SlideShare a Scribd company logo
1 of 456
Download to read offline
กรณีธรรมกาย
บทเรียนเพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสรางสรรคสังคมไทย

            ฉบับเพิ่มเติม-จัดลําดับใหม

                 พระพรหมคุณาภรณ
                    (ป. อ. ปยุตฺโต)




                เอกสารเพื่อพระธรรมวินัย
กรณีธรรมกาย
บทเรียนเพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสรางสรรคสังคมไทย
© พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)
ISBN : 974-86986-4-5


พิมพครั้งที่ ๒๔ — มกราคม ๒๕๕๑                                ๑,๐๐๐ เลม
(=ฉบับขยาย พิมพครั้งที่ ๙)
(=ฉบับเพิ่มเติม-จัดลําดับใหม พิมพครั้งที่ ๒ และปรับแก-เติมเล็กนอย)
- สมาคมโพธิธรรม                                               ๑,๐๐๐ เลม




ปก :       พระชัยยศ พุทฺธิวโร




พิมพที่
บันทึกในการพิมพ
              ฉบับเพิ่มเติม-จัดลําดับใหม

       หนังสือ “กรณีธรรมกาย” เปนงานเขียนเฉพาะหนา ออกมา
ในเวลาเรงดวน เพื่อแกปญหาถอยคําจาบจวงพระธรรมวินัย มุง
สรางความเขาใจเฉพาะจุดที่ถูกทําใหสับสน ซึ่งมักเปนหลักธรรม
หรือขอธรรมที่หนัก ผูอานทั่วไปที่มีพื้นฐานไมพอ อาจจับความได
ยาก เมื่อเวลาผานไปจึงเขียนขยายความและแทรกเพิ่มตามโอกาส
อีกทั้งมีบางทานแจงวาไดใชเปนอุปกรณในการศึกษาพระพุทธ-
ศาสนา จึ ง เห็ น ควรเพิ่ ม เติ ม คําอธิ บ ายบางตอนให มี เ นื้ อ ความ
ครบถวน
       ในการพิม พค รั้ง ใหมนี้ ไดเ ขีย นแทรกเสริม เพิ่ม ความให
ชั ด เจนและได เ นื้ อ หาสาระมากขึ้ น โดยเฉพาะในตอนว า ด ว ย
“นิพพานเปนอนัตตา” เพิ่มขึ้นมาประมาณ ๒๕ หนา และทายเรื่อง
“บุญ-บารมี” อีก ๒ หนา สวนในที่อ่ืน ๆ ก็ไดแ ทรกเสริมปรับปรุง
เล็กๆ นอยๆ กระจายทั่วไป
       อนึ่ง สวนที่เขียนแทรกเพิ่ม มีตอนเล็กตอนนอยหลายแหง
ทําใหดูลักลั่น เมื่อจะพิมพใหมคราวนี้ จึงจัดแบงบท-ภาค และ
ลําดับเนื้อหาใหมทั้งหมด
                                          พระธรรมปฎก
                                        ๑๔ มิถุนายน ๒๕๔๒


                                 ก
คําปรารภ

      หนังสือเลมนี้เกิดขึ้นดวยปรารภเหตุเฉพาะหนา คือในปลาย
ป ๒๕๔๑ เมื่อเกิดกรณีปญหาวัดพระธรรมกายขึ้นไมนาน ไดมี
เอกสารของวัด พระธรรมกาย ที่พ ยายามสรางความชอบธรรม
แกคําสอนและกิจกรรมของสํานัก เผยแพรออกไปจํานวนมากมาย
อยางกวางขวาง เมื่อไดอานแมเพียงบางสวน ก็เห็นเนื้อหาที่จะกอ
ความเขาใจผิดพลาดสับสนแกประชาชนถึงขั้นทําใหพระศาสนา
สั่นคลอนได จึงไดเรงเขียนคําชี้แจงขึ้นมาจนเสร็จไปขั้นหนึ่ง
      นอกจากเหตุเฉพาะหนานั้นก็มีเหตุผลระยะยาววา ไมวาจะ      
เกิดกรณีปญหาเชนนี้ขึ้นก็ตาม ไมเกิดขึ้นก็ตาม การสรางเสริม
ปญญาดวยการเผยแพรความรูความเขาใจที่ถูกตอง ยอมมีความ
สําคัญในตัวของมันเอง เพราะความรูเห็น ถูกตองเปนฐานของ
พฤติกรรม จิตใจ และกิจการทุกอยาง ที่จะดําเนินไปไดโดยถูกตอง
และปลอดโปรงโลงเบา เกื้อกูลตอการแกปญหาและการสรางสรรค
ทั้งปวง
      หลังจากงานเรงเฉพาะหนาเสร็จไปขั้นหนึ่งแลว จึงไดเขียน
แทรกเสริมเพิ่มความตอมาใหชัดเจนและครอบคลุมยิ่งขึ้น ดัง
ปรากฏเปนหนังสือเลมขยายในบัดนี้ ซึ่งแมจะพยายามเขียนใหสั้น
ก็ยังยาวเกินคาดหมายไปมาก
      แมหากการแกปญหาของสวนรวมในบัดนี้ไมลุลวง สาระที่
จัดรวมไวกอาจชวยเอือแกคนรุนหลัง หรือปจฉิมาชนตา ผูมปญญา
           ็           ้                                 ี 


                               ข
ที่จะมีโอกาสมาแกปญหาหรือฟนฟูกูพระศาสนา อยางนอยก็ชวย
ใหรูเขาใจเรื่องราวที่เกิดขึ้นแลวครั้งหนึ่ง
         เนื้อหาที่นํามาเสนอไว มุงที่ขอมูลความรูและหลักการตาม
หลักฐานที่ยอมรับกันวาเปนมาตรฐานกลางของพระพุทธศาสนา
เถรวาท พรอมทั้งคําอธิบายพอเชื่อมโยงระหวางฐานขอมูล โดย
แยกทัศนะหรือความคิดเห็นออกไวตางหาก และใหมีเพียงแตนอย
         ดวยเหตุที่เปนหนังสือเลมขยาย ซึ่งเขียนเพิ่มเติม โดยแทรก
เขาในหลายแหงของเลมเดิม มิใชเขียนตอเนื่องในคราวเดียว จึง
อาจมีเนื้อความที่ลักลั่นและซ้ําซอนบาง
         เนื่องจากเปนเรื่องที่เกี่ยวกับกรณีปญหาเฉพาะ แมมิจงใจให
กระทบกระทั่ง แตเมื่อจะใหเกิดความชัดเจน ก็จําเปนตองมีคํา
และความบางสวนที่พาดพิงถึงสํานักพระธรรมกาย และทานผู
เกี่ยวของ จึงขออภัยไว ณ ที่นี้ดวย โดยขอใหถือวามาชวยกันทํา
ประโยชนเพื่อพระศาสนาและสังคมสวนรวม
         หวังวาหนังสือเลมนี้จะเปนสวนรวมอยางหนึ่ง ที่จะใหเกิด
ความรูความเขาใจที่ถูกตอง เปนสัมมาทัศนะ ที่จะเปนฐานแหง
ความมั่นคงยั่งยืนของพระธรรมวินัย และความเจริญแพรหลาย
แหงประโยชนสุขของประชาชน สืบตอไป

                                            พระธรรมปฎก
                                           ๑๐ เมษายน ๒๕๔๒




                                ค
สารบัญยอ
กรณีธรรมกาย
    บทเรียนเพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสรางสรรคสังคมไทย ..... ๑
ตนเรื่อง ...................................................................................................... ๑
ปญหาของวัดพระธรรมกาย สวนที่กระทบตอพระธรรมวินัย ..........................๑๑
รูจักพระไตรปฎก......................................................................................๑๓
เบ็ดเตล็ด ๑ รูจักพระไตรปฎกอยางชาวบาน ........................................... ๕๓
     ก) องคุลิมาลไมไดอานพระไตรปฎก .................................................................. ๕๓
     ข) ติดพระไตรปฎก - ติดตํารา ...........................................................................๕๙
เบ็ดเตล็ด ๒ อางฝรั่ง ...............................................................................๖๕
     อางฝรั่ง ๑......................................................................................................๖๖
     อางฝรั่ง ๒.....................................................................................................๗๘
ภาค ๑: อนัตตา–ธรรมกาย–อายตนนิพพาน...............๙๕
นิพพานเปนอนัตตา ...................................................................................๙๕
ธรรมกาย เรื่องสูงที่ไมใหญ.....................................................................๑๗๔
อายตนนิพพาน คือดับอายตนะ ............................................................. ๒๒๔
ขอพิจารณา............................................................................................๒๔๑
บทสงทาย..............................................................................................๒๖๔
ผนวก ๑ เอกสารของวัดพระธรรมกาย............................................ ๒๗๑
ภาค ๒: บุญ–บารมี ที่จะกูแผนดินไทย.................. ๒๘๕
บุญกิริยา: บุญ เพื่อสรางสรรคชีวิตและชุมชน .....................................๒๘๕
เมตตาภาวนา – อหิงสา: บุญ เพื่อสรางสรรคโลก ............................๓๕๓
บารมี: บุญ เพื่อสรางสรรคโลกแหงอิสรภาพ........................................๓๕๘
ผนวก ๑ ปญหาเรื่องวัดพระธรรมกาย ................................... ๓๙๒
ผนวก ๒ ถาม-ตอบเบ็ดเตล็ด เรื่องขนาด และ จํานวน ................... ๔๐๑

                                                          ง
สารบัญพิสดาร

บันทึกในการพิมพฉบับเพิ่มเติม-จัดลําดับใหม .............................................. ฉ
คําปรารภ.....................................................................................................ข
กรณีธรรมกาย
    บทเรียนเพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสรางสรรคสังคมไทย ......๑
ตนเรื่อง ......................................................................................... ๑
กรณีธรรมกาย ถึงขั้นจวงจาบพระธรรมวินัย................................................. ๑
ประพฤติวิปริตจากพระธรรมวินัย ก็ราย
   แตทําพระธรรมวินัยใหวิปริต รายยิ่งกวา..................................................๔
ไมควรยอมเสียพระศาสนา เพื่อรักษาตัวของตน........................................... ๖
จับประเด็นใหชัด
   วางทาทีปฏิบัติใหตรงตามตนเรื่อง............................................................๘
ปญหาของวัดพระธรรมกาย สวนที่กระทบตอพระธรรมวินัย ..... ๑๑
รูจักพระไตรปฎก .........................................................................๑๓
พระพุทธศาสนาไมใชปรัชญา .................................................................... ๑๓
พระไตรปฎก คือที่สถิตของพระศาสดา ......................................................๑๔
พระไตรปฎกสําคัญตอพระพุทธศาสนา
  ยิ่งกวาที่รัฐธรรมนูญสําคัญตอประเทศชาติ............................................ ๑๗
พระไตรปฎกบาลีท่คนไทยนับถือ
                    ี
  คือฉบับเดิมแท เกาแก และสมบูรณที่สุด...............................................๑๙
เพราะไมรักษาคําสอนเดิมของพระพุทธเจาไว
  มหายานจึงตางกันเองหางไกล ยิ่งกวาตางจากเถรวาทอยางไทย.............. ๒๔

                                                     จ
ถาตีรวนพระไตรปฎกได ก็ถอนรากพระสงฆไทยสําเร็จ ..............................๒๘
เมื่อชาวพุทธยังนับถือพระไตรปฎก
    ก็ยังเคารพพระพุทธเจา และมีพระศาสดาองคเดียวกัน ..........................๓๒
ถาหลักคําสอนยังมีมาตรฐานรักษา
    พระพุทธศาสนาก็อยูไปไดถึงลูกหลาน .................................................. ๓๕
นอกจากหลักฐาน ยังมีหลักการ
    ที่เปนมาตรฐานสําหรับวัดคําสอน..........................................................๓๘
เพราะยังมีพระไตรปฎกเถรวาทไวเปนมาตรฐาน
    พระมหายานจึงมีโอกาสยอนกลับมาหาพุทธพจนที่แท ............................๔๐
สิ่งควรทําที่แท คือ
    เรงชวนกันหันมายกเอาพระไตรปฎกของเราขึ้นศึกษา .............................๔๔
เบ็ดเตล็ด ๑ รูจักพระไตรปฎกอยางชาวบาน ................................๕๓
     ก) องคุลิมาลไมไดอานพระไตรปฎก................................................... ๕๓
     ข) ติดพระไตรปฎก - ติดตํารา............................................................๕๙
เบ็ดเตล็ด ๒ อางฝรั่ง ......................................................................๖๕
อางฝรั่ง ๑: พระไตรปฎกอักษรโรมันของ PALI TEXT SOCIETY เปนฉบับสากล? ๖๖
สมาคมบาลีปกรณพิมพพระไตรปฎกอักษรโรมันได
   ก็เพราะมีพระไตรปฎกของพวกเราใหเขาคัดลอก....................................๖๖
ถึงแมมีความเพียร แตเพราะขาดกําลังและประสบการณ
   พระไตรปฎกอักษรโรมัน จึงลักลั่นไมเปนระบบ......................................๖๙
พระไตรปฎกบาลีฉบับสากลโดยรูปแบบ ยังไมมี
   แตโดยเนื้อหา พระไตรปฎกบาลีเปนสากลตลอดมา............................... ๗๑
หันจากพระไตรปฎกแปลของ PALI TEXT SOCIETY
   ชาวตะวันตกที่ศึกษาพุทธศาสนา เหออกมาสูทางเลือกอื่น ...................... ๗๕


                                             ฉ
อางฝรั่ง ๒: ทัศนะนักวิชาการตะวันตก เรื่องนิพพาน อัตตา - อนัตตา.......๗๘
นักปราชญชาวตะวันตกก็นายกยองอยู
     แตตองรูจักเขาใหพอดีกับที่เขาเปนจริง .................................................๗๘
ปราชญพุทธศาสนาตะวันตกรุนเกา ยังเขาใจสับสน
     ระหวางพุทธธรรม กับความคิดเดิมในวัฒนธรรมของตน....................... ๘๐
รูถึงตามทันวาคนนอกเขาคิดเขาใจไปแคไหน
     แตไมใชรอใหเขามาวินจฉัยหลักการของเรา........................................... ๘๔
                            ิ
พอชาวตะวันตกมาบวชเปนพระฝรั่ง
     ความรูพุทธธรรมก็เริ่มเขาสูทางที่ถูกตอง............................................... ๘๕
นาอนุโมทนาที่แมจะชาสักหนอย
     แตในที่สุดปราชญตะวันตกก็ตามจับหลักพุทธได ..................................๘๘

