รัฐในตะวันออกกลางจะค่อย ๆ ดีขึ้น นั่นหมายรวมว่า กลุ่มติดอาวุธต่าง ๆ ซึ่งเคยครองพื้นที่และอานาจที่ เข้มแข็งกาลังอยู่ในภาวะถดถอย และสมาชิกของกลุ่ม เหล่านั้นจานวนหนึ่งคือพลเมืองของรัฐในอาเซียน โดยเฉพาะ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ หาก กลุ่มหลักคือขบวนการรัฐอิสลาม (IS) ล่มสลายลงแล้ว ย่อมเป็นไปได้ว่าสมาชิกของกลุ่มที่เป็นพลเมืองใน อาเซียนจะกลับมายังมาตุภูมิแล้วร่วมมือกับกลุ่มติดอาวุธ ในพื้นที่ซึ่งมีอยู่แล้ว อันจะส่งผลลบต่อความมั่นคงใน ภูมิภาคอาเซียนต่อไป รวมถึงประเทศไทยที่แม้ยังมี ความเสี่ยงน้อยกว่าสามประเทศที่กล่าวมาแล้ว แต่เหตุ ระเบิด ณ แยกราชประสงค์ในปี 2015 ได้ให้บทเรียน ว่าไม่ควรประมาทว่าประเทศไทยจะปลอดภัยจากการก่อ การร้ายได้ เนื่องจากมีชาวต่างชาติซึ่งเป็นเป้าหมายของ การก่อการร้ายเดินทางมาท่องเที่ยวจานวนมาก อีกทั้ง ไทยมีพรมแดนที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้านโดยรอบเป็น ระยะทางทางหลายพันกิโลเมตรและมักเป็นป่าเขาซึ่ง ง่ายต่อการหลบหนีเข้า-ออกประเทศอีกด้วย ที่มา Louise Fawcett, States and sover- eignty in the Middle East: myths and realities https://www.chathamhouse. org/publication/ia/states-and- sovereignty-middle-east-myths-and- realities
  • 7. WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017| 4 และบทบาทของจีน เอเชียกลาง (Central Asia หรือ บางแหล่งยังเรียกว่า Middle Asia) เป็น ดินแดนที่คนไทยแทบจะไม่รู้จัก ไม่แน่ใจว่าอยู่ ส่วนใดของโลก นึกภาพดินแดน บ้านเมือง และหน้าตาของผู้คนที่นั่นก็ไม่ออก และไม่ เฉพาะคนไทย เชื่อว่าคนส่วนใหญ่ในโลกก็ไม่ ค่อยมีใครรู้จักดินแดนนี้ World Think Tank Monitor ฉบับนี้จะพาท่านไปรู้จัก เอเชียกลาง ภูมิภาคที่มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า “ยูเรเซีย” เพราะเชื่อมระหว่างยุโรปกับเอเชีย ดินแดนแห่งชนเผ่าและทุ่งหญ้าสเต็ปป์อัน ไพศาล อดีตหลังบ้านของสหภาพโซเวียต แผ่นดินแห่งบรรดาประเทศ “สถาน” เกิดใหม่ ห้าประเทศที่ไม่ใคร่จะมีใครรู้จักมากนัก (คาซัคสถาน เติร์กเมนิสถาน อุซเบกิสถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน) และดินแดน ที่เป็นกุญแจสาคัญในมหายุทธศาสตร์เส้นทาง สายไหมใหม่ของจีนในศตวรรษที่ 21 ภาพ เอเชียกลาง ในแผนที่โลก ที่มาภาพ https://en.wikipedia.org/wiki/ Central_Asia#/media/File:Central_Asia_ (orthographic_projection).svg
  • 8. 5 | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017 ในวันที่คนพูดกันมากถึงเรื่องการกลับคืนมา ของเส้นทางสายไหม และการกลับมานั้นก็ดูจะเป็น จริง และจริงขึ้นเรื่อยๆ ด้วยการมุ่งหน้าดาเนิน โครงการ One Belt One Road ของจีนอย่าง ไม่หยุดยั้ง อย่างน้อยนับแต่การประกาศเมื่อปี 2013 (ซึ่งประธานาธิบดีสีจิ้นผิงของจีนเลือก ประกาศเส้นทางสายไหมทางบกที่มหาวิทยาลัยนา ซาร์บาเยฟ ประเทศคาซัคสถาน ในเอเชียกลาง นี่เอง) ทาให้มีความตื่นตัวในวงวิชาการที่ศึกษา ติดตามเรื่องเส้นทางสายไหมใหม่และเอเชียกลางใน ฐานะที่เป็นกุญแจสาคัญดอกแรก เป็นพื้นที่หน้าด่าน ที่จะเปิดออกไปยังโลกในยุคที่จีนสมัยสีมียุทธศาสตร์ ก้าวออกสู่โลก ไปทางตะวันตกเป็นหลัก และหนึ่งใน นั้นก็คือบรรดา Think Tank ด้านนโยบาย ทั้งหลายไม่ว่าในตะวันตกและตะวันออก World Think Tank ฉบับนี้จะขอสรุปเอาสาระบางส่วน จากการศึกษาเรื่องเอเชียกลางกับบทบาทของจีน ใน รายงานวิจัยเรื่อง บทบาทของจีนในเอเชียกลาง ของ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ Think Tank ของไทย และจาก Policy Contribu- tion เ รื่ อ ง Central Asia at 25 