SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
i | FURD Cities Monitor April 2017 FURD Cities Monitor April 2017 | ii
กลับมาอีกครั้ง กับวารสาร FURD CITIES MONITOR ฉบับนี้เป็นฉบับที่ 3แล้ว ทางเราพยายามจับตามองดู
กระแสความคิดการพัฒนาเมืองช่วงที่ผ่านมา เราพบว่าขณะนี้กระแสการพัฒนาเมืองของไทยสนใจแนวคิด Smart city
อยู่พอสมควรซึ่งคนส่วนใหญ่เชื่อว่า Smart City มักเกี่ยวโยงกับเทคโนโลยีที่นามาเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัด
การเมือง
FURD CITIES MONITOR ฉบับนี้เราจึงขอทาหน้าที่เจาะลึกๆ กันเลยว่า แนวคิด Smart cityแนวคิดใหม่ของ
การพัฒนาเมืองที่มาแรงสุดๆ ตอนนี้แนวคิดนี้เกี่ยวข้องเพียงเทคโนโลยีจริงหรือเปล่า หรือจริงๆ แล้วมีหลักคิดอะไรบ้าง
ที่นอกเหนือจากเทคโนโลยี และที่สาคัญมันมีเบื้องหลังอย่างไร ทาไมใครๆ ก็สนใจแนวคิดดังกล่าว พร้อมกันนี้ลองมาดู
กันว่า เมืองในไทย เมืองอะไรที่มีศักยภาพและมีความคืบหน้าในการผลักดันเมืองไปสู่ SMART CITY
ฉบับนี้ทีมงานยังคงตั้งใจ ค้นคว้า วิเคราะห์ เรียบเรียง กันอย่างเต็มที่เช่นทุกฉบับที่ผ่านมา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า
ฉบับนี้จะจุดประกายความเข้าใจของผู้อ่านที่มีต่อแนวคิด Smart city ไม่มากก็น้อย ขอให้ผู้อ่านโปรดติดตาม
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
1 | FURD Cities Monitor April 2017
แนวคิด Smart City กาเนิดขึ้นเมื่อครั้งทั่วทั้งโลก
กาลังเผชิญกับวิกฤตทางเศรษฐกิจครั้งเลวร้ายที่สุดครั้ง
หนึ่งของโลกใน ค.ศ. 2008 ในช่วงดังกล่าวระหว่าง ค.ศ.
2008-2009 เมืองหลายแห่งต่างตระหนักดีว่า เมืองของ
ตนกาลังอยู่ในภาวการณ์แข่งขันกับเมืองอื่นๆ อย่างที่ไม่
เคยเกิดขึ้นมาก่อน เมืองของตนไม่เพียงแข่งขันกับเมือง
ข้างเคียงทั้งในระดับภูมิภาคหรือระดับประเทศเท่านั้น
แต่.... ผลมาจากอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายที่รองรับทั่ว
โลก.... ทาให้เมืองต่างกาลังแข่งขันกันเองในโลก และไม่
เพียงแข่งขันด้านการลงทุนและการจ้างงาน เมืองกาลัง
แข่งขันเพื่อดึงดูดคนรุ่น Y และรุ่น Z ผู้ซึ่งเมืองต่าง
คาดหวังว่า พวกเขาจะเป็นผู้ที่เข้ามาพัฒนาจุดแข็งของ
เศรษฐกิจแนวใหม่ให้กับเมืองต่อไป
ความสนใจของเมืองในเรื่อง Smart City นั้นจะอยู่
ที่การสร้างแบรนด์หรือภาพพจน์ของเมืองและความ
สามารถของเมืองในการดึงดูดคนรุ่นใหม่ หรือที่บางคน
เรียกว่า ชนชั้นสร้ างสรรค์ (Creative Class) เพราะ
โลกาภิวัฒน์สร้างโลกที่แบน ด้วยแนวคิดนี้เองจึงมีผู้นามา
ประยุกต์กับอุตสาหกรรมสินค้าโภคภัณฑ์ต่างๆ ให้มี
ลักษณะเด่นพิเศษด้วยการสร้างงานที่มีคุณค่าสูงเพื่อทาให้
เมืองมีเสน่ห์ดึงดูด ปรากฏการณ์นี้ในช่วงเริ่มต้นพบว่างาน
กระจุกรวมกันอยู่ในเมืองขนาดเล็ก
ประสบการณ์การริเริ่ม Smart City
ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ค.ศ. 2008 บริษัท IBM ได้
เริ่มทางานด้วยแนวคิด Smart City ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่ง
ของงานที่ได้ริเริ่มขึ้นในชื่อ Smart Planet ถัดมาในช่วงต้น
ค.ศ. 2009 แนวคิดนี้เริ่มดึงดูดพลังความคิดที่มาจากหลาย
ประเทศทั่วโลก โดย IBM ประยุกต์เทคโนโลยีข้อมูลมาใช้
เพื่อทาให้เมืองมีความเป็นอัจฉริยะขึ้น ยุทธศาสตร์การทา
Smart City ของ IBM นั้น จะเน้นไปที่การวิเคราะห์และการ
จัดการข้อมูล เทคโนโลยี analytical algorithms and data
processing ซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการทาความเข้าใจ
เกี่ยวกับ ข้อมูลเซ็นเซอร์จานวนมาก
ส่วน Cisco ในอเมริกา ได้ริเริ่มโครงการ Connect-
ed Urban Development programme ใน ค.ศ. 2005 มา
ก่อน โดยทางานกับเมืองซานฟรานซิสโก อัมสเตอร์ดัม และ
โซล เป็นการดาเนินการเพื่อทดลองศักยภาพของเทคโนโลยี
ที่ Cisco มี ในฐานะผู้สร้างเครื่องมืออุปกรณ์เครือข่าย อัน
เป็นความรู้ทางเทคนิคที่นามาใช้พัฒนาเมืองให้ยั่งยืนมาก
ขึ้น โดยได้จัดทา Smart and Connected Communities
เพื่อรองรับการค้าขายผลิตภัณฑ์และบริการ
ในส่วนอื่นๆ ของโลก ประเทศเกาหลีใต้ สหรัฐ
อาหรับเอมิเรตต์ และจีน เริ่มลงทุนอย่างมากในงานวิจัย
และการสร้างเมือง และมีตัวอย่างมากมายที่สามารถเรียนรู้
ได้ เช่น เวียนนา อาฮุซ อัมสเตอร์ดัม ไคโร ไลออน มาลา
กา มัลต้า the Songdo International Business District
ใกล้กรุงโซล Verona และอีกหลายๆ เมืองในโลก
มีการคาดการณ์ว่า ใน ค.ศ. 2020 จะมีการใช้จ่าย
ในเทคโนโลยี Smart City สูงถึง 1.6 แสนล้านดอลลาร์
สหรัฐ พร้อมกับเมืองจานวนมากทั่วโลกที่มีความต้องการ
เทคโนโลยี Smart City จึงดูเหมือนมีช่องว่างจานวนมากใน
เรื่องดังกล่าว ทาให้บริษัทไอทีที่สาคัญต่างกาลังมองหา
ช่องทางในตลาด Smart City
FURD Cities Monitor April 2017 | 2
แง่คิด
การสร้าง Smart City มีประโยชน์ เนื่องจากมีความสร้างสรรค์ แต่หลายเรื่องก็ไม่ใช่เรื่องใหม่ ซึ่ง
ในความเป็นจริง หัวใจของการสร้าง Smart City มีรากฐานมาจากความต้องการของเมืองที่ต้องการ
กระตุ้นและพัฒนาทางเศรษฐกิจเป็นสาคัญ ดังที่กล่าวข้างต้น
นักพัฒนาเมืองจานวนมากมีความคิดในการสร้างสรรค์เมืองใหม่หรือเขตใหม่ภายในเมือง ว่าทา
อย่างไรให้เมืองน่าสนใจต่อนักลงทุนเป้ าหมาย มีสาธารณูปโภคอะไรที่จับต้องได้ เช่น เครือข่าย
อินเตอร์เน็ตไร้สายสาหรับสาธารณะ สถานีชาร์จไฟฟ้ าสาหรับยานพาหนะ เลนจักรยาน ทาสีตึก และอื่นๆ
ท่ามกลางการพัฒนาเมืองด้วยวิธีคิดแบบนี้จะเห็นว่ามีลักษณะเป็นแฟชัน แต่เรายังทาความเข้าใจน้อย
ถึงสาเหตุและผลกระทบที่จะตามมา เพราะเรามักละเลยรากฐานและจิตวิญญาณของเมือง
เขียนโดย
ยุวดี คาดการณ์ไกล
3 | FURD Cities Monitor April 2017 FURD Cities Monitor April 2017 | 4
ขอบเขตเมืองที่ขยายตัวกว้างใหญ่ขึ้นย่อมนามาซึ่ง
การจัดการที่ซับซ้อนและยุ่งยากขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่
ว่าจะเป็นปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐานที่ไม่เพียงพอ (เช่น
ประปา ไฟฟ้ า ถนนหนทาง) ปัญหาสิ่งแวดล้อมถูกทาลาย
(เช่น พื้นที่สีเขียว ฝุ่นควัน ขยะ น้าเน่าเสีย) ตลอดจนปัญหา
เศรษฐกิจในด้านความเหลื่อมล้าหรือด้านแรงงาน เมือง
หลายแห่งจึงพยายามค้นหาแนวทางและวิธีการที่จะ
นามาใช้แก้ไขหรือรับมือกับปัญหาเหล่านี้ได้อย่างชาญ
ฉลาด เมืองที่นาไปปฏิบัติแล้วประสบความสาเร็จหรือทาให้
คนเมืองมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี ขึ้นได้ จะได้ชื่อว่าเป็น
“ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ (Smart City)” ที่เมืองอื่นควร
ศึกษาเรียนรู้และนาไปประยุกต์ปฏิบัติให้บรรลุผลสาเร็จ
ปัจจุบันแนวคิดของอินเทอร์เน็ตได้ถูกพัฒนามาถึง
ขั้นที่เรียกว่า “อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of
Things : IoT)” หรือขั้นซึ่งเริ่มมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
เครื่องกลเพื่อสื่อสารกับเครื่องกล (Machine-to-Machine :
M2M) เช่น การสั่งการเครื่องใช้ไฟฟ้ าด้วยมือถือ การติดตัว
จับสัญญาณไว้ที่อุปกรณ์ เป็นต้น ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่
ก่อให้เกิดประสิทธิภาพ ช่วยลดต้นทุน ลดเวลาและเพิ่ม
ผลผลิต ดังนั้น การนาเทคโนโลยี IoT ไปใช้จึงสร้าง
ประโยชน์และช่วยเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้มาก
เมื่อก่อนเราพัฒนาเมืองแบบ “Silo Effect” คือ คิด
ออกแบบและนาไปใช้แก้ปัญหาแบบแยกส่วน เช่น เราจะ
แก้เรื่องความปลอดภัย ก็จะออกแบบเพื่อแก้ปัญหาความ
ปลอดภัยโดยเฉพาะ หรือถ้าจะแก้ปัญหาจราจร เราก็จะ
เน้นหาทางออกปัญหาจราจร เป็นต้น แต่สาหรับการใช้
แพลตฟอร์ม IoT ข้อมูลจะมีการเชื่อมโยงถึงกันและกรอบ
การทางานเป็นการแก้ปัญหาแบบองค์รวม ทั้งด้านความ
ปลอดภัย การขนส่ง การจราจร พลังงาน การสื่อสาร และ
โครงสร้างพื้นฐาน ทาให้เกิดการพัฒนาเมืองแบบ Smart
City
องค์กร Intelligent Community Forum (ICF) ซึ่งเป็ น
องค์กรไม่แสวงผลกาไรตั้งอยู่ที่นครนิวยอร์ก ประเทศ
สหรัฐอเมริกา มีการมอบรางวัล Smart 21 Communities
ให้แก่เมืองอัจฉริยะจานวน 21 เมืองเป็นประจาทุกปี โดย
ตัดสินจากปัจจัยสู่ความสาเร็จ 5 ประการ ได้แก่ การ
เชื่อมโยงเทคโนโลยีการส่งข้อมูลความเร็วสูง (Broadband
Connectivity) กาลังแรงงานที่มีความรู้ (Knowledge
Workforce) การพัฒนาดิจิทัลอย่างมีส่วนร่วม (Digital
Inclusion) นวัตกรรม (Innovation) และการตลาดและ
การโฆษณา (Marketing and Advocacy)
หากกวาดสายตาย้อนดูเมืองที่เคยได้รับรางวัลนี้จะ
พบว่า ส่วนใหญ่เป็ นเมืองในประเทศสหรัฐอเมริกา
แคนาดา ไต้หวันและออสเตรเลีย ส่วนเมืองสาคัญในทวีป
เอเชียที่เคยได้รับรางวัลนี้เช่น เมืองเทลอาวีฟ (ประเทศ
อิสราเอล) นครเซี่ยงไฮ้ (ประเทศจีน) ประเทศสิงคโปร์
กรุงโซล (ประเทศเกาหลี) กรุงไทเป (ประเทศไต้หวัน)
เมืองบังกาลอร์ (ประเทศอินเดีย) กรุงคาบูล (ประเทศ
อัฟกานิสถาน) เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ตลอด 12 ปีของการ
มอบรางวัล เมืองในประเทศไทยไม่เคยได้รับเลือกให้เป็น
เมืองอัจฉริยะเลยแม้แต่ครั้งเดียว
5 | FURD Cities Monitor April 2017
ในประเทศไทยมีโครงการหนึ่ง
ที่กล่าวถึงการพัฒนาเมืองสู่ Smart
City หรือเมืองอัจฉริยะ นั่นคือ
“โครงการการวิจัยเชิงนโยบายเพื่อ
เสนอแนะแนวทางการยกระดับ
อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ และ
อิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้กรอบของ
Internet of Things แ ล ะ Smart
City” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เอก
ชัย สุมาลี ซึ่งเมืองอัจฉริยะในที่นี้
หมายถึง เมืองที่มีการบริหารจัดการ
และใช้ทรัพยากรอย่างชาญฉลาด
โดยมีเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นตัวช่วย
สาคัญ เพื่อให้คนเมืองใช้ชีวิตได้ง่าย
สะดวก และรวดเร็วขึ้น
จากการวิเคราะห์ศักยภาพของ
อุตสาหกรรมเป้ าหมายสู่การเป็ น
เมือง Smart City จะพบว่า มี 5 กลุ่ม
อุตสาหกรรม ได้แก่ กลุ่มการขนส่ง
และโลจิสติกส์ กลุ่มสาธารณสุข
สุขภาพ และเทคโนโลยีการแพทย์
กลุ่มธุรกิจทางการค้าและธุรกิจ
ทางการบริการ (เช่น ภาคการเงิน
การศึกษา การท่องเที่ยว เป็นต้น)
กลุ่มธุรกิจด้านพลังงาน และกลุ่ม
อาหาร เกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
ต่อมา ทางโครงการได้คัดเลือก
พื้นที่ต้นแบบในประเทศไทยที่มี
ศักยภาพตามแนวคิดสมาร์ทซิตี้โดย
ใช้เกณฑ์ 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ ขนาด
พื้นที่ (Area) การประเมินมูลค่าเมือง
(Value Appraisal) การประเมิน
ต้ น ทุน เ มื อ ง ( Cost Appraisal)
การจัดประเภทเมือง (City Catego-
ry) และการสร้างความสมดุล จน
สุดท้ายได้พื้นที่ต้นแบบคือ เทศบาล
นครแหลมฉบัง เทศบาลนคร
ขอนแก่น เทศบาลเมืองแสนสุข และ
จังหวัดภูเก็ต