                                         ภาค ๑
                   อนัตตา–ธรรมกาย–อายตนนิพพาน
นิพพานเปนอนัตตา.................................................................... ๙๕
นิพพาน ไมใชปญหาอภิปรัชญา..................................................................๙๕
แหลงความรูที่ชัดเจนมีอยู ก็ไมเอา
   กลับไปหาทางเดารวมกับพวกที่ยังสับสน............................................. ๑๐๐
พระพุทธเจาตรัสไวแนนอนเด็ดขาด
   วาลัทธิถืออัตตา ไมใชคําสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา ....................... ๑๐๔
แทจริงนั้น ไมมีอัตตา ที่จะยกมาถกเถียง
   วานิพพานเปนอัตตาหรือไม ................................................................ ๑๐๖
คนธรรมดายึดถืออัตตา พราหมณยิ่งพัฒนาอัตตาที่ยึดไวใหวิเศษ
   พระพุทธเจามา ใหเลิกยึดถืออัตตา แลวมองเห็นธรรม ........................ ๑๐๙

                                               ช
เปนธรรมดามนุษยปุถุชน เมื่อตัวตนที่เคยยึดไวจะหลุดหาย
    ยอมดิ้นรนหาอัตตาที่จะเอามายึดใหม ................................................. ๑๑๑
พุทธพจนตรัสไว อัตตาจบแคขันธ ๕
    นิพพาน ผานพนขันธ ๕ ไมมอัตตาที่ตองมาพูดถึง ..............................๑๑๓
                                   ี            
ถึงจะนึกเลยไปนอกขันธ ๕
    ก็ไมมีอะไรที่พระอริยะมองเห็นเปนอัตตา............................................๑๑๗
จะยึดอะไรก็ตามเปนอัตตา
    ก็คือยืนยันวายังไมรูจักนิพพาน ..........................................................๑๑๙
พระอรหันตไมมี “มัญญนา”
    ที่จะใหมามองนิพพานเปนอัตตา .........................................................๑๒๑
ยังยึดถืออัตตา ก็ไมรูจักนิพพาน
    พอบรรลุนิพพาน ก็ละอัตตาเสียแลว...................................................๑๒๕
พระไตรปฎกและอรรถกถาระบุวา นิพพานเปนอนัตตา ............................๑๒๘
การหาทางตีความ ใหนิพพานเปนอัตตา...................................................๑๓๖
การใชตรรกะที่ผิด เพื่อใหคิดวานิพพานเปนอัตตา ...................................๑๔๒
การจับคําความที่ผิดมาอางเปนหลักฐาน
    เพื่อใหนิพพานเปนอัตตา ....................................................................๑๔๕
เมื่อจํานนดวยหลักฐาน ก็หาทางทําใหสับสน............................................๑๔๙
เมื่อหลักฐานก็ไมมี ตีความก็ไมได
    ก็หันไปอางผลจากการปฏิบัติ.............................................................. ๑๕๑
เพราะไมเห็นแกพระธรรมวินัย
    จึงตองหาทางดิ้นรนเพื่อหนีใหพนสัจจะ............................................... ๑๕๕
พระพุทธศาสนา คือศาสนาของพระพุทธเจา
    จึงตองหาคําสอนของพระองคมาเปนมาตรฐานใหได ............................๑๕๗
จะรักษาพระพุทธศาสนาได
    พุทธบริษัทตองมีคุณสมบัติที่นาไววางใจ............................................. ๑๖๐

                                                ซ
ความซื่อตรงตอหลักพระศาสนา และมีเมตตาตอประชาชน
   คือหัวใจของการรักษาระบบไตรสิกขาไวใหแกประชาสังคม..................๑๖๓
มีทศนะสวนตัวไดไมเสียหาย
   ั
   แตอยาเลยไปถึงขั้นจาบจวงธรรมวินัย ................................................ ๑๖๕
พูดกันไป พูดกันมา
   ระวังอยาหลงคําวา “อนัตตา”..............................................................๑๖๗
พูดกันไป พูดกันมา
   ระวังอยาหลงประเด็น ........................................................................ ๑๖๙
ธรรมกาย เรื่องสูงที่ไมใหญ .......................................................๑๗๔
ธรรมกายแบบไหน
   ก็มีความหมายชัดเจนของแบบนั้น ......................................................๑๗๔
ชวยกันระวังไว อยาไพลเอาพุทธถอย
   ลงไปเขาลัทธิลึกลับ ........................................................................... ๑๗๘
ธรรมกายเดิมแทในพุทธกาล...................................................................๑๘๕
บํารุงเลี้ยงบริหารรางกายไว รูปกายก็เจริญงอกงาม
   หมั่นบําเพ็ญศีลสมาธิปญญา ธรรมกายก็เติบโตขึ้นมาเอง..................... ๑๙๐
พบคําเทียบเคียงและคําประพันธ
   ก็ควรรูทัน เพื่อไดประโยชนที่แทจริง...................................................๑๙๓
จะมองดูรูปกาย ก็อาศัยเพียงตาเนื้อ
   แตตองมีตาปญญา จึงจะมองเห็นธรรมกาย ........................................๑๙๗
“ธรรมกาย” ตามวิชชา
   ที่ทานวาเพิ่งคนพบใหม ......................................................................๒๐๑
ธรรมกายแบบเดิม เกิดจากการเพิ่มคุณภาพในตัวของเรา ........................๒๐๖
ธรรมกายเปนอัตตา
   ไมเขากับหลักวิชชาธรรมกาย..............................................................๒๑๑

                                                 ฌ
ธรรมกายเปนอัตตา
  เปนเรื่องธรรมดาของคําอุปมาอุปไมย..................................................๒๑๔
จะเอาธรรมกายของพระพุทธเจา หรือธรรมกายแบบไหน
  ก็มีเสรีภาพเลือกได แตขอใหบอกไปตามตรง..................................... ๒๒๐
อายตนนิพพาน คือดับอายตนะ................................................๒๒๔
“อัตตา” ไมมีโดยปรมัตถ เปนเรื่องที่ชัดเจนไปแลว .................................. ๒๒๔
“อายตนนิพพาน” ไมมีโดยบาลีนิยม
     ก็ชัดเจนเชนกัน .................................................................................๒๒๗
ที่วานิพพานเปนอายตนะ
     ก็เปนคนละเรื่องกันกับอายตนนิพพาน................................................๒๓๐
อายตนนิพพาน ไมมี แตแปลใหมใหดีก็ไดความหมาย
     นิพพานายตนะ ถึงจะใชเปนศัพทได แตไมใหความหมายที่ดี .............. ๒๓๔
อายตนนิพพานแท ที่นี่ เดี๋ยวนี้................................................................๒๓๖
ใจหมดโลภโกรธหลง สวางโลงสดใส เมื่อไร
     ก็ไดเห็นนิพพานของพระพุทธเจา เมื่อนั้นทันที ................................... ๒๓๘
ขอพิจารณา............................................................๒๔๑
ปญหาพฤติการณตอหลักการ ................................................................ ๒๔๒
ปญหาพฤติการณที่สืบเนื่องจากหลักการ .................................................๒๕๐
การใชหลักฐานแกปญหาเกี่ยวกับหลักการ...............................................๒๕๙
บทสงทาย..............................................................๒๖๔
ผนวก ๑ เอกสารของวัดพระธรรมกาย............................๒๗๑




                                                  ญ
ภาค ๒
                          บุญ–บารมี ที่จะกูแผนดินไทย
บุญกิริยา
  บุญ เพื่อสรางสรรคชีวิตและชุมชน........................... ๒๘๕
หลักการใหญที่ตองรูไว
    เพื่อทําบุญใหถูกตอง......................................................................... ๒๘๕
ทําไมบุญจึงเนนทาน และเริ่มดวยทาน.................................................... ๒๘๘
ทานในระบบของการทําบุญ.....................................................................๒๙๐
เหตุใดทําบุญ จึงนิยมถวายแกพระสงฆ ...................................................๒๙๔
เกณฑวัดและตัดสินบุญ ........................................................................ ๒๙๘
บุญขั้นพื้นฐาน
    เพื่อสรางสรรคชีวิตและชุมชน.............................................................๓๐๐
จะเห็นคุณคาของ “บุญ” กวางขวาง
    เมื่อรูภูมิหลังหรือที่มาของบุญ .............................................................๓๐๔
พุทธศาสนามา
    คนเลิกบูชายัญ หันมารวมกันทําบุญ ...................................................๓๐๙
พุทธศาสนาลางเลือน
    คติการทําบุญก็เขว แคบ เคลื่อน ........................................................๓๑๓
เมื่อวัดเปนนาบุญ
    ก็จะมีชุมชนดีที่สรางขึ้นดวยบุญ .........................................................๓๑๖
ทําบุญอยางเปนระบบ
    ใหบุญพัฒนาครบ อยางเต็มกระบวน..................................................๓๒๐
ทําบุญใหครบ ๑๐
    แลวตรวจสอบใหครบ ๓....................................................................๓๒๖
                                                 ฎ
ทาน ศีล ภาวนา
     คือระบบการพัฒนาชีวิต ที่ตองครบองครวม.......................................๓๓๐
พัฒนาจิตใจ มีคุณใหญอนันต
     แตถาขาดปญญา อาจมีโทษมหันต .................................................... ๓๓๒
ปญญาเปนยอดรวม
     ใหทุกอยางลงตัวไดที่ .........................................................................๓๓๖
ตองไมขาดกิจกรรมเสริมปญญา
     พุทธศาสนาจึงจะมีชีวิตชีวา ไมแหงเฉา............................................... ๓๓๘
“บุญ” กับ “ยัญ” หมั่นเทียบกันไว
     ความเขาใจจะไดไมถอยหลังลงหลุมพราหมณ .....................................๓๔๓
ถาพระไมสอนหลักการทําบุญใหตรงไว
     ไมชาคนไทยคงหันไปบูชายัญ ............................................................ ๓๔๗
กูวัดใหกลับเปนนาบุญ
     ก็จะมีทุนสรางชุมชนที่ดี......................................................................๓๕๐
เมตตาภาวนา – อหิงสา
  บุญ เพื่อสรางสรรคโลก...............................................๓๕๓
มนุษยก็เปนพรหมสรางสรรคโลกได
  ไมตองรอใหพระพรหมมาเสกสรรบันดาล ...........................................๓๕๓
บารมี
  บุญ เพื่อสรางสรรคโลกแหงอิสรภาพ.......................... ๓๕๘
ความเขาใจพื้นฐาน
   ในการจะบําเพ็ญบารมี........................................................................๓๖๐
ใหอยางไรแคไหน
   จึงจะเรียกไดวา “ทานบารมี” ...............................................................๓๖๕


                                                  ฏ
ทําบุญดวยบูชาก็ดี แตไมใชบารมี อยาสับสน
   บูชาที่ดี ตองใหผลเกิดมี แกชีวิตและชุมชน.........................................๓๖๙
บุญกิริยา - อหิงสา - บารมี
   ระดับการสรางสรรคความดีที่เลือกได ................................................๓๗๓
ถาสรางชีวิตและชุมชนแหงบุญได
   ก็กูชีพสังคมไทยสําเร็จ ......................................................................๓๗๘
หมายเหตุ: ขอสังเกตแถมทาย ...................................... ๓๘๔
      ๑. รนถอย หรือรอยตอ ...................................................................๓๘๔
      ๒. จากยัญ สูบุญ/จากอาตมัน สูอนัตตา.......................................... ๓๘๘
ผนวก ๑ ปญหาเรื่องวัดพระธรรมกาย .................................... ๓๙๒
เรื่องอิทธิปาฏิหาริย .................................................................................๓๙๓
เรื่องการทําบุญ .......................................................................................๓๙๔
เรื่องสิ่งกอสรางใหญโต ...........................................................................๓๙๖
เรื่องการระดมทุน ...................................................................................๓๙๘
ผนวก ๒ ถาม-ตอบเบ็ดเตล็ด เรื่องขนาด และ จํานวน..............๔๐๑
สิ่งมหัศจรรยของโลก..............................................................................๔๐๑
ชาวพุทธโบราณก็สรางเจดียใหญโต.........................................................๔๐๘
สมัยพุทธกาลก็มีวัดใหญโต ....................................................................๔๑๕
ชวนคนมาทําดีมากๆ.............................................................................. ๔๒๒
ประชาธิปไตย จะใหศรัทธามากลากไป
    หรือใหสิกขามานําไป..........................................................................๔๓๐
ปมปญหาในอิทธิปาฏิหาริย .....................................................................๔๓๘




                                                   ฐ
กรณีธรรมกาย
                         ตนเรื่อง

กรณีธรรมกาย ถึงขั้นจวงจาบพระธรรมวินัย
         เมื่อ ๙ วันที่ผา นมานี้ คือ วัน ที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๔๒ ไดมี
ผูสอขาว จากสือมวลชนตาง ๆ มาถามปญหาเกียวกับเรืองวัดพระ
   ื่            ่                                  ่    ่
ธรรมกาย และผูสื่อขาวคนหนึ่งไดถวายหนังสือ ชื่อวา “เจาะลึกวัด
พระธรรมกาย ขอมูลทีไมเคยเปดเผยทีใดมากอน ลับสุดยอด”
                          ่                ่
         ตอมาไดเปดหนังสือ นี้อา นดูบ างสว น โดยเฉพาะ“คําถาม
คําตอบที่นา สนใจ” เมื่อพลิกดูผา นๆ ไปจนจบ ปรากฏวา ๒ ขอ
สุ ด ท า ยเปนคําถามเกี่ยวกับเรื่องนิพพานเปนอัตตาหรือ อนัตตา
และเรื่องธรรมกาย ในขอเกี่ยวกับนิพพานนั้นตั้งเปนคําถามวา
      “มีการถกเถียงกันวา นิพพานเปนอัตตาหรืออนัตตา ไมทราบ
      จริง ๆ เปนอยางไร?”
      และขอสุดทายวา
      “ธรรมกาย มีในพระไตรปฎกหรือไม?”
     สองขอนี้เปนเรื่องที่เกี่ยวกับหลักการ หรือหลักธรรมสําคัญ
ของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะขอที่วาดวยเรื่อง นิพพานเปน
อัตตา หรืออนัตตา เมื่ออานดูลักษณะการเขียนคําตอบเปนไปใน
๒                                                         กรณีธรรมกาย