โ ด ย Uuriintuya Batsaikhan and Marek Dabrowski นักวิจัยของ Brugel Think Tank ของสหภาพยุโรป มานาเสนอครับ Brugel นั้นเป็น Think Tank ของ สหภาพยุโรป ซึ่งเป็นหนึ่งในมหาอานาจที่คลุกคลีกับ ภูมิภาคเอเชียกลางมากที่สุดสามลาดับต้น (รองจาก รัสเซีย และจีน (ไม่เรียงตามลาดับ) โดยเฉพาะ การค้าขายกับภูมิภาคแห่งนี้มานานพอสมควรตั้งแต่ ประเทศเหล่านี้ได้รับเอกราชมาครบ 25 ปี ในปี 2017 นี้ จึงรู้จัก ศึกษา และติดตามความ เปลี่ยนแปลงของเอเชียกลางมาพอสมควร ในภาพ ใหญ่ Brugel ตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงของ อานาจภายนอกที่เข้ามามีอิทธิพลอยู่ในเอเชียกลาง ภายหลังเป็นเวลาสองร้อยปีที่รัสเซีย ตั้งแต่ยุค จักรวรรดิซาร์มาถึงยุคโซเวียต “ครอบงา” เอเชีย กลางอยู่แต่เพียงหนึ่งเดียว เป็นคู่ค้าและที่พึ่งพิง อันดับหนึ่งของทุกประเทศในเอเชียกลาง แต่ยี่สิบปี หลัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งทศวรรษหลังมานี้ บทบาท และอิทธิพลจีนเติบโตขยายตัวอย่างรวดเร็วในเอเชีย กลาง ผ่านการลงทุนด้านพลังงานและโครงสร้าง พื้นฐานเป็นหลัก จนใกล้และแซงหน้าบทบาทรัสเซีย ในหลายๆ ด้านแล้ว จากข้อมูลในปี 2015 การค้า รวมระหว่างจีนกับเอเชียกลางได้แซงหน้ารัสเซียไป แล้ว (ดูตารางที่ 1) ที่มา : http://container-news.com/wp-content/uploads/2016/04/6-Ningbo-Zhoushan-660x330.jpg ตารางที่ 1 การค้ารวม (ผลรวมการนาเข้าและส่งออก) ระหว่างเอเชียกลางกับรัสเซียและจีน ที่มา http://bruegel.org/wp-content/uploads/2017/05/PC-13-2017.pdf
  • 9. WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017| 6 บทบาทของจีนในเอเชียกลาง อันที่จริง เอเชียกลางเป็นภูมิภาคที่มีความสาคัญมากทางภูมิรัฐศาสตร์ของโลกมาช้านาน เพราะอยู่ ระหว่างเอเชียและยุโรปในแกนนอน และระหว่างรัสเซียกับตะวันออกกลางในแกนตั้ง ภูมิภาคนี้จึงมีอีกชื่อว่า “ยูเรเซีย (Eurasia)” ที่มาจากคาว่ายุโรปบวกเอเชีย เอเชียกลางเป็นดินแดนที่ไม่มีทางออกทะเล (land locked) แต่มีสถานะเป็น “สะพานเชื่อม” (land bridge) ทางบกระหว่างอารยธรรม จักรวรรดิ และ มหาอานาจตั้งแต่สมัยโบราณถึงปัจจุบัน เอเชียกลางนั้นเป็นเพื่อนบ้านของจีนทางตะวันตก มีพรมแดนติดกับจีน สามประเทศ คือ คาซัคสถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน ซึ่งทั้งหมดติดกับมณฑลซินเจียงของจีน เอเชีย กลางมีขนาดใหญ่ราวเกือบครึ่งหนึ่งของจีน (ประมาณ 8 เท่าของไทย) เป็นดินแดนที่กว้างใหญ่แต่แห้งแล้ง และมีประชากรน้อยเพียง 68 ล้านคน เชื่อกันว่า จีนรู้จักเอเชียกลางครั้งแรก ผ่านการเดินทางบุกเบิกดินแดนตะวันตกอันลือเลื่องของ Zhang Qian ตัวแทนของจักรพรรดิหวู (Hun Wudi) แห่งราชวงศ์ฮั่น เมื่อราว 200 ปีก่อนคริสตกาล และ พัฒนาความสัมพันธ์ใกล้ชิดติดต่อกับเอเชียกลางต่อมาในยุคที่เส้นทางสายไหมโบราณรุ่งเรืองเมื่อ 2,000 ปี มาแล้ว แต่ความสัมพันธ์จีนกับภูมิภาคเพื่อนบ้านทางตะวันตกแห่งนี้ซบเซาลงไปพร้อมๆ กับความเสื่อมของ เส้นทางสายนั้น และฟื้นกลับมาอีกครั้งนับแต่สถาปนาความสัมพันธ์ในทศวรรษ 1990 จัดการเรื่องการปักปัน เขตแดนกับสามประเทศที่ติดกับจีนในช่วงสิบปีหลังจากนั้น และเริ่มเข้าไปมีบทบาทโดยใช้เศรษฐกิจเป็นตัว นามาตั้งแต่นั้น ที่มาภาพ http://www.freeworldmaps.net/asia/central/centralasia-physical-map.jpg