“เมืองอัจฉริยะ” ไม่ใช่คาใหม่
แต่อย่างใด เพียงแต่คานี้ถูกหยิบยกขึ้น
มาโดยใช้ มุมมองใหม่ โดยนา
เทคโนโลยีการสื่อสารเข้ามาช่วย
บริหารโครงสร้างพื้นฐานและภาค
บริการภายในเมือง เช่น การใช้อุปกรณ์
เคลื่อนที่ การฝั่งอุปกรณ์ขนาดเล็ก การ
ใช้เซ็นเซอร์ตรวจจับ เป็ นต้น โดย
พื้นฐ าน แล้ ว เมื อง อัจ ฉริ ยะ มี
จุดประสงค์ในการบรรเทาและแก้ไข
ปัญหาภายในเมือง เพื่อทาให้เมืองเป็น
เมืองน่าอยู่ขึ้น บางครั้งเราอาจเรียกว่า
“เมืองอัจฉริยะเป็นต้นแบบของการเป็น
เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน” ก็ว่าได้
FURD Cities Monitor April 2017 | 6
คาว่า “อัจฉริยะ (Smart)” มีนัย
หมายถึง “ความเป็ นมิตรกับผู้ใช้”
มากกว่าที่จะหมายถึง “ความชาญ
ฉลาด” ที่จากัดอยู่แค่การมีความคิด
ประมวลผลไวและตอบสนองได้ดี
รวดเร็ว ถูกต้อง กล่าวคือ เมืองอัจฉริยะ
ต้องเป็นเมืองที่ปรับตัวเข้าหาความ
ต้องการของผู้ใช้ ยืดหยุ่นปรับเปลี่ยน
ได้ ใช้งานง่ายและกลมกลืนไปกับวิถี
ชีวิตคนเมือง อีกทั้งเมืองต้องกระตุ้นให้
เกิดการจัดเก็บ จัดการและใช้ข้อมูลที่
ฝังอยู่ในโครงสร้ างพื้นฐานทาง
กายภาพ ตั้งแต่สัญญาณไฟจราจร
เครื่องออกบัตรโดยสารรถไฟฟ้ า
ตู้เอทีเอ็ม ไปจนถึงระบบไฟฟ้ าประปา
ขนส่งทั้งหลาย เพื่อให้เกิดการจัดการ
แก้ปัญหาเมืองอย่างประสิทธิภาพ
รวดเร็วและคุ้มค่า เช่น หากจุดไหนเกิด
รถติดมากกะทันหัน เมืองก็รู้สาเหตุได้
จากการดูกล้องวงจรปิดแล้วลงพื้นที่
หรือปรับสัญญาณไฟแก้ไขได้ทันที
หากน้าเน่าเสีย อากาศแย่ ข้อมูลก็
สามารถบ่งชี้แจ้งเตือนได้ทันที ฉะนั้น
เมืองที่มีความเป็นอัจฉริยะต้องรู้จักใช้
บทเรียนจากอดีต (โดยการเก็บข้อมูล
สถิติ) มาแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
และต้องมีการแชร์ข้อมูลเพื่อสร้าง
เครือข่ายความร่วมมือระหว่าง
หน่วยงานและเมืองด้วย
ทุกวันนี้แนวคิดเรื่องเมืองเกิดขึ้น
อย่างแพร่หลาย เมืองแต่ละแห่งต่างมี
เป้ าหมายไปตามลักษณะของเมือง
ขึ้นอยู่กับว่าผู้นาเมืองต้องการอะไร
สังคมเมืองเป็นแบบไหน ทรัพยากร
เมืองมีอะไร เศรษฐกิจการค้าเติบโตแค่
ไหน สิ่งเหล่านี้ต่างมีส่วนในการ
กาหนดว่าเมืองควรจะมุ่งไปทิศทางใด
บางเมืองที่เต็มไปด้วยทรัพยากร
ธรรมชาติก็อาจจะตั้งตนเป็นเมืองนิเวศ
(Eco-City) อุทยานนคร (Garden
City) หรือเมืองสีเขียว (Green City)
บางเมืองที่โดดเด่นด้านการค้าการ
ลงทุนก็อาจจะมุ่งเป็นเมืองระดับโลก
(Global City) เมืองการค้านานาชาติ
(International Trade City) หรือเมือง
ที่มีศักยภาพในการแข่งขัน (Global
Competitive City)
เมืองอัจฉริยะก็เป็นแนวคิดหนึ่ง
ที่เมืองจาเป็นต้องมีทั้งผู้นาและคนใน
เมืองที่เห็นความสาคัญของการใช้
ข้อมูลและใช้เทคโนโลยี เพราะถ้าไม่มี
ผู้นาที่เห็นค่าของสิ่งเหล่านี้เมืองก็จะ
ไม่มีโครงสร้างพื้นฐานมารองรับ ไม่มี
นโยบายที่ส่งเสริมความเป็นอัจฉริยะ
และถ้าคนในเมืองไม่เห็นด้วยก็จะ
7 | FURD Cities Monitor April 2017
ไม่มีผู้ใช้เทคโนโลยี ไม่เกิดความเป็น
อัจฉริยะ การลงทุนจะสูญเปล่าทันที
ฉะนั้น แนวคิดเมืองอัจฉริยะจึงไม่ได้
ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของเมือง
เท่าใดนัก แต่เป็นเรื่องของกระบวน
ทัศน์ของผู้นา ผู้สร้างบ้านแปงเมือง
รวมทั้งคนในเมืองเสียมากกว่า ซึ่ง
ปัจจุบันเรามองเมืองอัจฉริยะได้ใน 3
มุมมอง ดังนี้
1) มุมมองด้านเทคโนโลยี
เป็นการมองว่าเมืองอัจฉริยะคือ
แนวคิดที่มุ่งใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย
จัดการแก้ไขปัญหาของเมืองอย่าง
อัจฉริยะ โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
ประยุกต์เข้ากับโครงสร้างพื้นฐานและ
ภาคบริการในเมือง เพื่อให้คนเรารู้
เหตุการณ์ปัจจุบันทันด่วน และใช้
ข้อมูลสารสนเทศในการวิเคราะห์เชิง
ลึก เพื่อช่วยให้คนและธุรกิจในเมือง
ตัดสินใจเลือกได้เหมาะสมและคุ้มค่า
ที่สุด
2) มุมมองด้านคน
เป็นการมองว่าเมืองอัจฉริยะคือ
แนวคิดที่เน้นการจัดการโครงสร้าง
พื้นฐานสาหรับคนเมือง เน้นทุนทาง
สังคม เน้นการศึกษา มุ่งพัฒนาเมือง
ให้เป็นแหล่งรวมของคนรอบรู้ (Smart
People) หรือคนที่มีการเรียนรู้ตลอด
ชีวิต มีความคิดสร้างสรรค์ มีความ
ยืดหยุ่น สามารถกลมกลืนไปกับความ
หลากหลายทางสังคมและเชื้อชาติ
เปิดกว้างทางความคิดและมีส่วนร่วม
ทางสังคม เพื่อให้เกิดประโยชน์จาก
การรวมตัวกันในเมือง (Urban Ag-
glomeration) ซึ่งจะทาให้เราแก้ปัญหา
เมืองได้ด้วยความคิดสร้างสรรค์ ทุน
ทางสังคมและความร่วมมือกัน
FURD Cities Monitor April 2017 | 8
3) มุมมองด้านสถาบัน
เป็นการมองว่าเมืองอัจฉริยะคือ
แนวคิดที่มุ่งสร้ างสภาพแวดล้อม
ทางการบริหาร ทั้งโครงการริเริ่ม
โครงสร้างการบริหารและระเบียบ
ข้อตกลงของเมือง เพื่อให้เกิดการ
บริหารจัดการที่ชาญฉลาด (Smart
Governance) โด ยที่ การ บริ หา ร
จัดการนั้นจะต้องเน้นคนเมืองเป็ น
ศูนย์กลาง (Citizen-Centric) หรือเน้น
การขับเคลื่อนด้วยพลเมือง (Citizen-
Driven) และสร้างความร่วมมือจาก
ทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็ นพลเมือง
ชุมชนและธุรกิจเป็นสาคัญ
จากการแบ่งแนวคิดเมืองที่
เกี่ยวข้องกับเมืองอัจฉริยะออกเป็น
3 มิติ สรุปได้ว่า องค์ประกอบที่จาเป็น
ต่อการขับเคลื่อนสู่การเป็ นเมือง
อัจฉริ ยะมีด้ วยกัน 3 ส่วน คือ
เทคโนโลยี (โครงสร้างพื้นฐานของ
ฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์) คน(ความคิด
สร้างสรรค์ ความหลากหลายทาง
สังคม กับการศึกษา) และสถาบัน
(ภาครัฐกับนโยบาย) ฉะนั้น เมืองจะ
อัจฉริยะได้ต้องลงทุนทั้ง 3 ส่วน นั่นคือ
ทุนมนุษย์ ทุนทางสังคมและโครงสร้าง
พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
สมดุล เพื่อเสริมสร้างความยั่งยืนของ
เมืองและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนเมือง
ทั้งนี้ต้องมีการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ควบคู่กันไปด้วย
แปลและเรียบเรียง
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
อ้างอิง
Intelligent Community Forum.
(2017). The Smart21 Communities
of the Year. Retrieve from : http://
www.intelligentcommunity.org/
smart21
Taewoo Nam and Theresa A. Par-
do. (2011). Conceptualizing Smart
City with Dimensions of Technolo-
gy, People, and Institutions.
เอกชัย สุมาลี. (2560). โครงการการ
วิจัยเชิงนโยบายเพื่อเสนอแนะแนว
ทางการยกระดับอุตสาหกรรม
ซอฟต์แวร์และอิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้
กรอบของ Internet of Things และ
Smart City”
9 | FURD Cities Monitor April 2017
เป็น
กระแสแนวคิดการพัฒนาเมืองที่กาลังเป็นที่นิยมนามาใช้
ไปทั่วโลก เพราะ เป็นเรื่องของการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมา
ปรับใช้กับเมืองเพื่อให้มีความน่าอยู่มากขึ้น ประชาชน
สามารถเข้าถึงบริการสาธารณะของเมืองได้อย่างรวดเร็ว
พัฒนาคุณภาพชีวิตคนเมือง และที่สาคัญใส่ใจ
สิ่งแวดล้อมมาก ขณะนี้หลายเมืองทั่วโลกกาลังดาเนิน
แนวคิดเมืองอัจฉริยะ อย่างจริงจัง โดยส่วนใหญ่จะมี
บ ริ ษั ท
เทคโนโลยี
ชั้นนาระดับโลก
ให้ความร่วมมือกับ
รัฐบาลในการนาเอาเทคโนโลยี
ICT เข้ามาช่วยบริหารจัดการเมืองและชุมชน
ซึ่งหลายเมืองประสบความสาเร็จไปแล้ว เช่น สิงคโปร์
หางโจว นิวยอร์ก เป็นต้น
บริษัท
พัฒนาเมือง
จากัด
กลไกขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะ
ในประเทศไทย
FURD Cities Monitor April 2017 | 10