เชิง ที่จ ะทําใหผูอา นเกิด ความเขาใจไปวา หลัก การสําคัญของ
พระพุทธศาสนา โดยเฉพาะเรื่องนิพพานนั้น ไมชัดเจน ไมแนนอน
ยังหาขอสรุปไมได เปนเรื่องของความคิดเห็น
          การเขียนเชนนี้ถือไดวาถึงขั้นที่จวงจาบพระธรรมวินัย เปน
เรื่องสําคัญมาก และเปนเอกสารซึ่งจะคงอยูยาวนาน อาจกอผล
กวางไกล จึงสมควรรีบชีแจงไว เพือสรางความรูความเขาใจทีถกตอง
                             ้        ่                         ู่
          ตอมาอีก ๒-๓ วัน ก็มพระนําเอาหนังสือพิมพมติชนรายวัน
                                    ี
ฉบับวันพุธ ที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๒ มาใหดู โดยเฉพาะหนา ๑๒
“สุขสรรค” มีบ ทความเรื่อ ง “สายตรงจากธรรมกาย นิพพาน
เปนอัตตาหรืออนัตตา” โดย พระสมชาย านวุฑฺโฒ บทความนี้
เมื่ อ อ า นแล ว จะยิ่ ง สร า งความสั บ สนต อ หลั ก การสํ า คั ญ ของ
พระพุทธศาสนาที่กลาวมานั้นยิ่งขึ้น
          อีก ๒-๓ วันตอมาก็มีรายงานขาวของหนังสือพิมพ มติชน
รายวัน ฉบับวันอาทิตยที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๔๒ กลาวถึงอดีต
ขาราชการชั้นผูใหญทานหนึ่ง ซึ่งเขามาเกี่ยวของกับการแกปญหา
วั ด พระธรรมกาย ได ก ล า วถึ ง ป ญ หาบางอย า งที่ จ ะต อ งแก ไ ข
ตอนหนึ่งไดกลาววา “เรื่องนิพพานเปนความคิดที่หลากหลาย”
การที่ทานกลาวอยางนี้ จะเปนผลจากการเผยแพรเอกสารของวัด
พระธรรมกาย หรือไมก็ตาม แตเปนเรื่องที่ตองเอาใจใสอยางยิ่ง
          ที่พูดนี้มิใชจะวากลาวขาราชการผูนั้น เพราะทานไมไดทํา
ความผิดอะไร แตคาพูดนันเทากับเปนสัญญาณเตือนภัยวา อันตราย
                         ํ      ้
ทีรายแรงกําลังเกิดขึ้นกับพระพุทธศาสนา เพราะความสับสนหรือ
   ่
เขาใจผิดตอหลักการสําคัญของพระพุทธศาสนา กําลังแผขยาย
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)                                 ๓
ออกไปในหมูประชาชน ซึ่งจะนําไปสูความสั่นคลอนของพระพุทธ
ศาสนาถึงขั้นรากฐานเลยทีเดียว
       ที่จริงนั้น หลักการสําคัญของพระพุทธศาสนามีความชัดเจน
แนนอน และไมใชเปนเพียงเรื่องของความคิดเห็น แตเปนเรื่อง
ของหลักฐานที่ชาวพุทธถือกันวามาจากพระพุทธเจาโดยตรง คือ
มาในพระไตรปฎก และมีคัมภีรอรรถกถาเปนตน อธิบายประกอบ
ซึงชาวพุทธทุกยุคสมัย ถือวาเปนเนือเปนตัวของพระศาสนา เปนหลัก
  ่                                 ้
สําคัญที่สุด และไดเพียรพยายามอยางยิ่งที่จะรักษาไวใหแมนยํา
ดวยการทรงจํา ศึกษาเลาเรียน และมีการสังคายนาเปนงานใหญ
หลายยุคสมัยตลอดมา
       เมื่อมีเหตุการณรายเกิดขึ้นแกพระศาสนา ชาวพุทธก็ควร
ตื่นตัวขึ้นมา ชวยกันขจัดภัยและปกปองรักษาพระศาสนาไว อยาง
นอยก็ใชเปนโอกาสที่จะไดศึกษา สรางเสริม หรือแมแตชําระ
สะสางความรูความเขาใจในพระศาสนาที่ตนนับถือ ทําความเห็น
ใหถูกตอง ใหไดช่ือวาสามารถถือเอาประโยชนจากสถานการณที่
ผานเขามา และผานพนปญหาไปอยางไดปญญา
       ในการชี้แจงตอไปนี้ จําเปนตองพูดพาดพิง ถาขอความที่
กลาวจะเปนเหตุใหทานผูเกี่ยวของไมสบายใจ ก็ขออภัยไวกอน
แตขอใหตั้งใจรวมกันวา เราจะทําการนี้เพื่อดํารงรักษาพระพุทธ-
ศาสนาใหบ ริสุทธิ์บ ริบูร ณที่สุดเทาที่จะทําได เพื่อใหพระพุทธ-
ศาสนาที่บรรพบุรุษไดรักษาสืบตอตกทอดกันมาจนถึงเรา โดย
อาศัยกําลังความเพียรพยายาม เรี่ยวแรง ความอุตสาหะและ
ศรัทธาเปนอยางยิ่ง มิใหสูญเสียไป และเพื่อใหประชาชนทั้งใน
๔                                                            กรณีธรรมกาย

บั ด นี้ แ ละเบื้ อ งหน า ยั ง สามารถได รั บ ประโยชน ที่ แ ท จ ริ ง จาก
พระพุทธศาสนา คือ มุงเพื่อรักษาพระธรรมวินัยและประโยชนสุข
ของประชาชน

ประพฤติวิปริตจากพระธรรมวินัย ก็ราย
แตทาพระธรรมวินัยใหวิปริต รายยิ่งกวา
    ํ
         ปญหาเกี่ยวกับวัดพระธรรมกายที่กําลังไดรับการวิพากษ
วิจารณกันอยูนี้มีหลายเรื่อง แยกไดหลายแงหลายประเด็น เชน
เรืองความประพฤติสวนตัวของพระ เรืองการดําเนินงานขององคกร
   ่                                    ่
คือวัดและมูลนิธิ เกี่ยวกับการครอบครองกรรมสิทธิ์ในที่ดิน เปนตน
ตลอดจนการดําเนินธุรกิจตางๆ การแสวงหาเงินทอง โดยวิธีซึ่ง
เปนที่สงสัยวาจะไมถูกตอง ในแงกฎหมายบาง ในแงพระวินัยบาง
โดยเฉพาะการยกอิทธิฤ ทธิ์ป าฏิห าริยขึ้น มาเผยแพรในลักษณะ
ที่เปนการชักจูงใหคนบริจาคเงิน การใชวิธีกึ่งเกณฑใหเด็กนักเรียน
นักศึกษา ตลอดจนขาราชการ เปนตน จํานวนมากๆ มารวมกิจกรรม
โดยมีเปาหมายที่นาสงสัยวาจะมุงไปที่การใหบริจาคเงินหรือไม
         สุดทายก็คอ ปญหาทีเ่ กียวกับพระธรรมวินยโดยตรง โดยเฉพาะ
                   ื             ่              ั
การแสดงหลักการของพระพุทธศาสนา เรืองนิพพานเปนอัตตา เรื่อง
                                           ่
ธรรมกาย และเรื่องอายตนนิพพาน
         ปญหาทั้งหมดนั้น ลวนมีความสําคัญ และจะตองแกไขดวย
วิธีที่เหมาะสมใหถูกตองแตละอยาง แตเมื่อพิจารณาในแงของการ
ดํารงรักษาพระศาสนา ปญหาสําคัญที่สุดก็คือ ปญหาเกี่ยวกับ
พระธรรมวินัย ซึ่งกระทบถึงหลักการของพระพุทธศาสนา พูดให
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)                                            ๕
เขาใจงายวา การทําพระธรรมวินัยใหวปริต ซึ่งรายแรงยิ่งกวาการ
                                                  ิ
ประพฤติวิปริตจากพระธรรมวินัย
          ๑. ประพฤติวิปริตจากพระธรรมวินัย หรือทําตัววิปริตจาก
พระธรรมวินัย หมายความวา พระพุทธเจาทรงสั่งสอนไวอยางไร
ก็ไมประพฤติปฏิบัติตามนั้น ละเมิดพุทธบัญญัติ แตยังรูตัวหรือ
ยอมรับวาการทําอยางนั้นเปนความผิด
          ๒. ทําพระธรรมวินัยใหวิปริต หมายความวา พระพุทธเจา
สั่งสอนไวอยางหนึ่ง กลับบอกวาพระพุทธเจาสั่งสอนไวอีกอยาง
หนึ่ง สิ่งที่พระพุทธเจาสอนไว กลับบอกวาพระพุทธเจาไมไดสอน
สิ่งที่พระพุทธเจาไมไดสอน กลับบอกวาพระพุทธเจาสอน สิ่งที่พระ
พุทธเจาสอนวาชั่วราย ผิด กลับสอนวาดีงาม ถูกตอง สิ่งที่พระ
พุทธเจาสอนวาดีงาม ถูกตอง กลับสอนวาชั่วราย ผิด เปนตน
ปฏิเสธ ลบลาง หรือบิดเบือนคําสั่งสอนของพระพุทธเจา
          ยกตัวอยางดานพระวินัย เชน วินัยบัญญัติไมใหภิกษุดื่มสุรา
ไม ใ ห เ สพเมถุ น แต ภิ ก ษุ นั้ น ดื่ ม สุ ร า หรื อ เสพเมถุ น เรี ย กว า
ประพฤติวิป ริต จากพระธรรมวินัย ก็ตอ งแกไ ขโดยดําเนิน การ
ลงโทษไปเปนสวนเฉพาะบุคคล
          แตถามีพระภิกษุยึดถือประกาศขึ้นมาหรือเผยแพรวา การ
ดื่มสุราก็ดี การเสพเมถุนก็ดี ไมผิดวินัย พระพุทธเจาไมไดหามไว
ก็เ ปน ปญ หาถึง ขั้น ทําพระธรรมวินัย ใหวิป ริต ซึ่ง เปนเรื่อ งใหญ
ถึงกับทําใหเกิดมีการสังคายนา
          ยกตัวอยางดานธรรม เชน พระไตรปฎกระบุไววา นิพพาน
เปนอนัตตา ถามีภิกษุเห็นวานิพพานเปนอัตตา หรือไมยอมรับวา
๖                                                                    กรณีธรรมกาย

นิพพานเปนอนัตตา เรียกวา เปน การเห็นผิด จากพระธรรมวินัย
ก็ ต อ งแก ไ ขด ว ยการให ศึ ก ษาหรื อ ทําความเข า ใจกั น ให ถู ก ต อ ง
เปนสวนเฉพาะตัวของภิกษุนั้น
         แต ถ า มี พ ระภิ ก ษุ ยึ ด ถื อ ประกาศขึ้ น มาหรื อ เผยแพร ว า
พระพุทธเจาสอน หรือพระไตรปฎกระบุไววานิพพานเปนอัตตา
เปนสถานที่ดินแดนมีขนาดวัดได หรือบอกวาพระไตรปฎกที่ระบุวา                 
นิพพานเปนอนัตตา เปนหลักฐานที่เ ชื่อ ถือ ไมไ ด ก็เ ปน ปญ หา
ถึงขั้นทําพระธรรมวินัยใหวิปริต ซึ่งเปนเรื่องใหญถึงกับทําใหตองมี
การสังคายนา