  • 10. 7 | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017 ปัจจุบัน นอกจากจีนจะเป็นคู่ค้าอันดับ 1 ของเอเชียกลางแล้ว จีนยังเป็นผู้ลงทุน FDI อันดับ 1 ใน 3 ประเทศของเอเชียกลาง คือ เคอร์กีซ สถาน (24 เปอร์เซ็นต์) เติร์กเมนิสถาน (39 เปอร์เซ็นต์) และทาจิกิสถาน (21 เปอร์เซ็นต์) และเป็นผู้ลงทุนอันดับ 5 ในคาซัคสถาน (4.6 เปอร์เซ็นต์) และอันดับ 6 ในอุซเบกิสถาน (4 เปอร์เซ็นต์) ในภาพรวม บทบาทของจีนในเอเชีย กลางในยุคปัจจุบันจาแนกได้เป็นด้านสาคัญคือ บทบาทด้านพลังงาน (น้ามันและก๊าซธรรมชาติ) บทบาทด้านโครงข่ายคมนาคมและโครงสร้างพื้นฐาน บทบาทด้านความมั่นคง รวมทั้งบทบาทด้าน Soft Power บทบาทแต่ละด้านนั้นสัมพันธ์ส่งเสริมกัน รวมทั้งยืนอยู่บนพื้นฐานของความสาคัญเชิงภูมิ รัฐศาสตร์ของเอเชียกลางต่อจีน ปัจจุบัน จีนเป็นประเทศที่บริโภคพลังงาน มากลาดับต้นของโลก โดยนาเข้าน้ามันดิบเป็นอันดับ 1 ของโลก และบริโภคเป็นอันดับสอง รองจาก สหรัฐ และนาเข้าและบริโภคก๊าซธรรมชาติเป็นอันดับ 3 ของโลก จีนให้ความสาคัญกับ “ความมั่นคงด้าน พลังงานของประเทศ” และพยายามกระจายแหล่ง นาเข้าพลังงาน เอเชียกลางในฐานะภูมิภาคที่อุดม ด้วยพลังงานทั้งน้ามันและก๊าซและอยู่ติดกับจีน ง่าย ต่อการขนส่ง จึงเป็นที่ที่จีนเข้าไปเอาพลังงานมาก โดยผ่าน “ท่อส่งน้ามันคาซัคสถาน-จีน” ความยาว 3,000 กม. จากแหล่งน้ามันริมทะเลแคสเปียนของ คาซัคสถานข้ามมาเข้าที่มณฑลซินเจียง ก่อนจะ กระจายไปป้อนภายในของจีน และ ““ท่อส่งก๊าซ เอเชียกลาง-จีน (China-Central Asia Gas Pipeline)” จากแหล่งหลักในเติร์กเมนิ สถาน มาเข้าที่ซินเจียงเช่นกัน ในด้านเครือข่ายคมนาคมและขนส่งซึ่งเป็น ด้านที่จีนเข้าไปลงทุนในเอเชียกลางมากที่สุดนั้น จีน เข้าไปสร้างถนน ทางรถไฟ ด่านการค้าทางบก เชื่อมต่อระหว่างเอเชียกลางกับจีน และภายในเอเชีย กลางเองมากมาย ทั้งหมดนี่เป็นส่วนหนึ่งของ ยุทธศาสตร์ One Belt One Road ซึ่งพาด ผ่านเอเชียกลาง ก่อนจะออกไปสู่ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ ยุโรป โครงการสาคัญ เช่น การพัฒนา ด่านคอโกส (Khorgos/Horgos) ด่านการค้า ใหญ่ชายแดนจีน-คาซัคสถาน ให้เป็นศูนย์กลางการ ขนส่งสินค้าบนเส้นทางสายไหมใหม่ รถไฟขนส่ง สินค้าสาย Khorgos-Aktau และ โครงการทาง รถไฟสายจีน-เคอร์กีซสถาน-อุซเบกิสถาน เป็นต้น โครงการเหล่านี้มีทั้งที่สาเร็จเริ่มเปิดใช้แล้ว และ กาลังดาเนินการ ด้านความมั่นคง บริเวณหุบเขาเฟอร์กานา รอยต่อระหว่างอุซเบกิสถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิ กิสถาน เป็นพื้นที่ซ่องสุมของ “สิ่งชั่วร้ายทั้งสาม” คือ ขบวนการก่อการร้าย ขบวนการสุดโต่ง และ ขบวนการแบ่งแยกดินแดน ทั้งที่เกี่ยวและไม่ เกี่ยวกับขบวนการแบ่งแยกอุยกูร์ในซินเจียง นอกจากนี้ เอเชียกลางทางตอนใต้ยังอยู่ติดกับ อัฟกานิสถาน ซึ่งอยู่ในภาวะสู้รบมายาวนาน ซึ่งทา ให้จีนกังวลต่อการแพร่กระจายของกลุ่มหัวรุนแรง ขบวนการลักลอบขนอาวุธ และยาเสพติด เข้ามาใน เอเชียกลาง และในจีน โดยเฉพาะที่อาจเชื่อมโยง กับกลุ่มหัวรุนแรงอุยกูร์ในซินเจียง ในปี 2016 จีน ได้สร้างกลไกความร่วมมือพหุภาคี 4 ฝ่ายด้าน การทหาร การต่อต้านการก่อการร้าย และข่าวกรอง ร่วมกับทาจิกิสถาน ปากีสถาน และอัฟกานิสถาน ซึ่งรวมถึงการฝึกกองกาลังร่วมกันสาหรับต่อต้านการ ก่อการร้าย และมีความร่วมมือด้านความมั่นคงผ่าน กรอบองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ (Shanghai Cooperation Organization: SCO) ซึ่ ง ริเริ่มโดยจีน และมีรัสเซีย อินเดีย ปากีสถาน และ ทุกประเทศเอเชียกลางเว้น เติร์กเมนิสถาน เป็น สมาชิกในปัจจุบัน ส่วนบทบาทในด้าน Soft Power นั้น จีนก็ได้เข้าไปสร้างในเอเชียกลางเช่นกัน ถือเป็นตัว ช่วยลดแรงเสียดทาน สร้างความเข้าใจระหว่างผู้คน