ประเทศไทย มีการตื่นตัวไม่น้อยกับแนวคิดเมือง
อัจฉริยะ หลายคนคาดหวังว่าจะเป็นแนวคิดใหม่ที่จะช่วย
ให้เป็นการพัฒนาเมืองแนวใหม่ที่จะช่วยสร้างโอกาสในการ
ขยายตัวของเศรษฐกิจในระดับพื้นที่ให้ดีขึ้น เมืองอัจฉริยะ
ที่เราหวังอยากจะเป็นเฉกเช่นเดียวกับเมืองในต่างประเทศ
นั้น คือการนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการพัฒนา นั่น
หมายความว่า ต้องใช้งบประมาณที่ สูงมาก จึงต้องอาศัย
ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งรัฐบาลส่วนท้องถิ่น ภาค
ธุรกิจ และรวมไปถึงประชาชนด้วยที่เข้ามาร่วมกันพัฒนา
เมืองอัจฉริยะ ความต้องการกลไกในการพัฒนา
เมืองอัจฉริยะ เป็ นที่มาของการก่อตั้ง
บริษัทพัฒนาเมือง หรือการรวมตัว
ของนักธุรกิจท้องถิ่น เพื่อจัดตั้ง
เป็นบริษัทในการขับเคลื่อนการ
พัฒนาพื้นที่ของตนเองไป
ข้างหน้าและไม่ได้หวัง
พึ่งพารัฐบาลอย่างเดียว
ดังนั้น การมีบริ ษัท
พัฒนาเมืองจะเป็ น
ตัวกลางในการจัดการ
เรื่องการลงทุนจะทาให้
ง่ายขึ้นโดยขอนแก่นเป็น
เมืองแรกที่สามารถก่อตั้ง
บริษัทพัฒนาเมืองสาเร็จ
เป็นที่แรก โดยชื่อว่าบริษัท
ขอนแก่นพัฒนาเมือง (KKTT)
นาโดยเทศบาลนครขอนแก่น
ร่วมมือกับนักธุรกิจรุ่นใหม่ของเมืองที่
ระดมเงินจดทะเบียนบริษัทกว่า 200 ล้าน
บาท เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของจังหวัดตนเอง
และการพัฒนาเมืองด้านอื่นๆ ของเมือง

การสร้างกลไกกลางในการจัดการเมืองอัจฉริยะใน
รูปแบบบริษัทพัฒนาเมือง ที่มีการระดมทุนของเอกชน
ร่วมมือกับรัฐท้องถิ่น ไม่ได้เกิดแค่เฉพาะในขอนแก่นเท่านั้น
แต่ขณะนี้กลุ่มภาคเอกชนหลายจังหวัด โดยเฉพาะในเมือง
ใหญ่ ได้เริ่มมีการรวมตัวและระดมทุนจัดตั้งบริษัทพัฒนา
เมือง เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนและพัฒนาเมือง โดย
เน้นการมีส่วนร่วมของคนทุกภาคส่วน และคาดหวังว่าจะ
สามารถตอบสนองความต้องการของคนเมืองได้มากขึ้น
ปัจจุบันประเทศไทยมีความเคลื่อนไหวของบริษัท
พัฒนาเมืองทั้งหมด 7 จังหวัด โดยเมืองที่ความคืบหน้า
มากที่สุด มี 3 เมือง คือ ขอนแก่น ภูเก็ต และเชียงใหม่ และ
อีก 4 จังหวัด กาลังอยู่ในช่วงดาเนินงาน ดังนี้
จังหวัดพิษณุโลก ได้จัดตั้งบริษัท พิษณุโลก
พัฒนาเมือง จากัด ด้วยทุนจดทะเบียนราว 50 ล้านบาท
จังหวัดสมุทรสาคร อยู่ระหว่างการยื่นขอจด
ทะเบียนบริษัท ด้วยทุนจดทะเบียนราว 100-200 ล้านบาท
จังหวัดสระบุรี อยู่ในขั้นตอนการจดทะเบียน
จัดตั้งบริษัทพัฒนาเมือง ด้วยทุนจดทะเบียนราว 100 ล้าน
บาท
จังหวัดระยอง อยู่ในขั้นตอนการจดทะเบียน
จัดตั้งบริษัทพัฒนาเมือง ด้วยทุนจดทะเบียนราว 100 ล้าน
บาท
นอกจากนี้ยังมีอีกหลายเมือง อาทิ หาดใหญ่ เมือง
ใหญ่ในสงขลา อุดรธานี และชลบุรี ที่ให้
ความสนใจจะขับเคลื่อนเมือง
ภายใต้การดาเนินการใน
รูปแบบของบริษัท
พัฒนาเมือง
11 | FURD Cities Monitor April 2017
เป็นจังหวัดที่สนใจนาแนวคิดเมือง
อัจฉริยะ (Smart City) มาเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนา
เมือง ภายใต้กรอบของเมืองอัจฉริยะ ขอนแก่นต้องการ
สร้างระบบขนส่งสาธารณะด้วยการลงทุนของท้องถิ่นเอง
เพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรที่หนาแน่น จากที่ขอนแก่น
กลายเป็นเมืองใหญ่ มีประชากรหลั่งไหลเข้ามามาก เพื่อ
ตอบโจทย์เมืองอัจฉริยะ และลงทุนขนาดใหญ่ ขอนแก่น
เป็นเมืองแรกที่ใช้โมเดลแบบบริษัทพัฒนาเมือง หลังจาก
ขับเคลื่อนมานานหลายปี ขณะนี้บริษัท ขอนแก่นพัฒนา
เมือง จากัด หรือ KKTT ได้จดทะเบียนเรียบร้อยแล้ว โดย
มีตัวแบบการระดมทุนเพื่อพัฒนาดังเมือง ดังนี้
ขั้นที่ 1 ภาคเอกชน 20 บริษัท ในขอนแก่นร่วม
ลงทุนและก่อตั้งบริษัท ทุนจดทะเบียน 200 ล้านบาท
ขั้นที่ 2 การระดมทุนสาธารณะ (Crowd Fund-
ing) จากบุคคลและนิติบุคคลทั่วไปในจังหวัดขอนแก่น
และผู้สนใจจากทั่วประเทศ
ขั้นที่ 3 กองทุนโครงสร้างพื้นฐาน หลังจาก
โครงการเริ่มเปิดดาเนินการใน 2 ปีแรก นาโครงการเข้า
จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
วว
สาหรับความคืบหน้าโครงการพัฒนาเมือง
โครงการขอนแก่น Smart City ต้องการสร้างระบบขนส่ง
มวลชนรางเบาร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5 แห่ง
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้เสนอขออนุมัติการก่อสร้าง
รถไฟฟ้ ามวลเบา สาย เหนือ – ใต้ ระยะทาง 26 กิโลเมตร
คาดเสร็จปลาย พ.ศ. 2562 ขณะนี้โครงการ ขนส่งมวลชน
รถไฟฟ้ ารางเบา มีความคืบหน้าไปมาก โดยคาดว่าจะเริ่ม
ก่อสร้างได้กลาง พ.ศ. 2560
นอกจากนี้ขอนแก่นกาลังมีแผนการลงทุนพัฒนา
เมือง ทั้งด้านการศึกษา การแพทย์ โครงข่ายโครงสร้าง
พื้นฐานด้านคมนาคม เพื่อก้าวเข้าสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ
อย่างเต็มตัว
ขอนแก่น
กับการก้าวเข้าสู่เมืองอัจฉริยะ
FURD Cities Monitor April 2017 | 12
ท่ามกลางความเป็นเมืองที่เติบโตทั่วทุกภาคของประเทศไทย พร้อมกับเป็นการ
เติบโตที่เชื่อมต่อกับโลภาภิวัตน์ มีการหลั่งไหลของผู้คนที่ไม่ใช่แค่คนในประเทศ แต่ยัง
หมายถึงคนจากต่างประเทศ อีกทั้งแต่ละเมืองยังมีอัตลักษณ์ ที่แตกต่างหลากหลาย
การบริหารเมืองแบบเดิม ที่รวมศูนย์อานาจบริหารเมืองคงไม่ใช่ทางเลือกที่ดีในการจัด
การเมืองต่างๆ อีกทั้งหากรอคอยการกระจายอานาจให้รัฐท้องถิ่นบริหารจัดการเองคงเป็น
เรื่องที่เกิดขึ้นยากในเร็วนี้ บริษัท พัฒนาเมือง จากัด ภายใต้ความร่วมมือของเอกชน ผู้มี
ทุน รัฐบาลท้องถิ่นที่มีอานาจการบริหาร และประชาชนผู้เป็นส่วนหนึ่งของเมือง น่าจะเป็น
กลไกทางออกที่เป็นความหวังคอยนาทางการพัฒนา และนาเมืองไปสู่การเปลี่ยนแปลงได้
แต่ทั้งนี้โดยหลักการดูเหมือนจะมีการส่วนร่วมทุกภาคส่วน แต่ข้อควรระวัง คือ การจัดสรร
ผลประโยชน์ ที่จะไม่ใช่เป็นการพัฒนาที่เข้าทางผลประโยชน์ของกลุ่มใดที่มากกว่า หวัง
เพียงแต่ 3 พลังอานาจจะถ่วงดุล พัฒนาเมืองโดยคานึงถึงความสุขและคุณภาพชีวิตของ
คนในเมืองมากกว่าสิ่งใด
เรียบเรียง
ณัฐธิดา เย็นบารุง
อ้างอิง
บริษัท ขอนแก่นพัฒนาเมือง จากัด ออนไลน์ http://
www.khonkaenthinktank.com/
ประชาชาติธุรกิจ. (2560). 7 จังหวัด แห่ตั้งบริษัทพัฒนา
เมือง "เชียงใหม่" เร่งแก้ขนส่งมวลชน. ออนไลน์ http://
www.prachachat.net/news_detail.php?
newsid=1486357836
13 | FURD Cities Monitor April 2017
หากจะกล่าวถึงเมืองใดเมืองหนึ่งในประเทศไทยที่ปัจจุบันมีความพร้อมสาหรับการพัฒนาสู่การเป็น
“เมืองอัจฉริยะ” (Smart City) มากที่สุด “ภูเก็ต” คงเป็นชื่อที่ถูกนึกถึงเป็นอันดับแรกๆ ทั้งนี้ด้วยความเป็นเมือง
ขนาดเล็กที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงจากการท่องเที่ยวและการลงทุน โดยเฉพาะจากต่างชาติ ประกอบ
กับการมีระบบโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็นค่อนข้างสมบูรณ์ ใน พ.ศ. 2558 จังหวัดภูเก็ตจึงได้รับคัดเลือกให้
เป็นเมืองนาร่องแห่งแรกในโครงการพัฒนา Smart City ภายใต้นโยบายการเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของ
ประเทศด้วยการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลของรัฐบาล ทั้งยังเป็นกลไกสาคัญที่จะรองรับแผนพัฒนาตามแนว
ทางการขับเคลื่อนประเทศสู่ Thailand 4.0 ที่กาลังจะเกิดขึ้น
Phuket Smart City หรือ โครงการส่งเสริมพื้นที่พิเศษสาหรับเศรษฐกิจดิจิทัล ถือกาเนิดขึ้นจากการ
ริเริ่มของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในระยะแรก ได้วางเป้ าหมายในการพัฒนาเมืองน่าอยู่ใน
2 พื้นที่ ได้แก่ เขตเทศบาลเมืองป่าตอง และเขตเทศบาลเมืองภูเก็ต ซึ่งนับเป็นสองพื้นที่ที่มีความเป็นเมืองสูง
PHUKET
Smart
City
FURD Cities Monitor April 2017 | 14
สังคมปัจจุบันอยู่ในยุค Inter-
net of Things ที่เทคโนโลยีล้าสมัย
ทาให้โลกกายภาพ ตลอดไปถึง
ชีวิตประจาวันของผู้คนและกิจกรรม
ต่างๆ แนบชิดกับระบบคอมพิวเตอร์
อย่างแยกไม่ออก ดังนั้น เมืองอัจฉริยะ
ที่แท้จริงจึงต้องมีศักยภาพในการ
เชื่อมโยงข้อมูลและใช้ประโยชน์จาก
ข้อมูลให้ได้มากที่สุดด้วยเทคโนโลยีที่
มีอยู่ โดยครอบคลุมตั้งแต่เรื่องของ
ความปลอดภัย การพักอาศัย การ
คมนาคม ไปจนถึงการพัฒนาธุรกิจ
เพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจและ
คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนเมือง
สาหรับประเทศไทย เมื่อจะเริ่ม
กระบวนการสร้างเมืองอัจฉริยะให้
เกิดขึ้น จึงควรเริ่มจากเมืองขนาดเล็ก
ที่มีความเจริญในระดับที่เหมาะสม
เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการและต่อยอด
การพัฒนา ซึ่งภูเก็ตเป็ นเมืองที่มี
คุณสมบัติดังกล่าว เป็นเมืองที่ไม่ใหญ่
จนเกินไป มีขนาด 543.03 ตร.กม.
แต่เต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ
ด้านการท่องเที่ยวที่โดดเด่น มี
ประชากรราว 3.86 แสนคน (กรมการ
ปกครอง กระทรวงมหาดไทย 2558)
แต่กลับมีจานวนผู้เยี่ยมเยือนตลอด
พ.ศ. 2558 มากถึง 13.2 ล้านคน ใน
จานวนนี้เป็นชาวต่างชาติถึงร้อยละ
70 สร้างรายได้เข้าจังหวัดกว่า 3.13
แสนล้านบาท (กรมการท่องเที่ยว
2559) ทาให้ตลอดหลายปีที่ผ่านมา
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของจังหวัด
มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนปัจจุบัน
ภูเก็ตกลายมาเป็นเมืองเล็กที่มีการ
เติบโตและความเจริญสูงเป็นอันดับ
ต้นๆ ของประเทศ และติดอันดับเมือง
ท่องเที่ยวชั้นนาอันดับที่ 15 ของโลก
ขณะ เดียวกัน ภูเก็ตยังเป็นเมืองที่มี
ความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ICT เช่น โครงข่ายด้านการสื่อสารที่
ทั่วถึง รวดเร็ว มีความเสถียรสูง อีกทั้ง
ยังเป็นหนึ่งในเมืองที่ถูกกาหนดให้เป็น
เมืองอุตสาหกรรมแห่งอนาคตสาหรับ
ธุรกิจเทคโนโลยีชั้นสูง ซึ่งจะช่วยสร้าง
ความแข็งแกร่งด้านอุตสาหกรรมให้
เกิดขึ้นได้ทั้งระบบ