ไมควรยอมเสียพระศาสนา เพื่อรักษาตัวของตน
         ยอนกลับไปขางตน ปญหาเกี่ยวกับวัดพระธรรมกายที่วา มี
หลายเรือง หลายแง หลายดาน หลายประเด็นนัน มีขอนาสังเกตวา
           ่                                  ้ 
เมือเรืองเกิดขึนแลว ทางวัดโดยเฉพาะเจาอาวาส เงียบอยู และไดมี
     ่ ่        ้
ผูเ รียกรองขอใหทานเจาอาวาสมาชีแจง ตอมาทางวัดมีพระทีออกมา
                                 ้                     ่
พูดกลาวตอบทํานองวา
       “เรายึดแนวพระพุทธเจาจะชนะดวยความสงบนิ่ง . . . พระ
       พุทธเจามีผูหญิงมากลาวหาวามีทองกับพระพุทธเจา บางทีมี
       คนจางคนมารุมดาสองขางทาง พระองคแกอยางไร พระพุทธ
       เจานิ่งตลอด บอกไวเลยวาชนะไดดวยความสงบนิ่ง แลว
       ความจริงก็ปรากฏในที่สุด พระพุทธเจาไมเคยแกขาว อยูดวย
       ความนิ่งสงบ และสุดทายก็ชนะ ความจริงจะปรากฏ เราเองก็
       เลยใชวิธีการเดียวกัน”
                       (หนังสือพิมพมติชนรายวัน วันอาทิตยที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๔๒)
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)                                                        ๗
       การกลาวอางเชนนี้ ตองระวังมาก เพราะจะทําใหคนเขาใจผิด
ตอพระพุทธเจา ความจริงพระพุทธเจาไมไดใชวธสงบนิงอยางเดียว  ิี        ่
ทรงใชวิธีปฏิบัติใหเหมาะสมกับสถานการณ ที่จะใหเรื่องจบสิ้นลง
ดวยดี ดวยความถูกตองและชัดเจน
       พุทธศาสนิกชนทีคนเคยวัด คงจะไดยนพระสวดมนตบทหนึง
                                    ่ ุ                 ิ                             ่
อยูเสมอ เวลามีงานเจริญพระพุทธมนตหรือสวดพระพุทธมนต
กอนฉันเพลพระภิกษุสงฆก็จะสวดบทสวดสําคัญบทหนึ่ง เรียก
กันวา บทพาหุง หรือ พาหุง ๘ บท เรียกเปนภาษาทางการวา
ชยมังคลัฏฐกคาถา บทสวดนี้ทานรวบรวมขึ้นไวเพื่อแสดงถึงวิธีที่
พระพุทธเจาทรงมีชัยชนะผานพนเหตุการณราย โดยทรงแกปญหา
ดวยวิธีปฏิบัติตางๆ กัน ดังคําบาลีวา
            “พาหุ สหสฺสมภินิมฺมิตสาวุธนฺตํ . . .” เปนตน
       ในเหตุการณและปญหาเหลานี้ บางเรืองพระพุทธเจาทรงแก่
ดวยวิธีเมตตา บางเรื่องทรงแกดวยขันติ บางเรื่องทรงแกดวย
อิทธิปาฏิหาริย บางเรื่องทรงแกดวยวิธีแหงอาการสงบ บางเรื่อง
ทรงแกดวยความลึกซึ้งแหงการใชปญญา บางเรื่องทรงแกดวยการ
ชี้แจงแสดงความจริง หรือแสดงธรรม
       การที่มากลาวอยางขางตนวา “เรายึดแนวพระพุทธเจา จะชนะ
ดวยความสงบนิ่ง” นั้นเปนคําที่กํากวม อาจจะทําใหผูคนเกิดความ
เขาใจวา มีเหตุการณอะไรเกิดขึ้นพระพุทธเจาก็ทรงนิ่งเฉย ซึ่ง
นอกจากจะทําใหคนเขาใจผิดตอพระพุทธเจาแลว อาจจะเปนการ
เสื่อมเสียตอพระพุทธคุณ
       สําหรั บ ผู ที่ รู เ รื่ อ งพุ ท ธประวั ติ ดี เมื่ อ ได ยิ น ได ฟ ง อย า งนี้
๘                                                         กรณีธรรมกาย

นอกจากจะตําหนิไดวาเปนการกอใหเกิดความเขาใจผิดแลว ก็ยัง
จะรูสกไดวา ทานผูกลาวนันมุงแตจะรักษาตัวเอง โดยไมคานึงวา
      ึ               ้                            ํ
การกระทําของตน จะเปนการกอใหเ กิดความเสียหายตอองค
พระพุทธเจาและเสื่อมเสียตอศรัทธาในพระพุทธคุณ ที่ถูกนั้น ควร
ยอมสละตัวเราเพือรักษาพระศาสนา ไมใชยอมใหเสียแกพระศาสนา
                 ่
เพื่อรักษาตัวเรา

จับประเด็นใหชัด
วางทาทีปฏิบัติใหตรงตามตนเรื่อง
       สิงทีจะพูดตอไปนี้ ไมใชเรืองความคิดเห็น นีเ้ ปนขอสําคัญทีตอง
         ่ ่                       ่                                ่
ย้าไวกอน เพราะเอกสารของวัดพระธรรมกายทีเ่ ผยแพรออกมานัน
  ํ                                                                   ้
มีลักษณะที่ทําใหเกิดความสับสน เชน เอาเรื่องขอเท็จจริงบาง
หลักฐานบาง เหตุผลความคิดเห็นตางๆ บาง มาปะปนกันไปหมด
จนทําใหคนเกิดความรูสกทีมองวา แมแตพระไตรปฎกก็เปนเรืองของ
                         ึ ่                                     ่
ความคิดเห็น
       จะตองแยกใหชดวา ขณะนีกาลังพูดถึงหลักฐาน กําลังพูดถึง
                       ั               ้ํ
พระไตรปฎก เปนตน หรือกําลังพูดถึงความคิดเห็นของบุคคล
       ขอเขียนตอไปนี้ หรือคําชีแจงตอไปนี้ จะแสดงเฉพาะหลักฐาน
                                     ้
ทีมาในคัมภีร เริมดวยพระไตรปฎกและอรรถกถา ถามีความคิดเห็น
   ่             ่
ก็จะบอกไวดวยวาเปนความคิดเห็น
       มีบางทานพูดทํานองวา ควรจะปลอยใหตางคนตางทําไป
เพราะเกรงวาจะทําใหเกิดความแตกแยก เรื่องนี้จะตองระวังรักษา
ทาทีใหถูกตอง
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)                                                    ๙
        ขอให จําตระหนั ก ต น เรื่ อ งเดิ ม ไว ใ ห ดี ว า ไม ใ ช เ ป น เรื่ อ ง
ของคนที่เ ปน ฝก เปน ฝา ยมาโตเถียงทะเลาะกัน แตเรื่อ งอยูที่วา
มีปญหาเกิดขึ้น ในที่แหงหนึ่ง โดยมีบุคคลหรือกลุมคนกลุมหนึ่ง
ทําความเสียหาย หรือมีพฤติกรรมที่นาสงสัยวาจะเปนความผิด
หรือเปนภัย มีผูพ บเห็น แลวนํามารองเรียนแกเจาหนาที่ และ
บอกกลาวแกมหาชน เจาหนาที่และประชาชนทั้งหลายจึงตองมา
ชวยกันแกไขระงับปญหา
        โดยเฉพาะกรณีนี้ก็คือ มีกลุมคนที่มีพฤติการณอันทําใหเกิด
ความสงสัยกันวากําลังกระทําความเสียหายตอพระธรรมวินัย และ
ตอประโยชนสุข โดยเฉพาะผลประโยชนทางปญญาของประชาชน
จึงเปนหนาที่ของชาวพุทธและประชาชนทุกคน ที่จะตองสนใจ
ชวยกันปกปองรักษาธรรมวินัยไว
        ขอสําคัญอยูทวา จะตองระวังรักษาทาทีทถกตองนีไว อยาทํา
                      ี่                                ี่ ู       ้
ด ว ยความรู สึ ก เป น ฝ ก ฝ า ย แต ทํ า ด ว ยเจตนาที่ มุ ง จะดํ า รง
พระพุทธศาสนา รักษาพระธรรมวินัยของพระพุทธเจาไวใหบริสทธิ์                      ุ
        ในเรื่องพระธรรมวินัยนั้น การรักษาไวใหบริสุทธิ์บริบูรณที่สุด
เทาที่จะทําได เปนเรื่องสําคัญที่สุด เพราะพระพุทธศาสนาอยูได
ดวยพระธรรมวินัยนั้น
        ไมตองพูดถึงเรืองใหญโต แมแตเพียงวามีภกษุดมสุรา ชาวพุทธ
                        ่                               ิ ื่
ก็ตองสนใจหาทางแกไข ไมใชบอกวาปลอยทานเถิด ใครอยาก
ประพฤติอยางไร ก็ตางคนตางประพฤติไป ถาไปวากลาวหรือทําอะไร
                       
เดี๋ยวจะเกิดความแตกแยก ถาชาวพุทธมีทาทีหรือทัศนคติอยางนี้
พุทธศาสนาก็จะดํารงอยูไมได คงจะสูญไปในไมชา
                                                            
๑๐                                                             กรณีธรรมกาย

         ขอใหจําตระหนักไววา ที่พระพุทธศาสนาดํารงอยูยืนยาว
มาถึงพวกเราได ก็เพราะพุทธบริษัททุกยุคทุกสมัย ถือวาการ
รักษาธรรมวินัย เปนแกนกลางของการรักษาพระพุทธศาสนา
         เมื่อ พระพุ ท ธเจ า ปริ นิ พ พานใหม ๆ เพี ย งมี ภิ ก ษุ รู ป หนึ่ ง
พู ด ว า พระพุทธเจาปรินพพานแลว ตอไปไมมใครจะคอยวากลาว
                              ิ                    ี
เราจะไดทําอะไรโดยสะดวก พระมหากัสสปะไดฟงคําเพียงเทานี้
ก็เรง ชักชวนพระอรหันตทั้งหลายมาประชุมกันสังคายนา รวบรวม
คําสังสอนของพระพุทธเจาวางไวเปนหลักของพระศาสนา ดังปรากฏ
       ่
อยูในพระไตรปฎกสืบมา
         ความจริงนั้นเปนหนึ่งเดียว และเมื่อเขาถึงความจริง คนก็จะ
เปน อัน หนึ่ง อัน เดีย วกัน โดยความจริง นั้น ไมมีอ ะไรที่จ ะทําให
เปนอันหนึ่งอันเดียวกันไดจริงเทากับความจริง
         เพื่อใหพิจารณาเรื่องราวไดชัดเจน ขอโอกาสนําเอาเอกสาร
ของวัดพระธรรมกายที่ไดเผยแพร ซึ่งอางถึงขางตนนั้น มาลงพิมพ
ไวดวย (ดู ผนวก ๑ ทายภาค ๑) และขออภัยอีกครังหนึง ทีบางครังจะตอง
                                                 ้ ่ ่               ้
ยกขึ้นมาเปนบทตั้งในการพิจารณา ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความชัดเจน
ปญหาของวัดพระธรรมกาย

       สวนที่กระทบตอพระธรรมวินัย

     วัดพระธรรมกาย เผยแพรคําสอนคลาดเคลื่อนไปจากหลักพระพุทธ
ศาสนาหลายประการ เชน
         ๑. สอนวานิพพานเปนอัตตา
         ๒. สอนเรืองธรรมกายอยางเปนภาพนิมต และใหมธรรมกาย ทีเปนตัว
                  ่                            ิ         ี             ่
ตนเปนอัตตาของพระพุทธเจามากมายหลายพระองค ไปรวมกันอยูในอายตน-
นิพพาน
         ๓. สอนเรืองอายตนนิพพาน ทีปรุงถอยคําขึนมาเองใหม ใหเปนดินแดน
                    ่                 ่           ้
ที่จะเขาสมาธิไปเฝาพระพุทธเจาได ถึงกับมีพิธีถวายขาวพระ ที่จะนําขาวบูชาไป
ถวายแดพระพุทธเจาในอายตนนิพพานนั้น
      คําสอนเหลานี้ ทางสํานักพระธรรมกายสอนขึ้นใหม ผิดเพี้ยนออกไปจาก
ธรรมวินัยของพระพุทธเจา แตแทนที่จะใหรูกันตามตรงวาเปนหลักคําสอนและ
การปฏิบัติของครูอาจารย ทางวัดพระธรรมกายกลับพยายามนําเอาคําสอนใหม
ของตนเขามาสับสนปะปนหรือจะแทนทีหลักคําสอนเดิมทีแทของพระพุทธศาสนา
                                   ่              ่
๑๒                                                              กรณีธรรมกาย

        ยิ่ง กวานั้น เพื่อ ใหสําเร็จวัต ถุป ระสงคขางตน วัดพระธรรมกายยังได
เผยแพรเอกสาร ที่จว งจาบพระธรรมวินัย ชักจูง ใหคนเขาใจผิด สับ สน หรือ
แมแตลบหลูพระไตรปฎกบาลี ที่เปนหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท เชน
        – ใหเขาใจวาพระไตรปฎกบาลี บันทึกคําสอนไวตกหลน หรือมีฐานะ
              เปนเพียงความคิดเห็นอยางหนึ่ง เชื่อถือหรือใชเปนมาตรฐานไมได
        – ใหนําเอาพระไตรปฎกฉบับอื่นๆ เชน พระไตรปฎกภาษาจีน และคํา
              สอนอื่นๆ ภายนอก มารวมวินิจฉัยพระพุทธศาสนาเถรวาท
        – ใหเขาใจเขวไปวาหลักการของพระพุทธศาสนาเปนเรื่องอภิปรัชญา
              ขึนตอการตีความ และความคิดเห็น ตลอดจนการถกเถียงทางวิชาการ
                ้
        – อางนักวิชาการตางประเทศ และการปฏิบัติของตน ดังวาจะใชวินิจฉัย
              หลักพระพุทธศาสนาได
                                           ฯลฯ
        อีกทั้งสิ่งที่ยกมาอาง เชน คัมภีรของมหายาน และทัศนะของนักวิชาการ
                                              
ตะวันตก ก็ไมตรงตามความเปนจริง หรือไมก็เลื่อนลอย
        นอกจากนั้น ยังนําคําวา “บุญ” มาใชในลักษณะที่ชัก จูง ประชาชนให
วนเวียนจมอยูกับการบริจาคทรัพย เพื่อวัตถุประสงคตางๆ ชนิดที่สงเสริมความ
                                                                     