  • 11. WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017| 8 และวัฒนธรรม อันจะช่วยให้ความร่วมมือในด้าน อื่นๆ ง่ายขึ้น เช่น จีนเข้าไปตั้ง สถาบันขงจื่อ สถาบันเผยแพร่ภาษาและวัฒนธรรมจีน สังกัด กระทรวงศึกษาธิการจีน ในลักษณะเดียวกับ Brit- ish Council ของสหราชอาณาจักร Alliance Française ของฝรั่งเศส สถาบันขงจื่อแห่งแรกใน เอเชียกลางถูกตั้งขึ้นที่กรุงทาชเคนท์ของอุซเบกิสถาน ในปี 2005 ปัจจุบัน จีนเข้าไปตั้งสถาบันขงจื่อใน ทุกประเทศของเอเชียกลางแล้ว ยกเว้นเติร์กเมนิ สถาน โดยมีอยู่ในคาซัคสถาน 4 แห่ง อุซเบกิส ถาน 2 แห่ง เคอร์กีซสถาน 15 แห่ง และทาจิกิ สถาน 2 แห่ง และปัจจุบันก็มีนักศึกษาชาวเอเชีย กลางหลายพันคนกาลังศึกษาในมหาวิทยาลัยใน ประเทศจีน ไทยจะเรียนรู้อะไรได้บ้างจากการศึกษา ความสัมพันธ์จีน-เอเชียกลาง ความสัมพันธ์ในช่วงสองทศวรรษมานี้ ระหว่างจีนกับเอเชียกลางเป็นการรื้อฟื้นความสัมพันธ์ ในอดีตและเป็นการรื้อฟื้นแบบก้าวกระโดด มิใช่การ ค่อยๆ กระชับความสัมพันธ์แบบธรรมดา ที่ทาได้ เช่นนั้นเพราะจีนเข้าหาเอเชียกลาง “อย่างมี ยุทธศาสตร์” ที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม และเป็นองค์ รวม นั่นคืออภิมหายุทธศาสตร์ One Belt One Road ที่แม้แน่นอนว่าการเข้าไปในเอเชียกลางของ จีนจะเผชิญแรงเสียดทาน ต่อต้าน แต่เหนือกว่านั้น ในภาพรวมคือ การเข้าไปของจีนช่วยสร้างความรู้สึก ว่าเป็นโอกาสของการพัฒนาอย่างจริงจังสาหรับ เอเชียกลาง มองความสัมพันธ์จีนกับเอเชียกลางแล้วก็ มองย้อนกลับมาที่ความสัมพันธ์ไทยจีน บริบทของ เอเชียกลางนั้นต่างจากเรา เอเชียกลางอยู่ในระดับ การพัฒนาที่ตามหลังประเทศไทยมาก (ประเทศที่มี ขนาดเศรษฐกิจใหญ่อันดับ 1 ของเอเชียกลาง วัด จากกาลังซื้อจริง (GDP,PPP) คือ คาซัคสถาน อยู่ที่อันดับ 41 ของโลก ขณะที่ไทยอยู่อันดับ 19 จากข้อมูลของธนาคารโลก ปี 2016) โครงสร้าง เศรษฐกิจของเอเชียกลางก็ยังพึ่งการขายพลังงาน น้ามัน ก๊าซ แร่ธาตุ และผลผลิตการเกษตรเป็นหลัก ขณะที่เศรษฐกิจไทยมีโครงสร้างที่กระจาย (diversifed) มากกว่า ทั้งอุตสาหกรรม บริการ เกษตรกรรม การท่องเที่ยว ฯลฯ ของเราก้าวหน้า กว่ามาก ที่กล่าวมานี้ก็เพื่อชี้ให้เห็นว่า แม้ในแง่หนึ่ง ไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็เหมือนกับเอเชีย กลางและอีกหลายๆ ภูมิภาคของโลกที่จีนเข้าหา แต่ ด้วยพื้นฐานที่ดีกว่าของเรา เราสามารถสร้าง กาหนด ทิศทางความสัมพันธ์ของเรากับจีนให้ดีเป็นที่พอใจ ของเรา สมฐานะของเราได้มากกว่าเอเชียกลาง อยู่ที่ เราต้องมีความคิดเชิงยุทธศาสตร์นั่นเอง ปาณัท ทองพ่วง.บทบาทของจีนในเอเชียกลาง. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ. ออนไลน์ http://rsu-brain.com/? page_id=1064. Uuriintuya Batsaikhan and Marek Dabrowski. Central Asia at 25. Brugel. ออนไลน์ http://bruegel.org/ wp-content/uploads/2017/05/PC-13 -2017.pdf
  • 12. 9 | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017 การที่จะประเมินว่าชาติใดชาติหนึ่งเป็นชาติที่ กาลังผงาด หรือ Rising Power นั้นมีปัจจัย พิจารณาอยู่หลายปัจจัย เช่น ขีดความสามารถด้าน การทหาร Soft Power แต่ปัจจัยที่สาคัญที่สุด และเป็นฐานของปัจจัยอื่น ๆ คือเศรษฐกิจ เพราะ เศรษฐกิจนั้นมีความสาคัญต่อความเจริญก้าวหน้าของ รัฐมาก เนื่องจากเป็นปัจจัยสาคัญในการดาเนิน นโยบายของรัฐ หากไม่มีงบประมาณเพียงพอก็ยาก ที่จะดาเนินนโยบายต่าง ๆ ได้สาเร็จ และเศรษฐกิจ ยังเป็นเครื่องมือในการดาเนินโยบายโดยตรงได้อีก ด้วย ทั้งนี้เมื่อเรียงตามลาดับประเทศตามขนาด เศรษฐกิจโดยธนาคารโลกแล้ว พบว่าใน 20 ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดมีประเทศมุสลิม อยู่ด้วยกัน 3 ประเทศ คือ ซาอุดิอาระเบีย ตุรกี และ อินโดนีเซีย สาหรับประเทศซาอุดิอาระเบียนั้นมีจุดแข็ง อยู่ที่การมีเงินทุนสารองจานวนมากจากการขาย