จังหวัดภูเก็ตได้วางเป้ าหมาย
สาหรับการพัฒนาสู่ความเป็น Smart
City อย่างสมบูรณ์ภายใน พ.ศ. 2563
ไว้ด้วยกัน 2 ประเด็น คือ Smart
Economy และ Smart Living Com-
munity ทั้งยังได้กาหนดวิสัยทัศน์ให้
ภูเก็ตเป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวที่มี
การเติบโตอย่างยั่งยืนบนฐานของ
เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ (Creative
Economy) เพื่อความสุขของทุกคน
1. Smart Economy
การสร้ าง Smart Economy
หรือเศรษฐกิจอัจฉริยะของเมือง
ภูเก็ตนั้น จะเน้นส่งเสริมให้เกิด
อุตสาหกรรมที่ 2 คือ อุตสาหกรรม
ดิจิทัล ขึ้นมารองรับอุตสาหกรรม
ท่องเที่ยวที่เป็นอุตสาหกรรมหลัก ซึ่ง
ที่ผ่านมาเศรษฐกิจของจังหวัดภูเก็ต
ขยายตัวได้จากอุตสาหกรรมการ
ท่องเที่ยวขาเดียวมาโดยตลอด จึง
ต้องแสวงหาอุตสาหกรรมใหม่ที่จะ
ช่วยให้เมืองเติบโตได้อย่างยั่งยืน
โดยมุ่งเน้นไปการลงทุนด้านการวิจัย
และพัฒนาด้านเทคโนโลยี ตั้งแต่
การสร้ างแหล่งรวบรวมองค์
ความรู้ในลักษณะของสถาบันวิจัย
(Research Center) ห รื อ ศู น ย์
นวัตกรรม (Innovation Center)
ไปจนถึงการส่งเสริมให้อุตสาหกรรม
การท่องเที่ยวหันมาใช้ Smart
Technology เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ธุรกิจ รวมทั้งการเปิดโอกาสให้ภาค
ธุรกิจและนักพัฒนาซอฟต์แวร์ทั้งใน
ประเทศและต่างประเทศเข้ามาตั้ง
และดาเนินกิจการ ด้วยมาตรการ
ยกเว้นภาษี 8 ปี กระบวนการสร้าง
Smart Economy เหล่านี้ท้ายที่สุด
จะทาให้เมืองภูเก็ตยกระดับเป็ น
ศูนย์กลางแห่งความรู้ และการ
พัฒนาเทคโนโลยี ซึ่งจะส่งผลให้
สินค้าและบริการของเมืองได้รับการ
สร้างสรรค์และต่อยอดจนมีคุณภาพ
และมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น
15 | FURD Cities Monitor April 2017
ปัจจุบัน แผนพัฒนา Smart Economyเริ่มเกิดผล
เป็นรูปธรรม โดยมีบริษัทต่างๆ เข้ามายื่นขอร่วมโครงการ
Phuket Smart City แล้วประมาณ 20-30 บริษัท อย่างไร
ก็ดี จะต้องมีการแสวงหากลไกเพื่อรองรับการถ่ายทอด
เทคโนโลยีจากภาคธุรกิจต่างประเทศที่เข้ามาลงทุนสู่
ท้องถิ่นเพื่อให้การพัฒนาเศรษฐกิจขับเคลื่อนเข้าสู่การ
สร้างการเติบโตของธุรกิจดิจิทัลที่ยั่งยืนในอนาคต
2. Smart Living Community
แนวทางการสร้าง Smart Living Community เพื่อ
สร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของคนในเมืองภูเก็ต แบ่งได้
เป็น 3 ด้าน ได้แก่ การสร้างแอพลิเคชั่นอานวยความ
สะดวกด้านการท่องเที่ยว การสร้างระบบเทคโนโลยีรักษา
ความปลอดภัยครอบคลุมทั่วทั้งเมือง และการสร้างกลไก
IoT ดูแลสิ่งแวดล้อมของเมือง
ด้านการสร้างระบบเทคโนโลยีรักษาความปลอดภัย
ของเมือง ได้มีการวางแผนนาระบบ CCTV ทางาน
ร่วมกับโซลูชันตรวจจับใบหน้า เพื่อเฝ้ าระวัง ตรวจสอบ
และติดตามผู้กระทาผิด ด้านการคมนาคมทางน้า ได้มี
การวางระบบรักษาความปลอดภัยโดยการนา Vessel
Tracking Management System (VTMS) และกลไก
Smart Band ซึ่งเป็นระบบติดตามเรือเพื่อรักษาความ
ปลอดภัยทางน้าให้แก่นักท่องเที่ยว ขณะที่แนวทางการ
สร้างกลไกดูแลสิ่งแวดล้อมของเมืองได้มีความริเริ่มนา
Smart Sensor ที่ผสมผสานเทคโนโลยี IoT มาตรวจสอบ
สภาพภูมิอากาศ ตรวจสภาพของน้าทะเล และตรวจสอบ
ความผิดปกติ ของสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นเพื่อให้
สามารถดาเนินการแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที
ทั้งนี้เพื่อให้การขับเคลื่อนสู่เป้ าหมาย Smart Econ-
omy และ Smart Living Community เป็ นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ ปัจจุบันเมืองภูเก็ตยังมีนโยบายในการเร่ง
ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการอินเทอร์เน็ตฟรีให้แก่
ประชาชนอย่างทั่วถึงภายใต้โครงการ Public High
Speed City Internet ที่เน้นการติดตั้ง Public Free Wi
-Fi ความเร็วแบบ Hi-Speed อย่างน้อย 20Mbps บริเวณ
พื้นที่สาธารณะ โดยเริ่มจาก 2 พื้นที่นาร่อง คือ เขต
เทศบาลเมืองป่าตองและเทศบาลเมืองภูเก็ตก่อนเป็น
อันดับแรก
FURD Cities Monitor April 2017 | 16

นอกจากการสร้าง Phuket Smart City จะเกิดขึ้น
จากมุมของภาครัฐแล้ว ภาคเอกชน ท้องถิ่น ไปจนถึง
ประชาชนในเมืองภูเก็ตเองก็มีความตื่นตัวที่จะเห็น
ความก้าวหน้าเมืองแห่งนี้ด้วยเช่นกัน โดยใน พ.ศ. 2559
ได้ริเริ่มก่อตั้ง บริษัท ภูเก็ตพัฒนาเมือง จากัด ภายใต้
วิสัยทัศน์ "ภูเก็ตเมืองเขียว" ด้วยนวัตกรรมโครงสร้าง
พื้นฐานและการคมนาคมขนส่งสีเขียว ระยะก่อตั้งมี
การระดมทุนจากภาคประชาชนและภาคธุรกิจมูลค่ากว่า
100 ล้านบาท เพื่อนาไปลงทุนในกิจการสาธารณะ
ขณะเดียวกันก็ประสานงานคู่ขนานกับภาครัฐเพื่อการ
พัฒนาพื้นที่จังหวัดภูเก็ตให้เป็นเมือง Smart City ตาม
แผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด ปั จจุบันบริษัทให้
ความสาคัญเป็นพิเศษกับเรื่องการพัฒนาระบบขนส่ง
มวลชนเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและ
นักท่องเที่ยวและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งเสริม
การค้า โดยมีความพยายามผลักดันให้เกิดระบบขนส่ง
มวลชนหลัก คือ รถไฟฟ้ ารางเบา ระยะทาง 60 กิโลเมตร
จากสถานีท่านุ่น จังหวัดพังงาถึงตัวเมืองภูเก็ต และระบบ
ขนส่งมวลชนรอง คือ รถบัสโดยสารประจาทาง 6 สายวิ่ง
ทั่วเมือง ซึ่งทั้งหมด คาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2564
โครงการ Phuket Smart City และบริษัท ภูเก็ต
พัฒนาเมือง จากัด เป็ นตัวอย่างที่ดีของการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองที่สอดประสานกันระหว่าง
รัฐและภาคประชาชนในพื้นที่บนเจตนารมย์เดียวกัน
ที่ต้องการระดมศักยภาพด้านต่างๆ ที่มีอยู่ของเมือง
เพื่อนาไปสู่การปรับปรุงฟื้นฟูเมืองภูเก็ตให้น่าอยู่
และยั่งยืนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ซึ่งในระยะ
ยาว หากแนวทางการพัฒนาดังกล่าวนี้ประสบ
ความสาเร็จ ก็ย่อมยังผลไปสู่การเป็นตัวแบบสาหรับ
การพัฒนาเมืองอื่นๆ ของไทยต่อไป
เรียบเรียง
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
อ้างอิง
สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล. (2560). Phuket
Smart City First Step Thailand 4.0. ออนไลน์ http://
www.depa.or.th/th/article/phuket-smart-city-first-
step-thailand-40
SIPA. (2560). Phuket Smart City Road Map. ออนไลน์
https://phuketrealestateassociation.files.wordpress.
com/ 2016/10/pkt-smartcity-ws-update.pdf
เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง
ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์
เมืองขวางน้า
ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า
ชุดหนังสือเมือง
เมืองนิยม
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
สัมผัสเมืองสายบุรี (Wasa Telubae)
ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
หนังสือออกใหม่
สั่งซือได้ที่ ...
1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com
2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ)
3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies
วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริ ของ
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก
ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่
ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้
เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ
จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่
และระดับประเทศ
ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง
ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี
ประสิทธิภาพ
ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ
หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย
การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่
ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย
การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง
ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน
อนาคตสืบไป
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
Website: www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864

More Related Content

Similar to FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)

นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018IMC Institute
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformationกลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital TransformationIMC Institute
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy IMC Institute
 
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดการบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดMaykin Likitboonyalit
 
Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0Pisuth paiboonrat
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardSatapon Yosakonkun
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2airly2011
 
Platform digital lanscape workshop day#1
Platform digital lanscape workshop day#1Platform digital lanscape workshop day#1
Platform digital lanscape workshop day#1Note Theeraniramit
 
Government Technology Foresight 2020
Government Technology Foresight 2020Government Technology Foresight 2020
Government Technology Foresight 2020Prachyanun Nilsook
 
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIMC Institute
 

Similar to FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017) (20)

Tanyaluck nathi 607 11
Tanyaluck nathi 607 11Tanyaluck nathi 607 11
Tanyaluck nathi 607 11
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
 
Smart industry vol32
Smart industry vol32 Smart industry vol32
Smart industry vol32
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformationกลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
 
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดการบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
 
Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0
 
โครงการ IS3
โครงการ IS3โครงการ IS3
โครงการ IS3
 
Digital trend 2014
Digital trend 2014Digital trend 2014
Digital trend 2014
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forward
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
190828 royal council (6) passakorn
190828 royal council (6) passakorn190828 royal council (6) passakorn
190828 royal council (6) passakorn
 
Modern management techniques in digital economy
Modern management techniques in digital economyModern management techniques in digital economy
Modern management techniques in digital economy
 
Platform digital lanscape workshop day#1
Platform digital lanscape workshop day#1Platform digital lanscape workshop day#1
Platform digital lanscape workshop day#1
 
Government Technology Foresight 2020
Government Technology Foresight 2020Government Technology Foresight 2020
Government Technology Foresight 2020
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)