ยึดติดถือมั่นในตัวตนและในตัวบุคคล อันอาจกลายเปนแนวโนมที่บ่นรอนสังคม  ั
ไทยในระยะยาว พรอมทั้งทําพระธรรมวินัยใหลางเลือนไปดวย
        พฤติการณของสํานักวัดพระธรรมกายอยางนี้ เปนการจาบจวง ลบหลู
ย่ํายีพระธรรมวินัย สรางความสับสนไขวเขวและความหลงผิดแกประชาชน
        ขอความบรรยายตอไปนี้ ไดเขียนไวเพื่อเปนทางแหงการศึกษา ใหเกิด
ความเขาใจที่ถูกตอง
        พรอมทั้ง เปนเหมือนคําขอรองตอชาววัดพระธรรมกาย ผูยังเห็นแก
พระพุทธศาสนา เมื่อรูเขาใจแลว จะไดหันมารวมกันทําบุญที่ยิ่งใหญ และสนอง
พระคุณบรรพบุรุษไทย ดวยการรักษาพระธรรมวินัยใหบริสุทธิ์สืบไป
รูจักพระไตรปฎก
พระพุทธศาสนาไมใชปรัชญา
       เบื้องแรกตองรูความแตกตางระหวางศาสนากับปรัชญากอน
ปรัชญาเปนเรื่องของการคิดหาเหตุผล และถกเถียงกันในเรื่อง
เหตุผลนั้นเพื่อสันนิษฐานความจริง เรื่องที่ถกเถียงนั้นอาจจะไม
เกี่ยวกับการดําเนินชีวิตที่เปนอยู เชน นักปรัชญาอาจจะถกเถียง
กันวา จักรวาลหรือจักรภพเกิดขึ้นเมื่อไรและจะไปสิ้นสุดเมื่อไร
โลกจะแตกเมื่อไร ชีวิตเกิดขึ้นเมื่อไร เปนตน
       นอกจากนั้ น นั ก ปรั ช ญาก็ ไ ม จําเปนตองดําเนินชีวิตตาม
หลักการอะไร หรือแมแตใหสอดคลองกับสิ่งที่ตนคิด เขาคิดหาเหตุ
ผลหาความจริงของเขาไป โดยที่วาชีวิตสวนตัวอาจจะเปนไปใน
ทางที่ตรงขามก็ได เชน นักปรัชญาบางคนอาจจะเปนคนคุมดี-
คุมราย บางคนสํามะเลเทเมา บางคนมีทุกขจนกระทั่งฆาตัวตาย
       แตศาสนาเปนเรื่องของการปฏิบัติ เรื่องของการดําเนินชีวิต
หรือการนํามาใชใหเปนประโยชนในชีวิตจริง การปฏิบัตินั้นตองมี
หลักการที่แนนอนอยางใดอยางหนึ่ง และจะตองมีจุดหมายชัดเจน
ดวยวาตองการอะไร การที่ตอ งมีขอ ปฏิบัติที่แ นน อนและตองมี
จุดหมายทีชดเจนนัน ผูปฏิบตกตองยอมรับหลักการอยางใดอยางหนึง
            ่ั     ้  ัิ็                                      ่
๑๔                                                     กรณีธรรมกาย

และก็ตองถามตอไปวาจะยอมรับหลักการที่บุคคลผูใดไดคนพบ
หรือแสดงไว ซึ่งเราเรียกวาพระ “ศาสดา”
        เพราะฉะนั้น ผูปฏิบัติคือศาสนิกชน เริ่มตนก็ตองยอมรับหรือ
เชื่อการตรัสรูหรือการคนพบความจริงขององคพระศาสดา หรือ
ยอมรับหลักการที่ศาสนานั้นไดแสดงไว ซึ่งเราเรียกวาคําสอน
เพราะฉะนั้นศาสนิกจึงมุงไปที่ตัว คําสอนของพระศาสดา หรือ
หลักการที่ศาสนาวางไว คําสอนของพระศาสดานั้นก็รวบรวมและ
รักษาสืบทอดกันไวในสิ่งที่เรียกกันวาคัมภีร
        ในพระพุทธศาสนา เรียกคัมภีรทรกษาคําสอนของพระพุทธเจา
                                      ี่ ั
ซึ่งเปนพระศาสดาของพระพุทธศาสนาวา “พระไตรปฎก”

พระไตรปฎก คือที่สถิตของพระศาสดา
        คัมภีรศาสนา เชน ในพระพุทธศาสนาคือพระไตรปฎกนี้
เปนมาตรฐาน เปนเกณฑตัดสินความเชื่อและการประพฤติปฏิบัติ
เปนที่มา เปนแหลงรักษาหลักการของศาสนานั้นๆ ถาคําสอนหรือ
หลั ก การที่ แ ท ข องพระศาสดาที่ รั ก ษาไว ใ นพระไตรป ฎ กหรื อ ใน
คัมภีรนั้น สูญสิ้นหมดไป ก็ถือวาศาสนานั้นสูญสิ้น
        ดังนั้น ศาสนาทั้งหลายจึงถือการรักษาคัมภีรศาสนาของตน
เปนเรื่องสําคัญที่สุด และพระพุทธศาสนาก็ถือวาการรักษาคัมภีร
พระไตรปฎกเปนเรื่องใหญที่สุด
        แมแตในประวัติศาสตรชาติไทยของเรา มองยอนหลังไป ไม
ตองยาวไกล เพียงแคยุคกรุงธนบุรี และยุครัตนโกสินทร
        หลังกรุงเกาแตก เมื่อพระเจาตากสินมหาราชกูอิสรภาพได
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)                                ๑๕
รวบรวมคนไทย ตั้งกรุงธนบุรีสําเร็จ ก็ทรงดําเนินงานใหญในการ
ฟนฟูพระพุทธศาสนา คือ โปรดฯใหรวบรวมคัมภีรพระไตรปฎก
จากหัวเมืองตางๆ มาคัดจัดตั้งเปนฉบับหลวง ที่จะเปนหลักของ
พระศาสนาสืบไป
        เมื่อพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงตั้งกรุงเทพฯเปน
เมืองหลวงใหมเสร็จ จัดบานเมืองเรียบรอยแลว ก็โปรดฯใหมีการ
สังคายนา และคัดพระไตรปฎกฉบับหลวงขึ้นตั้งไว เปนหลักคูบาน
คูเมือง
        พระพุทธเจาเองไดตรัสไววา เมื่อพระองคปรินพพานไปแลว
                                                     ิ
ธรรมวินัยที่ทรงแสดงแลวและบัญญัติแลว แกสาวกทั้งหลายนั้น
จะเปนศาสดาแทนพระองคสืบตอไป ธรรมวินัยนั้นเวลานี้อยูที่ไหน
ก็รักษาไวในพระไตรปฎก
        ธรรมวินัย ก็คือหลักการและหลักเกณฑของพระพุทธศาสนา
ที่มาจากพุทธพจนและพุทธบัญญัติ ซึ่งเปนบรรทัดฐานที่ชัดเจน
        ยิ่งหลักการที่สาคัญ อยางนิพพานซึ่งเปนจุดหมายสูงสุดของ
                       ํ
พระพุทธศาสนาดวยแลว ก็จะตองมีความแนนอนวาเปนอยางไร
เพราะวาศาสนิกหรือผูปฏิบัติทั้งหลาย ยังไมอาจรูเขาใจหลักการ
นี้ดวยประสบการณของตนเอง พระศาสดาจึงตองแสดงไวใหชัด
เทาที่จะใชภาษาสื่อสารใหสติปญญาของผูปฏิบัติรูเขาใจได
        ถามิฉะนั้น เมื่อปฏิบัติไป แทนที่จะบรรลุนิพพานของพระ
พุทธศาสนา ก็อาจจะกลายเปนนิพพานของฮินดูไป หรืออาจจะเขา
ถึงฌานสมาบัติ แลวก็เขาใจวานีเ่ ปนนิพพาน หรือปฏิบัติไป รูสึกวา
จิตไปเขารวมกับสภาวะอยางใดอยางหนึ่ง แลวก็นึกวานั่นเปน
นิพพาน
๑๖                                                          กรณีธรรมกาย

       เพราะฉะนั้น หลักการที่สาคัญนี้ พระศาสดาจะตองวางไว
                                   ํ
อยางชัดเจนที่สุด เทาที่สติปญญาของคนที่ปฏิบติซึ่งยังไมรูไดดวย
                                                  ั
ตนเอง จะเขาใจได
       พระไตรปฎกเปนแหลงรวมคําสั่งสอนของพระพุทธเจา ที่
เรียกวา “ธรรมวินย” นี้ ตังแตเรืองนิพพานซึงเปนจุดหมายสูงสุดลงมา
                 ั        ้      ่         ่
ทังคําสอนทางปญญา อยางไตรลักษณ ปฏิจจสมุปบาท ทังขอปฏิบติ
  ้                                                     ้         ั
คือไตรสิกขา ตลอดจนวินยเชนทีเ่ รียกวาศีล ๒๒๗ ของพระภิกษุสงฆ
                            ั
ศีล ๑๐ ของสามเณร และศีล ๕ ศีล ๘ ของอุบาสกอุบาสิกา ทังหมดนี้้
อาศัยพระไตรปฎกเปนแหลงรวบรวมไว และเปนมาตรฐานทั้งสิ้น
       ควรจะยกพุทธพจนที่ต รัส เมื่อจะปรินิพพาน มาย้ําเตือ น
พุทธศาสนิกชนกันไวเสมอๆ วา
            โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปฺตฺโต, โส โว
      มมจฺจเยน สตฺถา
                                                   (ที.ม.๑๐/๑๔๑/๑๗๘)
           แปลวา: “ดูกอนอานนท ธรรมและวินัยใดที่เราไดแสดง
      แลว บัญญัติแลว แกเธอทั้งหลาย,ธรรมและวินัยนั้น เปน
      ศาสดาของเธอทั้งหลาย เมื่อเราลวงลับไป”
       เวลานี้ ธรรมวินยทีทรงตังไวเปนศาสดาแทนพระองคอยูทไหน
                      ั ่ ้                              ี่
ก็อยูในพระไตรปฎก เพราะฉะนั้นจึงถือวา พระไตรปฎกเปนที่สถิต
ของพระพุทธเจา
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์

More Related Content

What's hot

สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14Tongsamut vorasan
 
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรคำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรNhui Srr
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้Theeraphisith Candasaro
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
Ebooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีEbooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีRose Banioki
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13Tongsamut vorasan
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรsolarcell2
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา solarcell2
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยSarod Paichayonrittha
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครูniralai
 

What's hot (19)

สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
 
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรคำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
Ebooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีEbooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธี
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 

Similar to หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์

First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_resultsFirst grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_resultsNanthawat Tabngern
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Wat Thai Washington, D.C.
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิตTongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17Tongsamut vorasan
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555Panda Jing
 

Similar to หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (20)

Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
 
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011 Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
 
Ariyasaj begin 2
Ariyasaj begin 2Ariyasaj begin 2
Ariyasaj begin 2
 
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_resultsFirst grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
 
Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010 Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
 