น้ามัน แม้ราคาน้ามันมีแนวโน้มจะลดลงอย่าง ต่อเนื่อง แต่ด้วยเงินทุนสารองที่มีทาให้สามารถแปร เงินจานวนนี้เป็นการสร้างเทคโนโลยีและดึงบุคลากร จากต่างชาติที่มีความรู้ความสามารถเข้ามาพัฒนา ประเทศได้ อีกทั้งยังใช้อานาจทางเศรษฐกิจที่มีไป เสริมสร้าง Soft Power มากอย่างที่ไม่เคย เป็นมาก่อน เช่น การเยือนประเทศจีน ญี่ปุ่น มัลดีฟ และประเทศในกลุ่มอาเซียน แต่ซาอุดิอาระเบียเองก็ มีความท้าทายที่ต้องเผชิญอยู่เช่นกัน เช่น ในระยะ ยาวแล้วจะพัฒนาศักยภาพของพลเมืองในชาติเองได้ หรือไม่ ชาวต่างชาติจะพอใจที่จะอาศัยในประเทศ มากเพียงใด จะทาให้นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเกิด ประโยชน์กับชาติได้อย่างไร ยังรวมถึงภัยจากความ ขัดแย้งทั้งในประเทศและระหว่างประเทศโดยเฉพาะ กับอิหร่าน ด้วยเหตุนี้การมีเศรษฐกิจที่ดีขึ้นเพียง อย่างเดียวจึงไม่เพียงพอ ต้องเสริมสร้างให้ชาติมี ความมั่นคงด้วย สามชาติมุสลิมที่กาลังผงาด
  • 13. WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017| 10 ภาพประเทศที่มี GDP มากที่สุดเป็นอันดับ 11 – 20 ที่มา ที่มา :GDP ranking. Retrieved Au- gust 12, 2017, from http:// data.worldbank.org/data-catalog/GDP- ranking-table สาหรับประเทศซาอุดิอาระเบียนั้นมีจุดแข็ง อยู่ที่การมีเงินทุนสารองจานวนมากจากการขาย น้ามัน แม้ราคาน้ามันมีแนวโน้มจะลดลงอย่าง ต่อเนื่อง แต่ด้วยเงินทุนสารองที่มีทาให้สามารถแปร เงินจานวนนี้เป็นการสร้างเทคโนโลยีและดึงบุคลากร จากต่างชาติที่มีความรู้ความสามารถเข้ามาพัฒนา ประเทศได้ อีกทั้งยังใช้อานาจทางเศรษฐกิจที่มีไป เสริมสร้าง Soft Power มากอย่างที่ไม่เคย เป็นมาก่อน เช่น การเยือนประเทศจีน ญี่ปุ่น มัลดีฟ และประเทศในกลุ่มอาเซียน แต่ซาอุดิอาระเบียเองก็ มีความท้าทายที่ต้องเผชิญอยู่เช่นกัน เช่น ในระยะ ยาวแล้วจะพัฒนาศักยภาพของพลเมืองในชาติเองได้ หรือไม่ ชาวต่างชาติจะพอใจที่จะอาศัยในประเทศ มากเพียงใด จะทาให้นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเกิด ประโยชน์กับชาติได้อย่างไร ยังรวมถึงภัยจากความ ขัดแย้งทั้งในประเทศและระหว่างประเทศโดยเฉพาะ กับอิหร่าน ด้วยเหตุนี้การมีเศรษฐกิจที่ดีขึ้นเพียง อย่างเดียวจึงไม่เพียงพอ ต้องเสริมสร้างให้ชาติมี ความมั่นคงด้วย ในกรณีของตุรกีนั้น ตุรกี หรือ สาธารณรัฐ ตุรกี ตั้งอยู่ในพื้นที่ซึ่งมีความพิเศษเป็นอย่างมาก เนื่องจากตั้งอยู่ระหว่างสองทวีปสาคัญของโลกนั่นคือ เอเชียและยุโรป มีพรมแดนที่ติดกับประเทศถึง 8 ประเทศและมีทางออกทะเลถึงสามทาง ที่ตั้งของ ตุรกีในปัจจุบันนั้นหากมองย้อนไปในอดีตจะพบว่า เคยถูกสับเปลี่ยนหมุนเวียนตกอยู่ใต้การปกครองของ หลายกลุ่มด้วยกัน ก่อนจะถูกปกครองด้วยชาวเติร์ก นั้นดินแดนแห่งนี้เคยมีความสาคัญเป็นเมืองหลวง ด้านตะวันออกของจักรวรรดิโรมันซึ่งยึดมั่นในศาสนา คริสต์อีกด้วย ก่อนที่จะล่มสลายด้วยการยึดครองของ ชาวเติร์กที่มาพร้อมกับศาสนาและวัฒนธรรมอิสลาม ในที่สุดภายใต้อาณาจักรออตโตมัน ด้วยเหตุนี้เอง ตุรกีจึงกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ดึงดูดนักท่องเที่ยว จานวนมากให้เข้าไปสัมผัสความหลากหลายที่ ผสมผสานกันอย่างลงตัว และอาศัยจุดเด่นเรื่องภูมิ รัฐศาสตร์ที่อยู่ระหว่างทวีปเอเชียและยุโรป ทาให้ สามารถใช้ข้อได้เปรียบนี้ต่อทั้งสองภูมิภาคเพื่อการ เสริมสร้างเศรษฐกิจและอิทธิพลของตน เช่น การ เปิดรับการลงทุนจากโลกอาหรับและการส่งสินค้าไป ยังยุโรป ส่วนอินโดนีเซียที่ยังดูไม่โดดเด่นนักใน ปัจจุบัน แต่ด้วยการเป็นประเทศที่มีประชากรและ ทรัพยากรจานวนมาก ประกอบกับโครงสร้างพื้นที่ ฐานที่ดีขึ้นเรื่อย ๆ ได้ดึงดูดให้ต่างชาติเข้ามาลงทุน มากขึ้นเป็นลาดับ เมื่อเงินทุนต่างชาติมากขึ้นย่อม หมายถึงเศรษฐกิจที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องจนคาดการณ์ ว่าในทศวรรษหน้าอินโดนีเซียจะกลายเป็นผู้นา อาเซียนได้ไม่ยากนัก และดังที่กล่าวไปแล้วว่าปัจจัย ทางเศรษฐกิจคือฐานสาคัญของการดาเนินนโยบาย ระหว่างประเทศ แน่นอนว่าจะพัฒนาการในหลาย ๆ ด้านเกิดขึ้นกับอินโดนีเซียตามมาแน่นอน แต่สิ่งที่ ต้องระวังคือเมื่อกลุ่มก่อการร้ายในตะวันออกกลาง กาลังถูกบีบให้ต้องสลายตัวลง ทาให้สมาชิกกลุ่มที่ จานวนหนึ่งเป็นชาวอินโดนีเซียจะกลับมาขยาย แนวคิดก่อการร้ายในประเทศ รวมถึงการร่วมมือกับ กลุ่มแบ่งแยกดินแดนอื่น ๆ ในอาเซียนได้ เมื่อมองในภาพรวมของโลกมุสลิมจะเห็นว่า มีความพยายามสร้างความร่วมมือระหว่างกันมากขึ้น
  • 14. 11 | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017 โดยเฉพาะในทศวรรษที่ผ่านมาซึ่งโลกมุสลิมเกิด ปัญหาหลายประการและความช่วยเหลือจากประเทศ ภายนอกนั้นไม่สามารถจัดการปัญหาได้ ซ้าร้ายยังทา ให้สถานการณ์เลวร้ายมากขึ้น เช่น สงครามอิรัก สงครามกลางเมืองลิเบีย สงครามกลางเมืองซีเรีย ซึ่งสุดท้ายแล้วผลเสียที่เกิดขึ้นก็จะกระทบกับโลก มุสลิมเอง ด้วยเหตุนี้เองจึงผลักดันให้ชาติมุสลิมชั้น นาที่กาลังมีบทบาทในเวทีโลกมากขึ้น เช่น ซาอุดิอาระเบีย ตุรกี และอินโดนีเซีย แสดงบทบาท ในการเป็นผู้ประสานโลกมุสลิมและร่วมกันแก้ปัญหา ที่เกิดขึ้น อันจะทาให้ในระยะยาวโลกมุสลิมใน ภาพรวมจะมีพัฒนาการที่ดีขึ้นเช่นกัน สาหรับประเทศไทย ควรตระหนักว่าในโลก ยุคโลกาภิวัตน์นี้การผงาดขึ้นของชาติใดชาติหนึ่งมัก หนีไม่พ้นการเกี่ยวข้องกับ ชาติอื่น ๆ ทั้งในแง่ความ ร่วมมือและความขัดแย้ง โดยประเทศไทยนั้นมี พื้นฐานที่พร้อมสาหรับการ เข้าเป็นส่วนหนึ่งของกระแส การเจริญก้าวหน้าของโลก ภาพ กษัตริย์ Salman แห่งราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบียเสด็จเยือนอินโดนีเซียเมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ที่มาภาพ https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Salman_Jokowi_2017.jpg
  • 15. WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017| 12 ความสัมพันธ์ระหว่างจีน-อาเซียน ได้ พัฒนาและเติบโตมากว่า 25 ปี ความร่วมมือ ครอบคลุมทั้งด้านเศรษฐกิจ การค้า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ความมั่นคง และการเป็นหุ้นส่วนทาง ยุทธศาสตร์ ความสาคัญของอาเซียนต่อจีน เนื่องจากอาเซียนเป็นตลาดขนาดใหญ่ของจีน ที่มี ประชากรราว 600 กว่าล้านคน ในด้านภูมิ รัฐศาสตร์ (Geopolitics) อาเซียนก็ตั้งอยู่กลาง ระหว่างสองอารยธรรมยิ่งใหญ่ คือ จีนกับอินเดีย มี ทางออกสู่ทั้งทะเลอันดามันและมหาสมุทรอินเดีย และอาเซียนมีความใกล้ชิดกับจีนทางวัฒนธรรมอีก ด้วย ด้วยเหตุนี้ เมื่อจีนมีความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดด อาเซียนจึงเป็นพื้นที่ แรกๆ ที่จีนเข้ามาลงทุน ด้วยการสนับสนุนจาก รัฐบาล ไม่ว่าจะเป็นนโยบาย Going Out ที่รัฐ จีนสนับสนุนด้านภาษีและการเงินให้บริษัทจีนที่ ออกมาลงทุนข้างนอก รวมถึงนโยบาย Soft Power ที่มาในรูปแบบการช่วยเหลือด้านการเงิน แก่ประเทศที่ด้อยกว่า โดยเฉพาะประเทศในแถบ อาเซียน ซึ่งในงานชิ้นนี้เลือกศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว เนื่องจากประเทศเหล่านี้เป็นเพื่อน บ้านที่มีชายแดนติดกับประเทศไทย การเข้ามามี บทบาทของจีนอาจส่งผลกระทบหรือเป็นโอกาส สาหรับไทยได้ โดยจะศึกษาบทบาทจีนในด้าน พลังงาน โครงสร้างพื้นฐาน การทหารและความ มั่นคง อสังหาริมทรัพย์ และเศรษฐกิจ ด้านพลังงานและแร่ธาตุ จีนเข้ามาลงทุนใน ด้านพลังงานในพม่าหลายโครงการ อาทิ โครงการ ก่อสร้างท่อส่งก๊าซธรรมชาติ (ปัจจุบันเปิดใช้แล้ว) โครงการก่อสร้างท่อส่งน้ามันดิบ โครงการโรงไฟฟ้า ที่มาภาพ https://cdn.mainichi.jp/vol1/2016/08/20/20160820p2a00m0na004000p/9.jpg?1