  • 1.
  • 2. i | FURD Cities Monitor April 2017 FURD Cities Monitor April 2017 | ii กลับมาอีกครั้ง กับวารสาร FURD CITIES MONITOR ฉบับนี้เป็นฉบับที่ 3แล้ว ทางเราพยายามจับตามองดู กระแสความคิดการพัฒนาเมืองช่วงที่ผ่านมา เราพบว่าขณะนี้กระแสการพัฒนาเมืองของไทยสนใจแนวคิด Smart city อยู่พอสมควรซึ่งคนส่วนใหญ่เชื่อว่า Smart City มักเกี่ยวโยงกับเทคโนโลยีที่นามาเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัด การเมือง FURD CITIES MONITOR ฉบับนี้เราจึงขอทาหน้าที่เจาะลึกๆ กันเลยว่า แนวคิด Smart cityแนวคิดใหม่ของ การพัฒนาเมืองที่มาแรงสุดๆ ตอนนี้แนวคิดนี้เกี่ยวข้องเพียงเทคโนโลยีจริงหรือเปล่า หรือจริงๆ แล้วมีหลักคิดอะไรบ้าง ที่นอกเหนือจากเทคโนโลยี และที่สาคัญมันมีเบื้องหลังอย่างไร ทาไมใครๆ ก็สนใจแนวคิดดังกล่าว พร้อมกันนี้ลองมาดู กันว่า เมืองในไทย เมืองอะไรที่มีศักยภาพและมีความคืบหน้าในการผลักดันเมืองไปสู่ SMART CITY ฉบับนี้ทีมงานยังคงตั้งใจ ค้นคว้า วิเคราะห์ เรียบเรียง กันอย่างเต็มที่เช่นทุกฉบับที่ผ่านมา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ฉบับนี้จะจุดประกายความเข้าใจของผู้อ่านที่มีต่อแนวคิด Smart city ไม่มากก็น้อย ขอให้ผู้อ่านโปรดติดตาม ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. 1 | FURD Cities Monitor April 2017 แนวคิด Smart City กาเนิดขึ้นเมื่อครั้งทั่วทั้งโลก กาลังเผชิญกับวิกฤตทางเศรษฐกิจครั้งเลวร้ายที่สุดครั้ง หนึ่งของโลกใน ค.ศ. 2008 ในช่วงดังกล่าวระหว่าง ค.ศ. 2008-2009 เมืองหลายแห่งต่างตระหนักดีว่า เมืองของ ตนกาลังอยู่ในภาวการณ์แข่งขันกับเมืองอื่นๆ อย่างที่ไม่ เคยเกิดขึ้นมาก่อน เมืองของตนไม่เพียงแข่งขันกับเมือง ข้างเคียงทั้งในระดับภูมิภาคหรือระดับประเทศเท่านั้น แต่.... ผลมาจากอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายที่รองรับทั่ว โลก.... ทาให้เมืองต่างกาลังแข่งขันกันเองในโลก และไม่ เพียงแข่งขันด้านการลงทุนและการจ้างงาน เมืองกาลัง แข่งขันเพื่อดึงดูดคนรุ่น Y และรุ่น Z ผู้ซึ่งเมืองต่าง คาดหวังว่า พวกเขาจะเป็นผู้ที่เข้ามาพัฒนาจุดแข็งของ เศรษฐกิจแนวใหม่ให้กับเมืองต่อไป ความสนใจของเมืองในเรื่อง Smart City นั้นจะอยู่ ที่การสร้างแบรนด์หรือภาพพจน์ของเมืองและความ สามารถของเมืองในการดึงดูดคนรุ่นใหม่ หรือที่บางคน เรียกว่า ชนชั้นสร้ างสรรค์ (Creative Class) เพราะ โลกาภิวัฒน์สร้างโลกที่แบน ด้วยแนวคิดนี้เองจึงมีผู้นามา ประยุกต์กับอุตสาหกรรมสินค้าโภคภัณฑ์ต่างๆ ให้มี ลักษณะเด่นพิเศษด้วยการสร้างงานที่มีคุณค่าสูงเพื่อทาให้ เมืองมีเสน่ห์ดึงดูด ปรากฏการณ์นี้ในช่วงเริ่มต้นพบว่างาน กระจุกรวมกันอยู่ในเมืองขนาดเล็ก ประสบการณ์การริเริ่ม Smart City ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ค.ศ. 2008 บริษัท IBM ได้ เริ่มทางานด้วยแนวคิด Smart City ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่ง ของงานที่ได้ริเริ่มขึ้นในชื่อ Smart Planet ถัดมาในช่วงต้น ค.ศ. 2009 แนวคิดนี้เริ่มดึงดูดพลังความคิดที่มาจากหลาย ประเทศทั่วโลก โดย IBM ประยุกต์เทคโนโลยีข้อมูลมาใช้ เพื่อทาให้เมืองมีความเป็นอัจฉริยะขึ้น ยุทธศาสตร์การทา Smart City ของ IBM นั้น จะเน้นไปที่การวิเคราะห์และการ จัดการข้อมูล เทคโนโลยี analytical algorithms and data processing ซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการทาความเข้าใจ เกี่ยวกับ ข้อมูลเซ็นเซอร์จานวนมาก ส่วน Cisco ในอเมริกา ได้ริเริ่มโครงการ Connect- ed Urban Development programme ใน ค.ศ. 2005 มา ก่อน โดยทางานกับเมืองซานฟรานซิสโก อัมสเตอร์ดัม และ โซล เป็นการดาเนินการเพื่อทดลองศักยภาพของเทคโนโลยี ที่ Cisco มี ในฐานะผู้สร้างเครื่องมืออุปกรณ์เครือข่าย อัน เป็นความรู้ทางเทคนิคที่นามาใช้พัฒนาเมืองให้ยั่งยืนมาก ขึ้น โดยได้จัดทา Smart and Connected Communities เพื่อรองรับการค้าขายผลิตภัณฑ์และบริการ ในส่วนอื่นๆ ของโลก ประเทศเกาหลีใต้ สหรัฐ อาหรับเอมิเรตต์ และจีน เริ่มลงทุนอย่างมากในงานวิจัย และการสร้างเมือง และมีตัวอย่างมากมายที่สามารถเรียนรู้ ได้ เช่น เวียนนา อาฮุซ อัมสเตอร์ดัม ไคโร ไลออน มาลา กา มัลต้า the Songdo International Business District ใกล้กรุงโซล Verona และอีกหลายๆ เมืองในโลก มีการคาดการณ์ว่า ใน ค.ศ. 2020 จะมีการใช้จ่าย ในเทคโนโลยี Smart City สูงถึง 1.6 แสนล้านดอลลาร์ สหรัฐ พร้อมกับเมืองจานวนมากทั่วโลกที่มีความต้องการ เทคโนโลยี Smart City จึงดูเหมือนมีช่องว่างจานวนมากใน เรื่องดังกล่าว ทาให้บริษัทไอทีที่สาคัญต่างกาลังมองหา ช่องทางในตลาด Smart City FURD Cities Monitor April 2017 | 2 แง่คิด การสร้าง Smart City มีประโยชน์ เนื่องจากมีความสร้างสรรค์ แต่หลายเรื่องก็ไม่ใช่เรื่องใหม่ ซึ่ง ในความเป็นจริง หัวใจของการสร้าง Smart City มีรากฐานมาจากความต้องการของเมืองที่ต้องการ กระตุ้นและพัฒนาทางเศรษฐกิจเป็นสาคัญ ดังที่กล่าวข้างต้น นักพัฒนาเมืองจานวนมากมีความคิดในการสร้างสรรค์เมืองใหม่หรือเขตใหม่ภายในเมือง ว่าทา อย่างไรให้เมืองน่าสนใจต่อนักลงทุนเป้ าหมาย มีสาธารณูปโภคอะไรที่จับต้องได้ เช่น เครือข่าย อินเตอร์เน็ตไร้สายสาหรับสาธารณะ สถานีชาร์จไฟฟ้ าสาหรับยานพาหนะ เลนจักรยาน ทาสีตึก และอื่นๆ ท่ามกลางการพัฒนาเมืองด้วยวิธีคิดแบบนี้จะเห็นว่ามีลักษณะเป็นแฟชัน แต่เรายังทาความเข้าใจน้อย ถึงสาเหตุและผลกระทบที่จะตามมา เพราะเรามักละเลยรากฐานและจิตวิญญาณของเมือง เขียนโดย ยุวดี คาดการณ์ไกล
  • 4. 3 | FURD Cities Monitor April 2017 FURD Cities Monitor April 2017 | 4 ขอบเขตเมืองที่ขยายตัวกว้างใหญ่ขึ้นย่อมนามาซึ่ง การจัดการที่ซับซ้อนและยุ่งยากขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ ว่าจะเป็นปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐานที่ไม่เพียงพอ (เช่น ประปา ไฟฟ้ า ถนนหนทาง) ปัญหาสิ่งแวดล้อมถูกทาลาย (เช่น พื้นที่สีเขียว ฝุ่นควัน ขยะ น้าเน่าเสีย) ตลอดจนปัญหา เศรษฐกิจในด้านความเหลื่อมล้าหรือด้านแรงงาน เมือง หลายแห่งจึงพยายามค้นหาแนวทางและวิธีการที่จะ นามาใช้แก้ไขหรือรับมือกับปัญหาเหล่านี้ได้อย่างชาญ ฉลาด เมืองที่นาไปปฏิบัติแล้วประสบความสาเร็จหรือทาให้ คนเมืองมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี ขึ้นได้ จะได้ชื่อว่าเป็น “ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ (Smart City)” ที่เมืองอื่นควร ศึกษาเรียนรู้และนาไปประยุกต์ปฏิบัติให้บรรลุผลสาเร็จ ปัจจุบันแนวคิดของอินเทอร์เน็ตได้ถูกพัฒนามาถึง ขั้นที่เรียกว่า “อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things : IoT)” หรือขั้นซึ่งเริ่มมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เครื่องกลเพื่อสื่อสารกับเครื่องกล (Machine-to-Machine : M2M) เช่น การสั่งการเครื่องใช้ไฟฟ้ าด้วยมือถือ การติดตัว จับสัญญาณไว้ที่อุปกรณ์ เป็นต้น ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพ ช่วยลดต้นทุน ลดเวลาและเพิ่ม ผลผลิต ดังนั้น การนาเทคโนโลยี IoT ไปใช้จึงสร้าง ประโยชน์และช่วยเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้มาก เมื่อก่อนเราพัฒนาเมืองแบบ “Silo Effect” คือ คิด ออกแบบและนาไปใช้แก้ปัญหาแบบแยกส่วน เช่น เราจะ แก้เรื่องความปลอดภัย ก็จะออกแบบเพื่อแก้ปัญหาความ ปลอดภัยโดยเฉพาะ หรือถ้าจะแก้ปัญหาจราจร เราก็จะ เน้นหาทางออกปัญหาจราจร เป็นต้น แต่สาหรับการใช้ แพลตฟอร์ม IoT ข้อมูลจะมีการเชื่อมโยงถึงกันและกรอบ การทางานเป็นการแก้ปัญหาแบบองค์รวม ทั้งด้านความ ปลอดภัย การขนส่ง การจราจร พลังงาน การสื่อสาร และ โครงสร้างพื้นฐาน ทาให้เกิดการพัฒนาเมืองแบบ Smart City องค์กร Intelligent Community Forum (ICF) ซึ่งเป็ น องค์กรไม่แสวงผลกาไรตั้งอยู่ที่นครนิวยอร์ก ประเทศ สหรัฐอเมริกา มีการมอบรางวัล Smart 21 Communities ให้แก่เมืองอัจฉริยะจานวน 21 เมืองเป็นประจาทุกปี โดย ตัดสินจากปัจจัยสู่ความสาเร็จ 5 ประการ ได้แก่ การ เชื่อมโยงเทคโนโลยีการส่งข้อมูลความเร็วสูง (Broadband Connectivity) กาลังแรงงานที่มีความรู้ (Knowledge Workforce) การพัฒนาดิจิทัลอย่างมีส่วนร่วม (Digital Inclusion) นวัตกรรม (Innovation) และการตลาดและ การโฆษณา (Marketing and Advocacy) หากกวาดสายตาย้อนดูเมืองที่เคยได้รับรางวัลนี้จะ พบว่า ส่วนใหญ่เป็ นเมืองในประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา ไต้หวันและออสเตรเลีย ส่วนเมืองสาคัญในทวีป เอเชียที่เคยได้รับรางวัลนี้เช่น เมืองเทลอาวีฟ (ประเทศ อิสราเอล) นครเซี่ยงไฮ้ (ประเทศจีน) ประเทศสิงคโปร์ กรุงโซล (ประเทศเกาหลี) กรุงไทเป (ประเทศไต้หวัน) เมืองบังกาลอร์ (ประเทศอินเดีย) กรุงคาบูล (ประเทศ อัฟกานิสถาน) เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ตลอด 12 ปีของการ มอบรางวัล เมืองในประเทศไทยไม่เคยได้รับเลือกให้เป็น เมืองอัจฉริยะเลยแม้แต่ครั้งเดียว
  • 5. 5 | FURD Cities Monitor April 2017 ในประเทศไทยมีโครงการหนึ่ง ที่กล่าวถึงการพัฒนาเมืองสู่ Smart City หรือเมืองอัจฉริยะ นั่นคือ “โครงการการวิจัยเชิงนโยบายเพื่อ เสนอแนะแนวทางการยกระดับ อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ และ อิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้กรอบของ Internet of Things แ ล ะ Smart City” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เอก ชัย สุมาลี ซึ่งเมืองอัจฉริยะในที่นี้ หมายถึง เมืองที่มีการบริหารจัดการ และใช้ทรัพยากรอย่างชาญฉลาด โดยมีเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นตัวช่วย สาคัญ เพื่อให้คนเมืองใช้ชีวิตได้ง่าย สะดวก และรวดเร็วขึ้น จากการวิเคราะห์ศักยภาพของ อุตสาหกรรมเป้ าหมายสู่การเป็ น เมือง Smart City จะพบว่า มี 5 กลุ่ม อุตสาหกรรม ได้แก่ กลุ่มการขนส่ง และโลจิสติกส์ กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีการแพทย์ กลุ่มธุรกิจทางการค้าและธุรกิจ ทางการบริการ (เช่น ภาคการเงิน การศึกษา การท่องเที่ยว เป็นต้น) กลุ่มธุรกิจด้านพลังงาน และกลุ่ม อาหาร เกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ ต่อมา ทางโครงการได้คัดเลือก พื้นที่ต้นแบบในประเทศไทยที่มี ศักยภาพตามแนวคิดสมาร์ทซิตี้โดย ใช้เกณฑ์ 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ ขนาด พื้นที่ (Area) การประเมินมูลค่าเมือง (Value Appraisal) การประเมิน ต้ น ทุน เ มื อ ง ( Cost Appraisal) การจัดประเภทเมือง (City Catego- ry) และการสร้างความสมดุล จน สุดท้ายได้พื้นที่ต้นแบบคือ เทศบาล นครแหลมฉบัง เทศบาลนคร ขอนแก่น เทศบาลเมืองแสนสุข และ จังหวัดภูเก็ต  “เมืองอัจฉริยะ” ไม่ใช่คาใหม่ แต่อย่างใด เพียงแต่คานี้ถูกหยิบยกขึ้น มาโดยใช้ มุมมองใหม่ โดยนา เทคโนโลยีการสื่อสารเข้ามาช่วย บริหารโครงสร้างพื้นฐานและภาค บริการภายในเมือง เช่น การใช้อุปกรณ์ เคลื่อนที่ การฝั่งอุปกรณ์ขนาดเล็ก การ ใช้เซ็นเซอร์ตรวจจับ เป็ นต้น โดย พื้นฐ าน แล้ ว เมื อง อัจ ฉริ ยะ มี จุดประสงค์ในการบรรเทาและแก้ไข ปัญหาภายในเมือง เพื่อทาให้เมืองเป็น เมืองน่าอยู่ขึ้น บางครั้งเราอาจเรียกว่า “เมืองอัจฉริยะเป็นต้นแบบของการเป็น เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน” ก็ว่าได้ FURD Cities Monitor April 2017 | 6 คาว่า “อัจฉริยะ (Smart)” มีนัย หมายถึง “ความเป็ นมิตรกับผู้ใช้” มากกว่าที่จะหมายถึง “ความชาญ ฉลาด” ที่จากัดอยู่แค่การมีความคิด ประมวลผลไวและตอบสนองได้ดี รวดเร็ว ถูกต้อง กล่าวคือ เมืองอัจฉริยะ ต้องเป็นเมืองที่ปรับตัวเข้าหาความ ต้องการของผู้ใช้ ยืดหยุ่นปรับเปลี่ยน ได้ ใช้งานง่ายและกลมกลืนไปกับวิถี ชีวิตคนเมือง อีกทั้งเมืองต้องกระตุ้นให้ เกิดการจัดเก็บ จัดการและใช้ข้อมูลที่ ฝังอยู่ในโครงสร้ างพื้นฐานทาง กายภาพ ตั้งแต่สัญญาณไฟจราจร เครื่องออกบัตรโดยสารรถไฟฟ้ า ตู้เอทีเอ็ม ไปจนถึงระบบไฟฟ้ าประปา ขนส่งทั้งหลาย เพื่อให้เกิดการจัดการ แก้ปัญหาเมืองอย่างประสิทธิภาพ รวดเร็วและคุ้มค่า เช่น หากจุดไหนเกิด รถติดมากกะทันหัน เมืองก็รู้สาเหตุได้ จากการดูกล้องวงจรปิดแล้วลงพื้นที่ หรือปรับสัญญาณไฟแก้ไขได้ทันที หากน้าเน่าเสีย อากาศแย่ ข้อมูลก็ สามารถบ่งชี้แจ้งเตือนได้ทันที ฉะนั้น เมืองที่มีความเป็นอัจฉริยะต้องรู้จักใช้ บทเรียนจากอดีต (โดยการเก็บข้อมูล สถิติ) มาแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น และต้องมีการแชร์ข้อมูลเพื่อสร้าง เครือข่ายความร่วมมือระหว่าง หน่วยงานและเมืองด้วย ทุกวันนี้แนวคิดเรื่องเมืองเกิดขึ้น อย่างแพร่หลาย เมืองแต่ละแห่งต่างมี เป้ าหมายไปตามลักษณะของเมือง ขึ้นอยู่กับว่าผู้นาเมืองต้องการอะไร สังคมเมืองเป็นแบบไหน ทรัพยากร เมืองมีอะไร เศรษฐกิจการค้าเติบโตแค่ ไหน สิ่งเหล่านี้ต่างมีส่วนในการ กาหนดว่าเมืองควรจะมุ่งไปทิศทางใด บางเมืองที่เต็มไปด้วยทรัพยากร ธรรมชาติก็อาจจะตั้งตนเป็นเมืองนิเวศ (Eco-City) อุทยานนคร (Garden City) หรือเมืองสีเขียว (Green City) บางเมืองที่โดดเด่นด้านการค้าการ ลงทุนก็อาจจะมุ่งเป็นเมืองระดับโลก (Global City) เมืองการค้านานาชาติ (International Trade City) หรือเมือง ที่มีศักยภาพในการแข่งขัน (Global Competitive City) เมืองอัจฉริยะก็เป็นแนวคิดหนึ่ง ที่เมืองจาเป็นต้องมีทั้งผู้นาและคนใน เมืองที่เห็นความสาคัญของการใช้ ข้อมูลและใช้เทคโนโลยี เพราะถ้าไม่มี ผู้นาที่เห็นค่าของสิ่งเหล่านี้เมืองก็จะ ไม่มีโครงสร้างพื้นฐานมารองรับ ไม่มี นโยบายที่ส่งเสริมความเป็นอัจฉริยะ และถ้าคนในเมืองไม่เห็นด้วยก็จะ