Padcha
PadchaPadcha
Padcha
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 

หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์

  • 1. กรณีธรรมกาย บทเรียนเพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสรางสรรคสังคมไทย ฉบับเพิ่มเติม-จัดลําดับใหม พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) เอกสารเพื่อพระธรรมวินัย
  • 2. กรณีธรรมกาย บทเรียนเพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสรางสรรคสังคมไทย © พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ISBN : 974-86986-4-5 พิมพครั้งที่ ๒๔ — มกราคม ๒๕๕๑ ๑,๐๐๐ เลม (=ฉบับขยาย พิมพครั้งที่ ๙) (=ฉบับเพิ่มเติม-จัดลําดับใหม พิมพครั้งที่ ๒ และปรับแก-เติมเล็กนอย) - สมาคมโพธิธรรม ๑,๐๐๐ เลม ปก : พระชัยยศ พุทฺธิวโร พิมพที่
  • 3. บันทึกในการพิมพ ฉบับเพิ่มเติม-จัดลําดับใหม หนังสือ “กรณีธรรมกาย” เปนงานเขียนเฉพาะหนา ออกมา ในเวลาเรงดวน เพื่อแกปญหาถอยคําจาบจวงพระธรรมวินัย มุง สรางความเขาใจเฉพาะจุดที่ถูกทําใหสับสน ซึ่งมักเปนหลักธรรม หรือขอธรรมที่หนัก ผูอานทั่วไปที่มีพื้นฐานไมพอ อาจจับความได ยาก เมื่อเวลาผานไปจึงเขียนขยายความและแทรกเพิ่มตามโอกาส อีกทั้งมีบางทานแจงวาไดใชเปนอุปกรณในการศึกษาพระพุทธ- ศาสนา จึ ง เห็ น ควรเพิ่ ม เติ ม คําอธิ บ ายบางตอนให มี เ นื้ อ ความ ครบถวน ในการพิม พค รั้ง ใหมนี้ ไดเ ขีย นแทรกเสริม เพิ่ม ความให ชั ด เจนและได เ นื้ อ หาสาระมากขึ้ น โดยเฉพาะในตอนว า ด ว ย “นิพพานเปนอนัตตา” เพิ่มขึ้นมาประมาณ ๒๕ หนา และทายเรื่อง “บุญ-บารมี” อีก ๒ หนา สวนในที่อ่ืน ๆ ก็ไดแ ทรกเสริมปรับปรุง เล็กๆ นอยๆ กระจายทั่วไป อนึ่ง สวนที่เขียนแทรกเพิ่ม มีตอนเล็กตอนนอยหลายแหง ทําใหดูลักลั่น เมื่อจะพิมพใหมคราวนี้ จึงจัดแบงบท-ภาค และ ลําดับเนื้อหาใหมทั้งหมด พระธรรมปฎก ๑๔ มิถุนายน ๒๕๔๒ ก
  • 4. คําปรารภ หนังสือเลมนี้เกิดขึ้นดวยปรารภเหตุเฉพาะหนา คือในปลาย ป ๒๕๔๑ เมื่อเกิดกรณีปญหาวัดพระธรรมกายขึ้นไมนาน ไดมี เอกสารของวัด พระธรรมกาย ที่พ ยายามสรางความชอบธรรม แกคําสอนและกิจกรรมของสํานัก เผยแพรออกไปจํานวนมากมาย อยางกวางขวาง เมื่อไดอานแมเพียงบางสวน ก็เห็นเนื้อหาที่จะกอ ความเขาใจผิดพลาดสับสนแกประชาชนถึงขั้นทําใหพระศาสนา สั่นคลอนได จึงไดเรงเขียนคําชี้แจงขึ้นมาจนเสร็จไปขั้นหนึ่ง นอกจากเหตุเฉพาะหนานั้นก็มีเหตุผลระยะยาววา ไมวาจะ  เกิดกรณีปญหาเชนนี้ขึ้นก็ตาม ไมเกิดขึ้นก็ตาม การสรางเสริม ปญญาดวยการเผยแพรความรูความเขาใจที่ถูกตอง ยอมมีความ สําคัญในตัวของมันเอง เพราะความรูเห็น ถูกตองเปนฐานของ พฤติกรรม จิตใจ และกิจการทุกอยาง ที่จะดําเนินไปไดโดยถูกตอง และปลอดโปรงโลงเบา เกื้อกูลตอการแกปญหาและการสรางสรรค ทั้งปวง หลังจากงานเรงเฉพาะหนาเสร็จไปขั้นหนึ่งแลว จึงไดเขียน แทรกเสริมเพิ่มความตอมาใหชัดเจนและครอบคลุมยิ่งขึ้น ดัง ปรากฏเปนหนังสือเลมขยายในบัดนี้ ซึ่งแมจะพยายามเขียนใหสั้น ก็ยังยาวเกินคาดหมายไปมาก แมหากการแกปญหาของสวนรวมในบัดนี้ไมลุลวง สาระที่ จัดรวมไวกอาจชวยเอือแกคนรุนหลัง หรือปจฉิมาชนตา ผูมปญญา ็ ้   ี  ข
  • 5. ที่จะมีโอกาสมาแกปญหาหรือฟนฟูกูพระศาสนา อยางนอยก็ชวย ใหรูเขาใจเรื่องราวที่เกิดขึ้นแลวครั้งหนึ่ง เนื้อหาที่นํามาเสนอไว มุงที่ขอมูลความรูและหลักการตาม หลักฐานที่ยอมรับกันวาเปนมาตรฐานกลางของพระพุทธศาสนา เถรวาท พรอมทั้งคําอธิบายพอเชื่อมโยงระหวางฐานขอมูล โดย แยกทัศนะหรือความคิดเห็นออกไวตางหาก และใหมีเพียงแตนอย ดวยเหตุที่เปนหนังสือเลมขยาย ซึ่งเขียนเพิ่มเติม โดยแทรก เขาในหลายแหงของเลมเดิม มิใชเขียนตอเนื่องในคราวเดียว จึง อาจมีเนื้อความที่ลักลั่นและซ้ําซอนบาง เนื่องจากเปนเรื่องที่เกี่ยวกับกรณีปญหาเฉพาะ แมมิจงใจให กระทบกระทั่ง แตเมื่อจะใหเกิดความชัดเจน ก็จําเปนตองมีคํา และความบางสวนที่พาดพิงถึงสํานักพระธรรมกาย และทานผู เกี่ยวของ จึงขออภัยไว ณ ที่นี้ดวย โดยขอใหถือวามาชวยกันทํา ประโยชนเพื่อพระศาสนาและสังคมสวนรวม หวังวาหนังสือเลมนี้จะเปนสวนรวมอยางหนึ่ง ที่จะใหเกิด ความรูความเขาใจที่ถูกตอง เปนสัมมาทัศนะ ที่จะเปนฐานแหง ความมั่นคงยั่งยืนของพระธรรมวินัย และความเจริญแพรหลาย แหงประโยชนสุขของประชาชน สืบตอไป พระธรรมปฎก ๑๐ เมษายน ๒๕๔๒ ค
  • 6. สารบัญยอ กรณีธรรมกาย บทเรียนเพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสรางสรรคสังคมไทย ..... ๑ ตนเรื่อง ...................................................................................................... ๑ ปญหาของวัดพระธรรมกาย สวนที่กระทบตอพระธรรมวินัย ..........................๑๑ รูจักพระไตรปฎก......................................................................................๑๓ เบ็ดเตล็ด ๑ รูจักพระไตรปฎกอยางชาวบาน ........................................... ๕๓ ก) องคุลิมาลไมไดอานพระไตรปฎก .................................................................. ๕๓ ข) ติดพระไตรปฎก - ติดตํารา ...........................................................................๕๙ เบ็ดเตล็ด ๒ อางฝรั่ง ...............................................................................๖๕ อางฝรั่ง ๑......................................................................................................๖๖ อางฝรั่ง ๒.....................................................................................................๗๘ ภาค ๑: อนัตตา–ธรรมกาย–อายตนนิพพาน...............๙๕ นิพพานเปนอนัตตา ...................................................................................๙๕ ธรรมกาย เรื่องสูงที่ไมใหญ.....................................................................๑๗๔ อายตนนิพพาน คือดับอายตนะ ............................................................. ๒๒๔ ขอพิจารณา............................................................................................๒๔๑ บทสงทาย..............................................................................................๒๖๔ ผนวก ๑ เอกสารของวัดพระธรรมกาย............................................ ๒๗๑ ภาค ๒: บุญ–บารมี ที่จะกูแผนดินไทย.................. ๒๘๕ บุญกิริยา: บุญ เพื่อสรางสรรคชีวิตและชุมชน .....................................๒๘๕ เมตตาภาวนา – อหิงสา: บุญ เพื่อสรางสรรคโลก ............................๓๕๓ บารมี: บุญ เพื่อสรางสรรคโลกแหงอิสรภาพ........................................๓๕๘ ผนวก ๑ ปญหาเรื่องวัดพระธรรมกาย ................................... ๓๙๒ ผนวก ๒ ถาม-ตอบเบ็ดเตล็ด เรื่องขนาด และ จํานวน ................... ๔๐๑ ง
  • 7. สารบัญพิสดาร บันทึกในการพิมพฉบับเพิ่มเติม-จัดลําดับใหม .............................................. ฉ คําปรารภ.....................................................................................................ข กรณีธรรมกาย บทเรียนเพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสรางสรรคสังคมไทย ......๑ ตนเรื่อง ......................................................................................... ๑ กรณีธรรมกาย ถึงขั้นจวงจาบพระธรรมวินัย................................................. ๑ ประพฤติวิปริตจากพระธรรมวินัย ก็ราย แตทําพระธรรมวินัยใหวิปริต รายยิ่งกวา..................................................๔ ไมควรยอมเสียพระศาสนา เพื่อรักษาตัวของตน........................................... ๖ จับประเด็นใหชัด วางทาทีปฏิบัติใหตรงตามตนเรื่อง............................................................๘ ปญหาของวัดพระธรรมกาย สวนที่กระทบตอพระธรรมวินัย ..... ๑๑ รูจักพระไตรปฎก .........................................................................๑๓ พระพุทธศาสนาไมใชปรัชญา .................................................................... ๑๓ พระไตรปฎก คือที่สถิตของพระศาสดา ......................................................๑๔ พระไตรปฎกสําคัญตอพระพุทธศาสนา ยิ่งกวาที่รัฐธรรมนูญสําคัญตอประเทศชาติ............................................ ๑๗ พระไตรปฎกบาลีท่คนไทยนับถือ ี คือฉบับเดิมแท เกาแก และสมบูรณที่สุด...............................................๑๙ เพราะไมรักษาคําสอนเดิมของพระพุทธเจาไว มหายานจึงตางกันเองหางไกล ยิ่งกวาตางจากเถรวาทอยางไทย.............. ๒๔ จ
  • 8. ถาตีรวนพระไตรปฎกได ก็ถอนรากพระสงฆไทยสําเร็จ ..............................๒๘ เมื่อชาวพุทธยังนับถือพระไตรปฎก ก็ยังเคารพพระพุทธเจา และมีพระศาสดาองคเดียวกัน ..........................๓๒ ถาหลักคําสอนยังมีมาตรฐานรักษา พระพุทธศาสนาก็อยูไปไดถึงลูกหลาน .................................................. ๓๕ นอกจากหลักฐาน ยังมีหลักการ ที่เปนมาตรฐานสําหรับวัดคําสอน..........................................................๓๘ เพราะยังมีพระไตรปฎกเถรวาทไวเปนมาตรฐาน พระมหายานจึงมีโอกาสยอนกลับมาหาพุทธพจนที่แท ............................๔๐ สิ่งควรทําที่แท คือ เรงชวนกันหันมายกเอาพระไตรปฎกของเราขึ้นศึกษา .............................๔๔ เบ็ดเตล็ด ๑ รูจักพระไตรปฎกอยางชาวบาน ................................๕๓ ก) องคุลิมาลไมไดอานพระไตรปฎก................................................... ๕๓ ข) ติดพระไตรปฎก - ติดตํารา............................................................๕๙ เบ็ดเตล็ด ๒ อางฝรั่ง ......................................................................๖๕ อางฝรั่ง ๑: พระไตรปฎกอักษรโรมันของ PALI TEXT SOCIETY เปนฉบับสากล? ๖๖ สมาคมบาลีปกรณพิมพพระไตรปฎกอักษรโรมันได ก็เพราะมีพระไตรปฎกของพวกเราใหเขาคัดลอก....................................๖๖ ถึงแมมีความเพียร แตเพราะขาดกําลังและประสบการณ พระไตรปฎกอักษรโรมัน จึงลักลั่นไมเปนระบบ......................................๖๙ พระไตรปฎกบาลีฉบับสากลโดยรูปแบบ ยังไมมี แตโดยเนื้อหา พระไตรปฎกบาลีเปนสากลตลอดมา............................... ๗๑ หันจากพระไตรปฎกแปลของ PALI TEXT SOCIETY ชาวตะวันตกที่ศึกษาพุทธศาสนา เหออกมาสูทางเลือกอื่น ...................... ๗๕ ฉ
  • 9. อางฝรั่ง ๒: ทัศนะนักวิชาการตะวันตก เรื่องนิพพาน อัตตา - อนัตตา.......๗๘ นักปราชญชาวตะวันตกก็นายกยองอยู แตตองรูจักเขาใหพอดีกับที่เขาเปนจริง .................................................๗๘ ปราชญพุทธศาสนาตะวันตกรุนเกา ยังเขาใจสับสน ระหวางพุทธธรรม กับความคิดเดิมในวัฒนธรรมของตน....................... ๘๐ รูถึงตามทันวาคนนอกเขาคิดเขาใจไปแคไหน แตไมใชรอใหเขามาวินจฉัยหลักการของเรา........................................... ๘๔ ิ พอชาวตะวันตกมาบวชเปนพระฝรั่ง ความรูพุทธธรรมก็เริ่มเขาสูทางที่ถูกตอง............................................... ๘๕ นาอนุโมทนาที่แมจะชาสักหนอย แตในที่สุดปราชญตะวันตกก็ตามจับหลักพุทธได ..................................๘๘ ภาค ๑ อนัตตา–ธรรมกาย–อายตนนิพพาน นิพพานเปนอนัตตา.................................................................... ๙๕ นิพพาน ไมใชปญหาอภิปรัชญา..................................................................๙๕ แหลงความรูที่ชัดเจนมีอยู ก็ไมเอา กลับไปหาทางเดารวมกับพวกที่ยังสับสน............................................. ๑๐๐ พระพุทธเจาตรัสไวแนนอนเด็ดขาด วาลัทธิถืออัตตา ไมใชคําสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา ....................... ๑๐๔ แทจริงนั้น ไมมีอัตตา ที่จะยกมาถกเถียง วานิพพานเปนอัตตาหรือไม ................................................................ ๑๐๖ คนธรรมดายึดถืออัตตา พราหมณยิ่งพัฒนาอัตตาที่ยึดไวใหวิเศษ พระพุทธเจามา ใหเลิกยึดถืออัตตา แลวมองเห็นธรรม ........................ ๑๐๙ ช