  • 16. 13 | WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017 พลังงานน้ามิตโสนที่ก่อนหน้านี้ถูกคัดค้านจนต้องยุติไป แต่ภายหลังได้ถูกหยิบยกขึ้นมาพูดคุยกันใหม่ระหว่าง จีนกับพม่า อีกทั้งมีการเข้ามาลงทุนก่อตั้งโรงงานผลิตแผงพลังงานแสงอาทิตย์ยักษ์ใหญ่ของจีนในมาเลเซียด้วย นอกจากนี้ ยังมีบริษัทจีนได้รับสัมปทานเข้ามาสารวจทรัพยากรแร่ธาตุในกัมพูชา และโครงการเหมืองทองแดง โมนยวาในพม่าที่จีนเข้ามาลงทุน ด้านเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุน จีนเข้ามาร่วมลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษในหลายประเทศ เช่น เขตเศรษฐกิจพิเศษจ้าวผิ่วในพม่า เขตเศรษฐกิจพิเศษอิสกันดาร์ในมาเลเซีย และยังมีเขตนิคมอุตสาหกรรม มาเลเซีย(กวนตัน)-จีน นอกจากนี้ ยังมีการลงทุนด้านอุตสาหกรมสิ่งทอและด้านเกษตรกรรมในกัมพูชา รวมถึงการลงทุนในการก่อสร้างห้างสรรพสินค้าอีกหลายแห่งในลาว โครงสร้างพื้นฐาน การลงทุนด้านก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน จะเน้นไปที่การก่อสร้างเส้นทาง รถไฟ ในมาเลเซีย เส้นทางจากเมืองตุมปัตไปสิ้นสุดที่ท่าเรือน้าลึกเคลัง เชื่อมฝั่งตะวันตกและตะวันออก โครงการเส้นทางรถไฟจีน-ลาว เป็นเส้นทางที่สาคัญเพราะจะเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางรถไฟเชื่อมโยงคุนหมิง- สิงคโปร์ (เป็นส่วนหนึ่งของโครงการยุทธศาสตร์ Belt and Road Initiative) ด้านอสังหาริมทรัพย์ จีนเข้ามาลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ในมาเลเซีย ในโครงการ Malaysia City ในกัมพูชา มีหลายโครงการที่จีนเขามาลงทุน เช่น โครงการพัฒนาเมืองใกล้กรุงพนมเปญ และ โครงการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์บนพื้นที่เกาะกง ด้านการเมือง การทหารและความมั่นคง ที่เห็นเด่นชัดสุดคือความสัมพันธ์กับกัมพูชา กัมพูชา ยึดถือนโยบายจีนเดียว กัมพูชายังมีความสาคัญทางยุทธศาสตร์ของจีน ในยุทธศาสตร์ “สร้อยไข่มุก” ซึ่งเป็น ยุทธศาสตร์เกี่ยวพันกันระหว่างการขยายอานาจทางเศรษฐกิจคู่ไปกับการตั้งฐานกองลาดตระเวนทางทหารเพื่อ คุ้มกันความปลอดภัยตลอดเส้นทางการค้าของจีน ด้านการศึกษา จีนเข้ามาลงทุนเปิดมหาวิทยาลัยเซียะเหมิน วิทยาเขตซาลัค ติงกี รัฐสลังงอร์ มาเลเซีย เป็นมหาวิทยาลัยแรกของจีนที่เปิดวิทยาเขตในต่างประเทศ โดยมหาวิทยาลัยเป็นผู้ออกทุนเอง ทั้งหมด การที่จีนเข้ามามีบทบาทในประเทศมาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว แสดงให้เห็นถึงการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีนที่กาลังเติบโตอย่างไม่หยุดหย่อน และประเทศเหล่านี้ก็ได้อานิสงส์จากการเติบโต ของจีน ทาให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโตขึ้นมาด้วย ไม่เพียงเศรษฐกิจ โครงสร้างพื้นฐาน ความเป็นเมืองก็ เจริญตามมา แต่ในขณะเดียวกันก็มีข้อตระหนักว่าประเทศเหล่านี้ก็ต้องเผชิญกับปัญหาที่ตามมา เช่น ปัญหา สิ่งแวดล้อม ปัญหาทางเศรษฐกิจของบริษัทรายเล็กรายน้อยที่ไม่สามารถสู้กับบริษัทยักษ์ใหญ่จากจีนได้ หรือ แม้แต่ปัญหาสังคมวัฒนธรรม ที่วัฒนธรรมท้องถิ่นอาจถูกกลืนหายในเร็ววัน อย่างไรก็ตาม แน่นอนว่าการเข้ามาลงทุนของจีนเป็นโอกาสที่มาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว รวมถึงประเทศอาเซียนต้องคว้าเอาไว้ แต่ต้องกระทาอย่างระมัดระวังและคานึงถึงผลได้ผลเสียที่แท้จริงที่ ประเทศของตนพึงได้รับ