  • 6. 7 | FURD Cities Monitor April 2017 ไม่มีผู้ใช้เทคโนโลยี ไม่เกิดความเป็น อัจฉริยะ การลงทุนจะสูญเปล่าทันที ฉะนั้น แนวคิดเมืองอัจฉริยะจึงไม่ได้ ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของเมือง เท่าใดนัก แต่เป็นเรื่องของกระบวน ทัศน์ของผู้นา ผู้สร้างบ้านแปงเมือง รวมทั้งคนในเมืองเสียมากกว่า ซึ่ง ปัจจุบันเรามองเมืองอัจฉริยะได้ใน 3 มุมมอง ดังนี้ 1) มุมมองด้านเทคโนโลยี เป็นการมองว่าเมืองอัจฉริยะคือ แนวคิดที่มุ่งใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย จัดการแก้ไขปัญหาของเมืองอย่าง อัจฉริยะ โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ประยุกต์เข้ากับโครงสร้างพื้นฐานและ ภาคบริการในเมือง เพื่อให้คนเรารู้ เหตุการณ์ปัจจุบันทันด่วน และใช้ ข้อมูลสารสนเทศในการวิเคราะห์เชิง ลึก เพื่อช่วยให้คนและธุรกิจในเมือง ตัดสินใจเลือกได้เหมาะสมและคุ้มค่า ที่สุด 2) มุมมองด้านคน เป็นการมองว่าเมืองอัจฉริยะคือ แนวคิดที่เน้นการจัดการโครงสร้าง พื้นฐานสาหรับคนเมือง เน้นทุนทาง สังคม เน้นการศึกษา มุ่งพัฒนาเมือง ให้เป็นแหล่งรวมของคนรอบรู้ (Smart People) หรือคนที่มีการเรียนรู้ตลอด ชีวิต มีความคิดสร้างสรรค์ มีความ ยืดหยุ่น สามารถกลมกลืนไปกับความ หลากหลายทางสังคมและเชื้อชาติ เปิดกว้างทางความคิดและมีส่วนร่วม ทางสังคม เพื่อให้เกิดประโยชน์จาก การรวมตัวกันในเมือง (Urban Ag- glomeration) ซึ่งจะทาให้เราแก้ปัญหา เมืองได้ด้วยความคิดสร้างสรรค์ ทุน ทางสังคมและความร่วมมือกัน FURD Cities Monitor April 2017 | 8 3) มุมมองด้านสถาบัน เป็นการมองว่าเมืองอัจฉริยะคือ แนวคิดที่มุ่งสร้ างสภาพแวดล้อม ทางการบริหาร ทั้งโครงการริเริ่ม โครงสร้างการบริหารและระเบียบ ข้อตกลงของเมือง เพื่อให้เกิดการ บริหารจัดการที่ชาญฉลาด (Smart Governance) โด ยที่ การ บริ หา ร จัดการนั้นจะต้องเน้นคนเมืองเป็ น ศูนย์กลาง (Citizen-Centric) หรือเน้น การขับเคลื่อนด้วยพลเมือง (Citizen- Driven) และสร้างความร่วมมือจาก ทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็ นพลเมือง ชุมชนและธุรกิจเป็นสาคัญ จากการแบ่งแนวคิดเมืองที่ เกี่ยวข้องกับเมืองอัจฉริยะออกเป็น 3 มิติ สรุปได้ว่า องค์ประกอบที่จาเป็น ต่อการขับเคลื่อนสู่การเป็ นเมือง อัจฉริ ยะมีด้ วยกัน 3 ส่วน คือ เทคโนโลยี (โครงสร้างพื้นฐานของ ฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์) คน(ความคิด สร้างสรรค์ ความหลากหลายทาง สังคม กับการศึกษา) และสถาบัน (ภาครัฐกับนโยบาย) ฉะนั้น เมืองจะ อัจฉริยะได้ต้องลงทุนทั้ง 3 ส่วน นั่นคือ ทุนมนุษย์ ทุนทางสังคมและโครงสร้าง พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง สมดุล เพื่อเสริมสร้างความยั่งยืนของ เมืองและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนเมือง ทั้งนี้ต้องมีการจัดการอย่างมีส่วนร่วม ควบคู่กันไปด้วย แปลและเรียบเรียง อรุณ สถิตพงศ์สถาพร อ้างอิง Intelligent Community Forum. (2017). The Smart21 Communities of the Year. Retrieve from : http:// www.intelligentcommunity.org/ smart21 Taewoo Nam and Theresa A. Par- do. (2011). Conceptualizing Smart City with Dimensions of Technolo- gy, People, and Institutions. เอกชัย สุมาลี. (2560). โครงการการ วิจัยเชิงนโยบายเพื่อเสนอแนะแนว ทางการยกระดับอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์และอิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้ กรอบของ Internet of Things และ Smart City”
  • 7. 9 | FURD Cities Monitor April 2017 เป็น กระแสแนวคิดการพัฒนาเมืองที่กาลังเป็นที่นิยมนามาใช้ ไปทั่วโลก เพราะ เป็นเรื่องของการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมา ปรับใช้กับเมืองเพื่อให้มีความน่าอยู่มากขึ้น ประชาชน สามารถเข้าถึงบริการสาธารณะของเมืองได้อย่างรวดเร็ว พัฒนาคุณภาพชีวิตคนเมือง และที่สาคัญใส่ใจ สิ่งแวดล้อมมาก ขณะนี้หลายเมืองทั่วโลกกาลังดาเนิน แนวคิดเมืองอัจฉริยะ อย่างจริงจัง โดยส่วนใหญ่จะมี บ ริ ษั ท เทคโนโลยี ชั้นนาระดับโลก ให้ความร่วมมือกับ รัฐบาลในการนาเอาเทคโนโลยี ICT เข้ามาช่วยบริหารจัดการเมืองและชุมชน ซึ่งหลายเมืองประสบความสาเร็จไปแล้ว เช่น สิงคโปร์ หางโจว นิวยอร์ก เป็นต้น บริษัท พัฒนาเมือง จากัด กลไกขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะ ในประเทศไทย FURD Cities Monitor April 2017 | 10  ประเทศไทย มีการตื่นตัวไม่น้อยกับแนวคิดเมือง อัจฉริยะ หลายคนคาดหวังว่าจะเป็นแนวคิดใหม่ที่จะช่วย ให้เป็นการพัฒนาเมืองแนวใหม่ที่จะช่วยสร้างโอกาสในการ ขยายตัวของเศรษฐกิจในระดับพื้นที่ให้ดีขึ้น เมืองอัจฉริยะ ที่เราหวังอยากจะเป็นเฉกเช่นเดียวกับเมืองในต่างประเทศ นั้น คือการนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการพัฒนา นั่น หมายความว่า ต้องใช้งบประมาณที่ สูงมาก จึงต้องอาศัย ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งรัฐบาลส่วนท้องถิ่น ภาค ธุรกิจ และรวมไปถึงประชาชนด้วยที่เข้ามาร่วมกันพัฒนา เมืองอัจฉริยะ ความต้องการกลไกในการพัฒนา เมืองอัจฉริยะ เป็ นที่มาของการก่อตั้ง บริษัทพัฒนาเมือง หรือการรวมตัว ของนักธุรกิจท้องถิ่น เพื่อจัดตั้ง เป็นบริษัทในการขับเคลื่อนการ พัฒนาพื้นที่ของตนเองไป ข้างหน้าและไม่ได้หวัง พึ่งพารัฐบาลอย่างเดียว ดังนั้น การมีบริ ษัท พัฒนาเมืองจะเป็ น ตัวกลางในการจัดการ เรื่องการลงทุนจะทาให้ ง่ายขึ้นโดยขอนแก่นเป็น เมืองแรกที่สามารถก่อตั้ง บริษัทพัฒนาเมืองสาเร็จ เป็นที่แรก โดยชื่อว่าบริษัท ขอนแก่นพัฒนาเมือง (KKTT) นาโดยเทศบาลนครขอนแก่น ร่วมมือกับนักธุรกิจรุ่นใหม่ของเมืองที่ ระดมเงินจดทะเบียนบริษัทกว่า 200 ล้าน บาท เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของจังหวัดตนเอง และการพัฒนาเมืองด้านอื่นๆ ของเมือง  การสร้างกลไกกลางในการจัดการเมืองอัจฉริยะใน รูปแบบบริษัทพัฒนาเมือง ที่มีการระดมทุนของเอกชน ร่วมมือกับรัฐท้องถิ่น ไม่ได้เกิดแค่เฉพาะในขอนแก่นเท่านั้น แต่ขณะนี้กลุ่มภาคเอกชนหลายจังหวัด โดยเฉพาะในเมือง ใหญ่ ได้เริ่มมีการรวมตัวและระดมทุนจัดตั้งบริษัทพัฒนา เมือง เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนและพัฒนาเมือง โดย เน้นการมีส่วนร่วมของคนทุกภาคส่วน และคาดหวังว่าจะ สามารถตอบสนองความต้องการของคนเมืองได้มากขึ้น ปัจจุบันประเทศไทยมีความเคลื่อนไหวของบริษัท พัฒนาเมืองทั้งหมด 7 จังหวัด โดยเมืองที่ความคืบหน้า มากที่สุด มี 3 เมือง คือ ขอนแก่น ภูเก็ต และเชียงใหม่ และ อีก 4 จังหวัด กาลังอยู่ในช่วงดาเนินงาน ดังนี้ จังหวัดพิษณุโลก ได้จัดตั้งบริษัท พิษณุโลก พัฒนาเมือง จากัด ด้วยทุนจดทะเบียนราว 50 ล้านบาท จังหวัดสมุทรสาคร อยู่ระหว่างการยื่นขอจด ทะเบียนบริษัท ด้วยทุนจดทะเบียนราว 100-200 ล้านบาท จังหวัดสระบุรี อยู่ในขั้นตอนการจดทะเบียน จัดตั้งบริษัทพัฒนาเมือง ด้วยทุนจดทะเบียนราว 100 ล้าน บาท จังหวัดระยอง อยู่ในขั้นตอนการจดทะเบียน จัดตั้งบริษัทพัฒนาเมือง ด้วยทุนจดทะเบียนราว 100 ล้าน บาท นอกจากนี้ยังมีอีกหลายเมือง อาทิ หาดใหญ่ เมือง ใหญ่ในสงขลา อุดรธานี และชลบุรี ที่ให้ ความสนใจจะขับเคลื่อนเมือง ภายใต้การดาเนินการใน รูปแบบของบริษัท พัฒนาเมือง
  • 8. 11 | FURD Cities Monitor April 2017 เป็นจังหวัดที่สนใจนาแนวคิดเมือง อัจฉริยะ (Smart City) มาเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนา เมือง ภายใต้กรอบของเมืองอัจฉริยะ ขอนแก่นต้องการ สร้างระบบขนส่งสาธารณะด้วยการลงทุนของท้องถิ่นเอง เพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรที่หนาแน่น จากที่ขอนแก่น กลายเป็นเมืองใหญ่ มีประชากรหลั่งไหลเข้ามามาก เพื่อ ตอบโจทย์เมืองอัจฉริยะ และลงทุนขนาดใหญ่ ขอนแก่น เป็นเมืองแรกที่ใช้โมเดลแบบบริษัทพัฒนาเมือง หลังจาก ขับเคลื่อนมานานหลายปี ขณะนี้บริษัท ขอนแก่นพัฒนา เมือง จากัด หรือ KKTT ได้จดทะเบียนเรียบร้อยแล้ว โดย มีตัวแบบการระดมทุนเพื่อพัฒนาดังเมือง ดังนี้ ขั้นที่ 1 ภาคเอกชน 20 บริษัท ในขอนแก่นร่วม ลงทุนและก่อตั้งบริษัท ทุนจดทะเบียน 200 ล้านบาท ขั้นที่ 2 การระดมทุนสาธารณะ (Crowd Fund- ing) จากบุคคลและนิติบุคคลทั่วไปในจังหวัดขอนแก่น และผู้สนใจจากทั่วประเทศ ขั้นที่ 3 กองทุนโครงสร้างพื้นฐาน หลังจาก โครงการเริ่มเปิดดาเนินการใน 2 ปีแรก นาโครงการเข้า จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ วว สาหรับความคืบหน้าโครงการพัฒนาเมือง โครงการขอนแก่น Smart City ต้องการสร้างระบบขนส่ง มวลชนรางเบาร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5 แห่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้เสนอขออนุมัติการก่อสร้าง รถไฟฟ้ ามวลเบา สาย เหนือ – ใต้ ระยะทาง 26 กิโลเมตร คาดเสร็จปลาย พ.ศ. 2562 ขณะนี้โครงการ ขนส่งมวลชน รถไฟฟ้ ารางเบา มีความคืบหน้าไปมาก โดยคาดว่าจะเริ่ม ก่อสร้างได้กลาง พ.ศ. 2560 นอกจากนี้ขอนแก่นกาลังมีแผนการลงทุนพัฒนา เมือง ทั้งด้านการศึกษา การแพทย์ โครงข่ายโครงสร้าง พื้นฐานด้านคมนาคม เพื่อก้าวเข้าสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ อย่างเต็มตัว ขอนแก่น กับการก้าวเข้าสู่เมืองอัจฉริยะ FURD Cities Monitor April 2017 | 12 ท่ามกลางความเป็นเมืองที่เติบโตทั่วทุกภาคของประเทศไทย พร้อมกับเป็นการ เติบโตที่เชื่อมต่อกับโลภาภิวัตน์ มีการหลั่งไหลของผู้คนที่ไม่ใช่แค่คนในประเทศ แต่ยัง หมายถึงคนจากต่างประเทศ อีกทั้งแต่ละเมืองยังมีอัตลักษณ์ ที่แตกต่างหลากหลาย การบริหารเมืองแบบเดิม ที่รวมศูนย์อานาจบริหารเมืองคงไม่ใช่ทางเลือกที่ดีในการจัด การเมืองต่างๆ อีกทั้งหากรอคอยการกระจายอานาจให้รัฐท้องถิ่นบริหารจัดการเองคงเป็น เรื่องที่เกิดขึ้นยากในเร็วนี้ บริษัท พัฒนาเมือง จากัด ภายใต้ความร่วมมือของเอกชน ผู้มี ทุน รัฐบาลท้องถิ่นที่มีอานาจการบริหาร และประชาชนผู้เป็นส่วนหนึ่งของเมือง น่าจะเป็น กลไกทางออกที่เป็นความหวังคอยนาทางการพัฒนา และนาเมืองไปสู่การเปลี่ยนแปลงได้ แต่ทั้งนี้โดยหลักการดูเหมือนจะมีการส่วนร่วมทุกภาคส่วน แต่ข้อควรระวัง คือ การจัดสรร ผลประโยชน์ ที่จะไม่ใช่เป็นการพัฒนาที่เข้าทางผลประโยชน์ของกลุ่มใดที่มากกว่า หวัง เพียงแต่ 3 พลังอานาจจะถ่วงดุล พัฒนาเมืองโดยคานึงถึงความสุขและคุณภาพชีวิตของ คนในเมืองมากกว่าสิ่งใด เรียบเรียง ณัฐธิดา เย็นบารุง อ้างอิง บริษัท ขอนแก่นพัฒนาเมือง จากัด ออนไลน์ http:// www.khonkaenthinktank.com/ ประชาชาติธุรกิจ. (2560). 7 จังหวัด แห่ตั้งบริษัทพัฒนา เมือง "เชียงใหม่" เร่งแก้ขนส่งมวลชน. ออนไลน์ http:// www.prachachat.net/news_detail.php? newsid=1486357836