  • 10. เปนธรรมดามนุษยปุถุชน เมื่อตัวตนที่เคยยึดไวจะหลุดหาย ยอมดิ้นรนหาอัตตาที่จะเอามายึดใหม ................................................. ๑๑๑ พุทธพจนตรัสไว อัตตาจบแคขันธ ๕ นิพพาน ผานพนขันธ ๕ ไมมอัตตาที่ตองมาพูดถึง ..............................๑๑๓ ี  ถึงจะนึกเลยไปนอกขันธ ๕ ก็ไมมีอะไรที่พระอริยะมองเห็นเปนอัตตา............................................๑๑๗ จะยึดอะไรก็ตามเปนอัตตา ก็คือยืนยันวายังไมรูจักนิพพาน ..........................................................๑๑๙ พระอรหันตไมมี “มัญญนา” ที่จะใหมามองนิพพานเปนอัตตา .........................................................๑๒๑ ยังยึดถืออัตตา ก็ไมรูจักนิพพาน พอบรรลุนิพพาน ก็ละอัตตาเสียแลว...................................................๑๒๕ พระไตรปฎกและอรรถกถาระบุวา นิพพานเปนอนัตตา ............................๑๒๘ การหาทางตีความ ใหนิพพานเปนอัตตา...................................................๑๓๖ การใชตรรกะที่ผิด เพื่อใหคิดวานิพพานเปนอัตตา ...................................๑๔๒ การจับคําความที่ผิดมาอางเปนหลักฐาน เพื่อใหนิพพานเปนอัตตา ....................................................................๑๔๕ เมื่อจํานนดวยหลักฐาน ก็หาทางทําใหสับสน............................................๑๔๙ เมื่อหลักฐานก็ไมมี ตีความก็ไมได ก็หันไปอางผลจากการปฏิบัติ.............................................................. ๑๕๑ เพราะไมเห็นแกพระธรรมวินัย จึงตองหาทางดิ้นรนเพื่อหนีใหพนสัจจะ............................................... ๑๕๕ พระพุทธศาสนา คือศาสนาของพระพุทธเจา จึงตองหาคําสอนของพระองคมาเปนมาตรฐานใหได ............................๑๕๗ จะรักษาพระพุทธศาสนาได พุทธบริษัทตองมีคุณสมบัติที่นาไววางใจ............................................. ๑๖๐ ซ
  • 11. ความซื่อตรงตอหลักพระศาสนา และมีเมตตาตอประชาชน คือหัวใจของการรักษาระบบไตรสิกขาไวใหแกประชาสังคม..................๑๖๓ มีทศนะสวนตัวไดไมเสียหาย ั แตอยาเลยไปถึงขั้นจาบจวงธรรมวินัย ................................................ ๑๖๕ พูดกันไป พูดกันมา ระวังอยาหลงคําวา “อนัตตา”..............................................................๑๖๗ พูดกันไป พูดกันมา ระวังอยาหลงประเด็น ........................................................................ ๑๖๙ ธรรมกาย เรื่องสูงที่ไมใหญ .......................................................๑๗๔ ธรรมกายแบบไหน ก็มีความหมายชัดเจนของแบบนั้น ......................................................๑๗๔ ชวยกันระวังไว อยาไพลเอาพุทธถอย ลงไปเขาลัทธิลึกลับ ........................................................................... ๑๗๘ ธรรมกายเดิมแทในพุทธกาล...................................................................๑๘๕ บํารุงเลี้ยงบริหารรางกายไว รูปกายก็เจริญงอกงาม หมั่นบําเพ็ญศีลสมาธิปญญา ธรรมกายก็เติบโตขึ้นมาเอง..................... ๑๙๐ พบคําเทียบเคียงและคําประพันธ ก็ควรรูทัน เพื่อไดประโยชนที่แทจริง...................................................๑๙๓ จะมองดูรูปกาย ก็อาศัยเพียงตาเนื้อ แตตองมีตาปญญา จึงจะมองเห็นธรรมกาย ........................................๑๙๗ “ธรรมกาย” ตามวิชชา ที่ทานวาเพิ่งคนพบใหม ......................................................................๒๐๑ ธรรมกายแบบเดิม เกิดจากการเพิ่มคุณภาพในตัวของเรา ........................๒๐๖ ธรรมกายเปนอัตตา ไมเขากับหลักวิชชาธรรมกาย..............................................................๒๑๑ ฌ
  • 12. ธรรมกายเปนอัตตา เปนเรื่องธรรมดาของคําอุปมาอุปไมย..................................................๒๑๔ จะเอาธรรมกายของพระพุทธเจา หรือธรรมกายแบบไหน ก็มีเสรีภาพเลือกได แตขอใหบอกไปตามตรง..................................... ๒๒๐ อายตนนิพพาน คือดับอายตนะ................................................๒๒๔ “อัตตา” ไมมีโดยปรมัตถ เปนเรื่องที่ชัดเจนไปแลว .................................. ๒๒๔ “อายตนนิพพาน” ไมมีโดยบาลีนิยม ก็ชัดเจนเชนกัน .................................................................................๒๒๗ ที่วานิพพานเปนอายตนะ ก็เปนคนละเรื่องกันกับอายตนนิพพาน................................................๒๓๐ อายตนนิพพาน ไมมี แตแปลใหมใหดีก็ไดความหมาย นิพพานายตนะ ถึงจะใชเปนศัพทได แตไมใหความหมายที่ดี .............. ๒๓๔ อายตนนิพพานแท ที่นี่ เดี๋ยวนี้................................................................๒๓๖ ใจหมดโลภโกรธหลง สวางโลงสดใส เมื่อไร ก็ไดเห็นนิพพานของพระพุทธเจา เมื่อนั้นทันที ................................... ๒๓๘ ขอพิจารณา............................................................๒๔๑ ปญหาพฤติการณตอหลักการ ................................................................ ๒๔๒ ปญหาพฤติการณที่สืบเนื่องจากหลักการ .................................................๒๕๐ การใชหลักฐานแกปญหาเกี่ยวกับหลักการ...............................................๒๕๙ บทสงทาย..............................................................๒๖๔ ผนวก ๑ เอกสารของวัดพระธรรมกาย............................๒๗๑ ญ
  • 13. ภาค ๒ บุญ–บารมี ที่จะกูแผนดินไทย บุญกิริยา บุญ เพื่อสรางสรรคชีวิตและชุมชน........................... ๒๘๕ หลักการใหญที่ตองรูไว เพื่อทําบุญใหถูกตอง......................................................................... ๒๘๕ ทําไมบุญจึงเนนทาน และเริ่มดวยทาน.................................................... ๒๘๘ ทานในระบบของการทําบุญ.....................................................................๒๙๐ เหตุใดทําบุญ จึงนิยมถวายแกพระสงฆ ...................................................๒๙๔ เกณฑวัดและตัดสินบุญ ........................................................................ ๒๙๘ บุญขั้นพื้นฐาน เพื่อสรางสรรคชีวิตและชุมชน.............................................................๓๐๐ จะเห็นคุณคาของ “บุญ” กวางขวาง เมื่อรูภูมิหลังหรือที่มาของบุญ .............................................................๓๐๔ พุทธศาสนามา คนเลิกบูชายัญ หันมารวมกันทําบุญ ...................................................๓๐๙ พุทธศาสนาลางเลือน คติการทําบุญก็เขว แคบ เคลื่อน ........................................................๓๑๓ เมื่อวัดเปนนาบุญ ก็จะมีชุมชนดีที่สรางขึ้นดวยบุญ .........................................................๓๑๖ ทําบุญอยางเปนระบบ ใหบุญพัฒนาครบ อยางเต็มกระบวน..................................................๓๒๐ ทําบุญใหครบ ๑๐ แลวตรวจสอบใหครบ ๓....................................................................๓๒๖ ฎ
  • 14. ทาน ศีล ภาวนา คือระบบการพัฒนาชีวิต ที่ตองครบองครวม.......................................๓๓๐ พัฒนาจิตใจ มีคุณใหญอนันต แตถาขาดปญญา อาจมีโทษมหันต .................................................... ๓๓๒ ปญญาเปนยอดรวม ใหทุกอยางลงตัวไดที่ .........................................................................๓๓๖ ตองไมขาดกิจกรรมเสริมปญญา พุทธศาสนาจึงจะมีชีวิตชีวา ไมแหงเฉา............................................... ๓๓๘ “บุญ” กับ “ยัญ” หมั่นเทียบกันไว ความเขาใจจะไดไมถอยหลังลงหลุมพราหมณ .....................................๓๔๓ ถาพระไมสอนหลักการทําบุญใหตรงไว ไมชาคนไทยคงหันไปบูชายัญ ............................................................ ๓๔๗ กูวัดใหกลับเปนนาบุญ ก็จะมีทุนสรางชุมชนที่ดี......................................................................๓๕๐ เมตตาภาวนา – อหิงสา บุญ เพื่อสรางสรรคโลก...............................................๓๕๓ มนุษยก็เปนพรหมสรางสรรคโลกได ไมตองรอใหพระพรหมมาเสกสรรบันดาล ...........................................๓๕๓ บารมี บุญ เพื่อสรางสรรคโลกแหงอิสรภาพ.......................... ๓๕๘ ความเขาใจพื้นฐาน ในการจะบําเพ็ญบารมี........................................................................๓๖๐ ใหอยางไรแคไหน จึงจะเรียกไดวา “ทานบารมี” ...............................................................๓๖๕ ฏ
  • 15. ทําบุญดวยบูชาก็ดี แตไมใชบารมี อยาสับสน บูชาที่ดี ตองใหผลเกิดมี แกชีวิตและชุมชน.........................................๓๖๙ บุญกิริยา - อหิงสา - บารมี ระดับการสรางสรรคความดีที่เลือกได ................................................๓๗๓ ถาสรางชีวิตและชุมชนแหงบุญได ก็กูชีพสังคมไทยสําเร็จ ......................................................................๓๗๘ หมายเหตุ: ขอสังเกตแถมทาย ...................................... ๓๘๔ ๑. รนถอย หรือรอยตอ ...................................................................๓๘๔ ๒. จากยัญ สูบุญ/จากอาตมัน สูอนัตตา.......................................... ๓๘๘ ผนวก ๑ ปญหาเรื่องวัดพระธรรมกาย .................................... ๓๙๒ เรื่องอิทธิปาฏิหาริย .................................................................................๓๙๓ เรื่องการทําบุญ .......................................................................................๓๙๔ เรื่องสิ่งกอสรางใหญโต ...........................................................................๓๙๖ เรื่องการระดมทุน ...................................................................................๓๙๘ ผนวก ๒ ถาม-ตอบเบ็ดเตล็ด เรื่องขนาด และ จํานวน..............๔๐๑ สิ่งมหัศจรรยของโลก..............................................................................๔๐๑ ชาวพุทธโบราณก็สรางเจดียใหญโต.........................................................๔๐๘ สมัยพุทธกาลก็มีวัดใหญโต ....................................................................๔๑๕ ชวนคนมาทําดีมากๆ.............................................................................. ๔๒๒ ประชาธิปไตย จะใหศรัทธามากลากไป หรือใหสิกขามานําไป..........................................................................๔๓๐ ปมปญหาในอิทธิปาฏิหาริย .....................................................................๔๓๘ ฐ
  • 16.