  • 17. WORLD THINK TANK Monitor AUGUST 2017| 14 ข้อเสนอแนะต่อไทย ประเทศไทยในฐานะที่มีภูมิรัฐศาสตร์ที่ดีมาก ตั้งอยู่ใจกลางประเทศอาเซียนทั้งหมด จึงยากที่จะหลีก หนีการเข้ามาของจีน โดยเฉพาะเส้นทางรถไฟคุนหมิง-สิงคโปร์ที่เป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์ Belt and Road Initiative ของจีน แต่เราต้องมองให้เห็นโอกาสสาคัญที่จะใช้ข้อได้เปรียบทางภูมิรัฐศาสตร์ของเรา ให้เกิดประโยชน์ ส่งเสริมธุรกิจบริการด้านการขนส่งโลจิสติกส์ เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่าง อาเซียนและประเทศรอบอาเซียน เราต้องเตรียมความพร้อมในการรองรับการเข้ามาของจีนและการเติบโตของ ประเทศเพื่อนบ้าน โดยใช้ประเทศเพื่อนบ้านตัวอย่างที่ยกมาเป็นกรณีศึกษาในรายงานฉบับนี้ พิจารณาทั้งผลดี และข้อควรตระหนักที่เกิดขึ้นกับประเทศเพื่อนบ้านของเรา เพื่อเป็นแนวทางในการรับมือและเตรียมพร้อม ประเทศต่อไป
  • 18. ไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เอนกทรรศน์ ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ จีนมุ่งลงใต้ อินเดียมุ่งตะวันออก ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย ขบวนการรัฐอิสลาม(Islamic State) อาทิตย์ ทองอินทร์ สั่งซื้อได้ที่ ... 1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com 2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ) 3) Facebook Page : สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ CPWI Bookstore
  • 19. วิทยาลัย รัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริของ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุน จาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความ ปรารถนาที่ต้องการให้เป็นคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยมีพันธกิจ ดังนี้ เพื่อการพัฒนา ประเทศอย่างมีสุขภาวะท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคบูรพาภิวัตน์ ระหว่างสถาบันทาง วิชาการต่างๆ ในประเทศให้เกิดการเชื่อมโยงศึกษาต่อย่อยประเด็นวิชาการเพื่อการพัฒนา เชิงยุทธศาสตร์ เพื่อร่วมระดมความคิด หาทางออกและชี้แนะแนวทางยุทธศาสตร์ เพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทย ให้ได้มีโอกาสเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนความคิดอย่างสร้างสรรค์ ผ่านช่องทางสื่อสาธารณะเพื่อให้สาธารณะสามารถเข้าถึงเพื่อการเรียนรู้ กับสังคมในวงกว้าง สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ คลังปัญญาเพื่อการอภิวัฒน์ประเทศไทย มีชื่อ ภาษาอังกฤษว่า “Klangpanya” โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มีความปรารถนาที่จะเป็นคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยรวบรวมนักคิด นักยุทธศาสตร์ นักวิชาการ และผู้นาที่มี ประสบการณ์ มาระดมความคิด เพื่อกรองประเด็นออกมาเป็นทั้งความรู้และข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์ ผ่านการจัดเวที การประชุมต่างๆ เช่น เวทียุทธศาสตร์ ที่มีการจัดมาอย่างต่อเนื่อง 1Full text of President Xi's speech at opening of Belt and Road forum. ออนไลน์ http://news.xinhuanet.com/english/2017-05/14/c_136282982.htm#0-fbook-1-87251- b182d7286068ff4101843e17368e4b10 2Archeologists Find New Starting Point of 'Silk Road On Sea' ออนไลน์http://www.china.org.cn/english/features/woeld_heritage/23864.htm
  • 20. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Website: www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864