  • 9. 13 | FURD Cities Monitor April 2017 หากจะกล่าวถึงเมืองใดเมืองหนึ่งในประเทศไทยที่ปัจจุบันมีความพร้อมสาหรับการพัฒนาสู่การเป็น “เมืองอัจฉริยะ” (Smart City) มากที่สุด “ภูเก็ต” คงเป็นชื่อที่ถูกนึกถึงเป็นอันดับแรกๆ ทั้งนี้ด้วยความเป็นเมือง ขนาดเล็กที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงจากการท่องเที่ยวและการลงทุน โดยเฉพาะจากต่างชาติ ประกอบ กับการมีระบบโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็นค่อนข้างสมบูรณ์ ใน พ.ศ. 2558 จังหวัดภูเก็ตจึงได้รับคัดเลือกให้ เป็นเมืองนาร่องแห่งแรกในโครงการพัฒนา Smart City ภายใต้นโยบายการเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของ ประเทศด้วยการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลของรัฐบาล ทั้งยังเป็นกลไกสาคัญที่จะรองรับแผนพัฒนาตามแนว ทางการขับเคลื่อนประเทศสู่ Thailand 4.0 ที่กาลังจะเกิดขึ้น Phuket Smart City หรือ โครงการส่งเสริมพื้นที่พิเศษสาหรับเศรษฐกิจดิจิทัล ถือกาเนิดขึ้นจากการ ริเริ่มของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในระยะแรก ได้วางเป้ าหมายในการพัฒนาเมืองน่าอยู่ใน 2 พื้นที่ ได้แก่ เขตเทศบาลเมืองป่าตอง และเขตเทศบาลเมืองภูเก็ต ซึ่งนับเป็นสองพื้นที่ที่มีความเป็นเมืองสูง PHUKET Smart City FURD Cities Monitor April 2017 | 14 สังคมปัจจุบันอยู่ในยุค Inter- net of Things ที่เทคโนโลยีล้าสมัย ทาให้โลกกายภาพ ตลอดไปถึง ชีวิตประจาวันของผู้คนและกิจกรรม ต่างๆ แนบชิดกับระบบคอมพิวเตอร์ อย่างแยกไม่ออก ดังนั้น เมืองอัจฉริยะ ที่แท้จริงจึงต้องมีศักยภาพในการ เชื่อมโยงข้อมูลและใช้ประโยชน์จาก ข้อมูลให้ได้มากที่สุดด้วยเทคโนโลยีที่ มีอยู่ โดยครอบคลุมตั้งแต่เรื่องของ ความปลอดภัย การพักอาศัย การ คมนาคม ไปจนถึงการพัฒนาธุรกิจ เพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจและ คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนเมือง สาหรับประเทศไทย เมื่อจะเริ่ม กระบวนการสร้างเมืองอัจฉริยะให้ เกิดขึ้น จึงควรเริ่มจากเมืองขนาดเล็ก ที่มีความเจริญในระดับที่เหมาะสม เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการและต่อยอด การพัฒนา ซึ่งภูเก็ตเป็ นเมืองที่มี คุณสมบัติดังกล่าว เป็นเมืองที่ไม่ใหญ่ จนเกินไป มีขนาด 543.03 ตร.กม. แต่เต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการท่องเที่ยวที่โดดเด่น มี ประชากรราว 3.86 แสนคน (กรมการ ปกครอง กระทรวงมหาดไทย 2558) แต่กลับมีจานวนผู้เยี่ยมเยือนตลอด พ.ศ. 2558 มากถึง 13.2 ล้านคน ใน จานวนนี้เป็นชาวต่างชาติถึงร้อยละ 70 สร้างรายได้เข้าจังหวัดกว่า 3.13 แสนล้านบาท (กรมการท่องเที่ยว 2559) ทาให้ตลอดหลายปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของจังหวัด มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนปัจจุบัน ภูเก็ตกลายมาเป็นเมืองเล็กที่มีการ เติบโตและความเจริญสูงเป็นอันดับ ต้นๆ ของประเทศ และติดอันดับเมือง ท่องเที่ยวชั้นนาอันดับที่ 15 ของโลก ขณะ เดียวกัน ภูเก็ตยังเป็นเมืองที่มี ความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน ICT เช่น โครงข่ายด้านการสื่อสารที่ ทั่วถึง รวดเร็ว มีความเสถียรสูง อีกทั้ง ยังเป็นหนึ่งในเมืองที่ถูกกาหนดให้เป็น เมืองอุตสาหกรรมแห่งอนาคตสาหรับ ธุรกิจเทคโนโลยีชั้นสูง ซึ่งจะช่วยสร้าง ความแข็งแกร่งด้านอุตสาหกรรมให้ เกิดขึ้นได้ทั้งระบบ  จังหวัดภูเก็ตได้วางเป้ าหมาย สาหรับการพัฒนาสู่ความเป็น Smart City อย่างสมบูรณ์ภายใน พ.ศ. 2563 ไว้ด้วยกัน 2 ประเด็น คือ Smart Economy และ Smart Living Com- munity ทั้งยังได้กาหนดวิสัยทัศน์ให้ ภูเก็ตเป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวที่มี การเติบโตอย่างยั่งยืนบนฐานของ เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ (Creative Economy) เพื่อความสุขของทุกคน 1. Smart Economy การสร้ าง Smart Economy หรือเศรษฐกิจอัจฉริยะของเมือง ภูเก็ตนั้น จะเน้นส่งเสริมให้เกิด อุตสาหกรรมที่ 2 คือ อุตสาหกรรม ดิจิทัล ขึ้นมารองรับอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวที่เป็นอุตสาหกรรมหลัก ซึ่ง ที่ผ่านมาเศรษฐกิจของจังหวัดภูเก็ต ขยายตัวได้จากอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวขาเดียวมาโดยตลอด จึง ต้องแสวงหาอุตสาหกรรมใหม่ที่จะ ช่วยให้เมืองเติบโตได้อย่างยั่งยืน โดยมุ่งเน้นไปการลงทุนด้านการวิจัย และพัฒนาด้านเทคโนโลยี ตั้งแต่ การสร้ างแหล่งรวบรวมองค์ ความรู้ในลักษณะของสถาบันวิจัย (Research Center) ห รื อ ศู น ย์ นวัตกรรม (Innovation Center) ไปจนถึงการส่งเสริมให้อุตสาหกรรม การท่องเที่ยวหันมาใช้ Smart Technology เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ธุรกิจ รวมทั้งการเปิดโอกาสให้ภาค ธุรกิจและนักพัฒนาซอฟต์แวร์ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศเข้ามาตั้ง และดาเนินกิจการ ด้วยมาตรการ ยกเว้นภาษี 8 ปี กระบวนการสร้าง Smart Economy เหล่านี้ท้ายที่สุด จะทาให้เมืองภูเก็ตยกระดับเป็ น ศูนย์กลางแห่งความรู้ และการ พัฒนาเทคโนโลยี ซึ่งจะส่งผลให้ สินค้าและบริการของเมืองได้รับการ สร้างสรรค์และต่อยอดจนมีคุณภาพ และมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น
  • 10. 15 | FURD Cities Monitor April 2017 ปัจจุบัน แผนพัฒนา Smart Economyเริ่มเกิดผล เป็นรูปธรรม โดยมีบริษัทต่างๆ เข้ามายื่นขอร่วมโครงการ Phuket Smart City แล้วประมาณ 20-30 บริษัท อย่างไร ก็ดี จะต้องมีการแสวงหากลไกเพื่อรองรับการถ่ายทอด เทคโนโลยีจากภาคธุรกิจต่างประเทศที่เข้ามาลงทุนสู่ ท้องถิ่นเพื่อให้การพัฒนาเศรษฐกิจขับเคลื่อนเข้าสู่การ สร้างการเติบโตของธุรกิจดิจิทัลที่ยั่งยืนในอนาคต 2. Smart Living Community แนวทางการสร้าง Smart Living Community เพื่อ สร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของคนในเมืองภูเก็ต แบ่งได้ เป็น 3 ด้าน ได้แก่ การสร้างแอพลิเคชั่นอานวยความ สะดวกด้านการท่องเที่ยว การสร้างระบบเทคโนโลยีรักษา ความปลอดภัยครอบคลุมทั่วทั้งเมือง และการสร้างกลไก IoT ดูแลสิ่งแวดล้อมของเมือง ด้านการสร้างระบบเทคโนโลยีรักษาความปลอดภัย ของเมือง ได้มีการวางแผนนาระบบ CCTV ทางาน ร่วมกับโซลูชันตรวจจับใบหน้า เพื่อเฝ้ าระวัง ตรวจสอบ และติดตามผู้กระทาผิด ด้านการคมนาคมทางน้า ได้มี การวางระบบรักษาความปลอดภัยโดยการนา Vessel Tracking Management System (VTMS) และกลไก Smart Band ซึ่งเป็นระบบติดตามเรือเพื่อรักษาความ ปลอดภัยทางน้าให้แก่นักท่องเที่ยว ขณะที่แนวทางการ สร้างกลไกดูแลสิ่งแวดล้อมของเมืองได้มีความริเริ่มนา Smart Sensor ที่ผสมผสานเทคโนโลยี IoT มาตรวจสอบ สภาพภูมิอากาศ ตรวจสภาพของน้าทะเล และตรวจสอบ ความผิดปกติ ของสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นเพื่อให้ สามารถดาเนินการแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที ทั้งนี้เพื่อให้การขับเคลื่อนสู่เป้ าหมาย Smart Econ- omy และ Smart Living Community เป็ นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ปัจจุบันเมืองภูเก็ตยังมีนโยบายในการเร่ง ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการอินเทอร์เน็ตฟรีให้แก่ ประชาชนอย่างทั่วถึงภายใต้โครงการ Public High Speed City Internet ที่เน้นการติดตั้ง Public Free Wi -Fi ความเร็วแบบ Hi-Speed อย่างน้อย 20Mbps บริเวณ พื้นที่สาธารณะ โดยเริ่มจาก 2 พื้นที่นาร่อง คือ เขต เทศบาลเมืองป่าตองและเทศบาลเมืองภูเก็ตก่อนเป็น อันดับแรก FURD Cities Monitor April 2017 | 16  นอกจากการสร้าง Phuket Smart City จะเกิดขึ้น จากมุมของภาครัฐแล้ว ภาคเอกชน ท้องถิ่น ไปจนถึง ประชาชนในเมืองภูเก็ตเองก็มีความตื่นตัวที่จะเห็น ความก้าวหน้าเมืองแห่งนี้ด้วยเช่นกัน โดยใน พ.ศ. 2559 ได้ริเริ่มก่อตั้ง บริษัท ภูเก็ตพัฒนาเมือง จากัด ภายใต้ วิสัยทัศน์ "ภูเก็ตเมืองเขียว" ด้วยนวัตกรรมโครงสร้าง พื้นฐานและการคมนาคมขนส่งสีเขียว ระยะก่อตั้งมี การระดมทุนจากภาคประชาชนและภาคธุรกิจมูลค่ากว่า 100 ล้านบาท เพื่อนาไปลงทุนในกิจการสาธารณะ ขณะเดียวกันก็ประสานงานคู่ขนานกับภาครัฐเพื่อการ พัฒนาพื้นที่จังหวัดภูเก็ตให้เป็นเมือง Smart City ตาม แผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด ปั จจุบันบริษัทให้ ความสาคัญเป็นพิเศษกับเรื่องการพัฒนาระบบขนส่ง มวลชนเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและ นักท่องเที่ยวและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งเสริม การค้า โดยมีความพยายามผลักดันให้เกิดระบบขนส่ง มวลชนหลัก คือ รถไฟฟ้ ารางเบา ระยะทาง 60 กิโลเมตร จากสถานีท่านุ่น จังหวัดพังงาถึงตัวเมืองภูเก็ต และระบบ ขนส่งมวลชนรอง คือ รถบัสโดยสารประจาทาง 6 สายวิ่ง ทั่วเมือง ซึ่งทั้งหมด คาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2564 โครงการ Phuket Smart City และบริษัท ภูเก็ต พัฒนาเมือง จากัด เป็ นตัวอย่างที่ดีของการ ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองที่สอดประสานกันระหว่าง รัฐและภาคประชาชนในพื้นที่บนเจตนารมย์เดียวกัน ที่ต้องการระดมศักยภาพด้านต่างๆ ที่มีอยู่ของเมือง เพื่อนาไปสู่การปรับปรุงฟื้นฟูเมืองภูเก็ตให้น่าอยู่ และยั่งยืนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ซึ่งในระยะ ยาว หากแนวทางการพัฒนาดังกล่าวนี้ประสบ ความสาเร็จ ก็ย่อมยังผลไปสู่การเป็นตัวแบบสาหรับ การพัฒนาเมืองอื่นๆ ของไทยต่อไป เรียบเรียง จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ อ้างอิง สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล. (2560). Phuket Smart City First Step Thailand 4.0. ออนไลน์ http:// www.depa.or.th/th/article/phuket-smart-city-first- step-thailand-40 SIPA. (2560). Phuket Smart City Road Map. ออนไลน์ https://phuketrealestateassociation.files.wordpress. com/ 2016/10/pkt-smartcity-ws-update.pdf
  • 11. เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์ เมืองขวางน้า ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า ชุดหนังสือเมือง เมืองนิยม ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ สัมผัสเมืองสายบุรี (Wasa Telubae) ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ หนังสือออกใหม่ สั่งซือได้ที่ ... 1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com 2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ) 3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริ ของ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่ ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้ เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่ และระดับประเทศ ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี ประสิทธิภาพ ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่ ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน อนาคตสืบไป
  • 12. 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Website: www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864