  • 17. กรณีธรรมกาย ตนเรื่อง กรณีธรรมกาย ถึงขั้นจวงจาบพระธรรมวินัย เมื่อ ๙ วันที่ผา นมานี้ คือ วัน ที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๔๒ ไดมี ผูสอขาว จากสือมวลชนตาง ๆ มาถามปญหาเกียวกับเรืองวัดพระ  ื่ ่ ่ ่ ธรรมกาย และผูสื่อขาวคนหนึ่งไดถวายหนังสือ ชื่อวา “เจาะลึกวัด พระธรรมกาย ขอมูลทีไมเคยเปดเผยทีใดมากอน ลับสุดยอด” ่ ่ ตอมาไดเปดหนังสือ นี้อา นดูบ างสว น โดยเฉพาะ“คําถาม คําตอบที่นา สนใจ” เมื่อพลิกดูผา นๆ ไปจนจบ ปรากฏวา ๒ ขอ สุ ด ท า ยเปนคําถามเกี่ยวกับเรื่องนิพพานเปนอัตตาหรือ อนัตตา และเรื่องธรรมกาย ในขอเกี่ยวกับนิพพานนั้นตั้งเปนคําถามวา “มีการถกเถียงกันวา นิพพานเปนอัตตาหรืออนัตตา ไมทราบ จริง ๆ เปนอยางไร?” และขอสุดทายวา “ธรรมกาย มีในพระไตรปฎกหรือไม?” สองขอนี้เปนเรื่องที่เกี่ยวกับหลักการ หรือหลักธรรมสําคัญ ของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะขอที่วาดวยเรื่อง นิพพานเปน อัตตา หรืออนัตตา เมื่ออานดูลักษณะการเขียนคําตอบเปนไปใน
  • 18. กรณีธรรมกาย เชิง ที่จ ะทําใหผูอา นเกิด ความเขาใจไปวา หลัก การสําคัญของ พระพุทธศาสนา โดยเฉพาะเรื่องนิพพานนั้น ไมชัดเจน ไมแนนอน ยังหาขอสรุปไมได เปนเรื่องของความคิดเห็น การเขียนเชนนี้ถือไดวาถึงขั้นที่จวงจาบพระธรรมวินัย เปน เรื่องสําคัญมาก และเปนเอกสารซึ่งจะคงอยูยาวนาน อาจกอผล กวางไกล จึงสมควรรีบชีแจงไว เพือสรางความรูความเขาใจทีถกตอง ้ ่  ู่ ตอมาอีก ๒-๓ วัน ก็มพระนําเอาหนังสือพิมพมติชนรายวัน ี ฉบับวันพุธ ที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๒ มาใหดู โดยเฉพาะหนา ๑๒ “สุขสรรค” มีบ ทความเรื่อ ง “สายตรงจากธรรมกาย นิพพาน เปนอัตตาหรืออนัตตา” โดย พระสมชาย านวุฑฺโฒ บทความนี้ เมื่ อ อ า นแล ว จะยิ่ ง สร า งความสั บ สนต อ หลั ก การสํ า คั ญ ของ พระพุทธศาสนาที่กลาวมานั้นยิ่งขึ้น อีก ๒-๓ วันตอมาก็มีรายงานขาวของหนังสือพิมพ มติชน รายวัน ฉบับวันอาทิตยที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๔๒ กลาวถึงอดีต ขาราชการชั้นผูใหญทานหนึ่ง ซึ่งเขามาเกี่ยวของกับการแกปญหา วั ด พระธรรมกาย ได ก ล า วถึ ง ป ญ หาบางอย า งที่ จ ะต อ งแก ไ ข ตอนหนึ่งไดกลาววา “เรื่องนิพพานเปนความคิดที่หลากหลาย” การที่ทานกลาวอยางนี้ จะเปนผลจากการเผยแพรเอกสารของวัด พระธรรมกาย หรือไมก็ตาม แตเปนเรื่องที่ตองเอาใจใสอยางยิ่ง ที่พูดนี้มิใชจะวากลาวขาราชการผูนั้น เพราะทานไมไดทํา ความผิดอะไร แตคาพูดนันเทากับเปนสัญญาณเตือนภัยวา อันตราย ํ ้ ทีรายแรงกําลังเกิดขึ้นกับพระพุทธศาสนา เพราะความสับสนหรือ ่ เขาใจผิดตอหลักการสําคัญของพระพุทธศาสนา กําลังแผขยาย
  • 19. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๓ ออกไปในหมูประชาชน ซึ่งจะนําไปสูความสั่นคลอนของพระพุทธ ศาสนาถึงขั้นรากฐานเลยทีเดียว ที่จริงนั้น หลักการสําคัญของพระพุทธศาสนามีความชัดเจน แนนอน และไมใชเปนเพียงเรื่องของความคิดเห็น แตเปนเรื่อง ของหลักฐานที่ชาวพุทธถือกันวามาจากพระพุทธเจาโดยตรง คือ มาในพระไตรปฎก และมีคัมภีรอรรถกถาเปนตน อธิบายประกอบ ซึงชาวพุทธทุกยุคสมัย ถือวาเปนเนือเปนตัวของพระศาสนา เปนหลัก ่ ้ สําคัญที่สุด และไดเพียรพยายามอยางยิ่งที่จะรักษาไวใหแมนยํา ดวยการทรงจํา ศึกษาเลาเรียน และมีการสังคายนาเปนงานใหญ หลายยุคสมัยตลอดมา เมื่อมีเหตุการณรายเกิดขึ้นแกพระศาสนา ชาวพุทธก็ควร ตื่นตัวขึ้นมา ชวยกันขจัดภัยและปกปองรักษาพระศาสนาไว อยาง นอยก็ใชเปนโอกาสที่จะไดศึกษา สรางเสริม หรือแมแตชําระ สะสางความรูความเขาใจในพระศาสนาที่ตนนับถือ ทําความเห็น ใหถูกตอง ใหไดช่ือวาสามารถถือเอาประโยชนจากสถานการณที่ ผานเขามา และผานพนปญหาไปอยางไดปญญา ในการชี้แจงตอไปนี้ จําเปนตองพูดพาดพิง ถาขอความที่ กลาวจะเปนเหตุใหทานผูเกี่ยวของไมสบายใจ ก็ขออภัยไวกอน แตขอใหตั้งใจรวมกันวา เราจะทําการนี้เพื่อดํารงรักษาพระพุทธ- ศาสนาใหบ ริสุทธิ์บ ริบูร ณที่สุดเทาที่จะทําได เพื่อใหพระพุทธ- ศาสนาที่บรรพบุรุษไดรักษาสืบตอตกทอดกันมาจนถึงเรา โดย อาศัยกําลังความเพียรพยายาม เรี่ยวแรง ความอุตสาหะและ ศรัทธาเปนอยางยิ่ง มิใหสูญเสียไป และเพื่อใหประชาชนทั้งใน
  • 20. กรณีธรรมกาย บั ด นี้ แ ละเบื้ อ งหน า ยั ง สามารถได รั บ ประโยชน ที่ แ ท จ ริ ง จาก พระพุทธศาสนา คือ มุงเพื่อรักษาพระธรรมวินัยและประโยชนสุข ของประชาชน ประพฤติวิปริตจากพระธรรมวินัย ก็ราย แตทาพระธรรมวินัยใหวิปริต รายยิ่งกวา ํ ปญหาเกี่ยวกับวัดพระธรรมกายที่กําลังไดรับการวิพากษ วิจารณกันอยูนี้มีหลายเรื่อง แยกไดหลายแงหลายประเด็น เชน เรืองความประพฤติสวนตัวของพระ เรืองการดําเนินงานขององคกร ่  ่ คือวัดและมูลนิธิ เกี่ยวกับการครอบครองกรรมสิทธิ์ในที่ดิน เปนตน ตลอดจนการดําเนินธุรกิจตางๆ การแสวงหาเงินทอง โดยวิธีซึ่ง เปนที่สงสัยวาจะไมถูกตอง ในแงกฎหมายบาง ในแงพระวินัยบาง โดยเฉพาะการยกอิทธิฤ ทธิ์ป าฏิห าริยขึ้น มาเผยแพรในลักษณะ ที่เปนการชักจูงใหคนบริจาคเงิน การใชวิธีกึ่งเกณฑใหเด็กนักเรียน นักศึกษา ตลอดจนขาราชการ เปนตน จํานวนมากๆ มารวมกิจกรรม โดยมีเปาหมายที่นาสงสัยวาจะมุงไปที่การใหบริจาคเงินหรือไม สุดทายก็คอ ปญหาทีเ่ กียวกับพระธรรมวินยโดยตรง โดยเฉพาะ ื ่ ั การแสดงหลักการของพระพุทธศาสนา เรืองนิพพานเปนอัตตา เรื่อง ่ ธรรมกาย และเรื่องอายตนนิพพาน ปญหาทั้งหมดนั้น ลวนมีความสําคัญ และจะตองแกไขดวย วิธีที่เหมาะสมใหถูกตองแตละอยาง แตเมื่อพิจารณาในแงของการ ดํารงรักษาพระศาสนา ปญหาสําคัญที่สุดก็คือ ปญหาเกี่ยวกับ พระธรรมวินัย ซึ่งกระทบถึงหลักการของพระพุทธศาสนา พูดให
  • 21. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๕ เขาใจงายวา การทําพระธรรมวินัยใหวปริต ซึ่งรายแรงยิ่งกวาการ ิ ประพฤติวิปริตจากพระธรรมวินัย ๑. ประพฤติวิปริตจากพระธรรมวินัย หรือทําตัววิปริตจาก พระธรรมวินัย หมายความวา พระพุทธเจาทรงสั่งสอนไวอยางไร ก็ไมประพฤติปฏิบัติตามนั้น ละเมิดพุทธบัญญัติ แตยังรูตัวหรือ ยอมรับวาการทําอยางนั้นเปนความผิด ๒. ทําพระธรรมวินัยใหวิปริต หมายความวา พระพุทธเจา สั่งสอนไวอยางหนึ่ง กลับบอกวาพระพุทธเจาสั่งสอนไวอีกอยาง หนึ่ง สิ่งที่พระพุทธเจาสอนไว กลับบอกวาพระพุทธเจาไมไดสอน สิ่งที่พระพุทธเจาไมไดสอน กลับบอกวาพระพุทธเจาสอน สิ่งที่พระ พุทธเจาสอนวาชั่วราย ผิด กลับสอนวาดีงาม ถูกตอง สิ่งที่พระ พุทธเจาสอนวาดีงาม ถูกตอง กลับสอนวาชั่วราย ผิด เปนตน ปฏิเสธ ลบลาง หรือบิดเบือนคําสั่งสอนของพระพุทธเจา ยกตัวอยางดานพระวินัย เชน วินัยบัญญัติไมใหภิกษุดื่มสุรา ไม ใ ห เ สพเมถุ น แต ภิ ก ษุ นั้ น ดื่ ม สุ ร า หรื อ เสพเมถุ น เรี ย กว า ประพฤติวิป ริต จากพระธรรมวินัย ก็ตอ งแกไ ขโดยดําเนิน การ ลงโทษไปเปนสวนเฉพาะบุคคล แตถามีพระภิกษุยึดถือประกาศขึ้นมาหรือเผยแพรวา การ ดื่มสุราก็ดี การเสพเมถุนก็ดี ไมผิดวินัย พระพุทธเจาไมไดหามไว ก็เ ปน ปญ หาถึง ขั้น ทําพระธรรมวินัย ใหวิป ริต ซึ่ง เปนเรื่อ งใหญ ถึงกับทําใหเกิดมีการสังคายนา ยกตัวอยางดานธรรม เชน พระไตรปฎกระบุไววา นิพพาน เปนอนัตตา ถามีภิกษุเห็นวานิพพานเปนอัตตา หรือไมยอมรับวา
  • 22. กรณีธรรมกาย นิพพานเปนอนัตตา เรียกวา เปน การเห็นผิด จากพระธรรมวินัย ก็ ต อ งแก ไ ขด ว ยการให ศึ ก ษาหรื อ ทําความเข า ใจกั น ให ถู ก ต อ ง เปนสวนเฉพาะตัวของภิกษุนั้น แต ถ า มี พ ระภิ ก ษุ ยึ ด ถื อ ประกาศขึ้ น มาหรื อ เผยแพร ว า พระพุทธเจาสอน หรือพระไตรปฎกระบุไววานิพพานเปนอัตตา เปนสถานที่ดินแดนมีขนาดวัดได หรือบอกวาพระไตรปฎกที่ระบุวา  นิพพานเปนอนัตตา เปนหลักฐานที่เ ชื่อ ถือ ไมไ ด ก็เ ปน ปญ หา ถึงขั้นทําพระธรรมวินัยใหวิปริต ซึ่งเปนเรื่องใหญถึงกับทําใหตองมี การสังคายนา ไมควรยอมเสียพระศาสนา เพื่อรักษาตัวของตน ยอนกลับไปขางตน ปญหาเกี่ยวกับวัดพระธรรมกายที่วา มี หลายเรือง หลายแง หลายดาน หลายประเด็นนัน มีขอนาสังเกตวา ่ ้  เมือเรืองเกิดขึนแลว ทางวัดโดยเฉพาะเจาอาวาส เงียบอยู และไดมี ่ ่ ้ ผูเ รียกรองขอใหทานเจาอาวาสมาชีแจง ตอมาทางวัดมีพระทีออกมา  ้ ่ พูดกลาวตอบทํานองวา “เรายึดแนวพระพุทธเจาจะชนะดวยความสงบนิ่ง . . . พระ พุทธเจามีผูหญิงมากลาวหาวามีทองกับพระพุทธเจา บางทีมี คนจางคนมารุมดาสองขางทาง พระองคแกอยางไร พระพุทธ เจานิ่งตลอด บอกไวเลยวาชนะไดดวยความสงบนิ่ง แลว ความจริงก็ปรากฏในที่สุด พระพุทธเจาไมเคยแกขาว อยูดวย ความนิ่งสงบ และสุดทายก็ชนะ ความจริงจะปรากฏ เราเองก็ เลยใชวิธีการเดียวกัน” (หนังสือพิมพมติชนรายวัน วันอาทิตยที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๔๒)
  • 23. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๗ การกลาวอางเชนนี้ ตองระวังมาก เพราะจะทําใหคนเขาใจผิด ตอพระพุทธเจา ความจริงพระพุทธเจาไมไดใชวธสงบนิงอยางเดียว ิี ่ ทรงใชวิธีปฏิบัติใหเหมาะสมกับสถานการณ ที่จะใหเรื่องจบสิ้นลง ดวยดี ดวยความถูกตองและชัดเจน พุทธศาสนิกชนทีคนเคยวัด คงจะไดยนพระสวดมนตบทหนึง ่ ุ ิ ่ อยูเสมอ เวลามีงานเจริญพระพุทธมนตหรือสวดพระพุทธมนต กอนฉันเพลพระภิกษุสงฆก็จะสวดบทสวดสําคัญบทหนึ่ง เรียก กันวา บทพาหุง หรือ พาหุง ๘ บท เรียกเปนภาษาทางการวา ชยมังคลัฏฐกคาถา บทสวดนี้ทานรวบรวมขึ้นไวเพื่อแสดงถึงวิธีที่ พระพุทธเจาทรงมีชัยชนะผานพนเหตุการณราย โดยทรงแกปญหา ดวยวิธีปฏิบัติตางๆ กัน ดังคําบาลีวา “พาหุ สหสฺสมภินิมฺมิตสาวุธนฺตํ . . .” เปนตน ในเหตุการณและปญหาเหลานี้ บางเรืองพระพุทธเจาทรงแก่ ดวยวิธีเมตตา บางเรื่องทรงแกดวยขันติ บางเรื่องทรงแกดวย อิทธิปาฏิหาริย บางเรื่องทรงแกดวยวิธีแหงอาการสงบ บางเรื่อง ทรงแกดวยความลึกซึ้งแหงการใชปญญา บางเรื่องทรงแกดวยการ ชี้แจงแสดงความจริง หรือแสดงธรรม การที่มากลาวอยางขางตนวา “เรายึดแนวพระพุทธเจา จะชนะ ดวยความสงบนิ่ง” นั้นเปนคําที่กํากวม อาจจะทําใหผูคนเกิดความ เขาใจวา มีเหตุการณอะไรเกิดขึ้นพระพุทธเจาก็ทรงนิ่งเฉย ซึ่ง นอกจากจะทําใหคนเขาใจผิดตอพระพุทธเจาแลว อาจจะเปนการ เสื่อมเสียตอพระพุทธคุณ สําหรั บ ผู ที่ รู เ รื่ อ งพุ ท ธประวั ติ ดี เมื่ อ ได ยิ น ได ฟ ง อย า งนี้
  • 24. กรณีธรรมกาย นอกจากจะตําหนิไดวาเปนการกอใหเกิดความเขาใจผิดแลว ก็ยัง จะรูสกไดวา ทานผูกลาวนันมุงแตจะรักษาตัวเอง โดยไมคานึงวา  ึ   ้  ํ การกระทําของตน จะเปนการกอใหเ กิดความเสียหายตอองค พระพุทธเจาและเสื่อมเสียตอศรัทธาในพระพุทธคุณ ที่ถูกนั้น ควร ยอมสละตัวเราเพือรักษาพระศาสนา ไมใชยอมใหเสียแกพระศาสนา ่ เพื่อรักษาตัวเรา จับประเด็นใหชัด วางทาทีปฏิบัติใหตรงตามตนเรื่อง สิงทีจะพูดตอไปนี้ ไมใชเรืองความคิดเห็น นีเ้ ปนขอสําคัญทีตอง ่ ่ ่ ่ ย้าไวกอน เพราะเอกสารของวัดพระธรรมกายทีเ่ ผยแพรออกมานัน ํ  ้ มีลักษณะที่ทําใหเกิดความสับสน เชน เอาเรื่องขอเท็จจริงบาง หลักฐานบาง เหตุผลความคิดเห็นตางๆ บาง มาปะปนกันไปหมด จนทําใหคนเกิดความรูสกทีมองวา แมแตพระไตรปฎกก็เปนเรืองของ ึ ่ ่ ความคิดเห็น จะตองแยกใหชดวา ขณะนีกาลังพูดถึงหลักฐาน กําลังพูดถึง ั ้ํ พระไตรปฎก เปนตน หรือกําลังพูดถึงความคิดเห็นของบุคคล ขอเขียนตอไปนี้ หรือคําชีแจงตอไปนี้ จะแสดงเฉพาะหลักฐาน ้ ทีมาในคัมภีร เริมดวยพระไตรปฎกและอรรถกถา ถามีความคิดเห็น ่ ่ ก็จะบอกไวดวยวาเปนความคิดเห็น มีบางทานพูดทํานองวา ควรจะปลอยใหตางคนตางทําไป เพราะเกรงวาจะทําใหเกิดความแตกแยก เรื่องนี้จะตองระวังรักษา ทาทีใหถูกตอง
  • 25. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๙ ขอให จําตระหนั ก ต น เรื่ อ งเดิ ม ไว ใ ห ดี ว า ไม ใ ช เ ป น เรื่ อ ง ของคนที่เ ปน ฝก เปน ฝา ยมาโตเถียงทะเลาะกัน แตเรื่อ งอยูที่วา มีปญหาเกิดขึ้น ในที่แหงหนึ่ง โดยมีบุคคลหรือกลุมคนกลุมหนึ่ง ทําความเสียหาย หรือมีพฤติกรรมที่นาสงสัยวาจะเปนความผิด หรือเปนภัย มีผูพ บเห็น แลวนํามารองเรียนแกเจาหนาที่ และ บอกกลาวแกมหาชน เจาหนาที่และประชาชนทั้งหลายจึงตองมา ชวยกันแกไขระงับปญหา โดยเฉพาะกรณีนี้ก็คือ มีกลุมคนที่มีพฤติการณอันทําใหเกิด ความสงสัยกันวากําลังกระทําความเสียหายตอพระธรรมวินัย และ ตอประโยชนสุข โดยเฉพาะผลประโยชนทางปญญาของประชาชน จึงเปนหนาที่ของชาวพุทธและประชาชนทุกคน ที่จะตองสนใจ ชวยกันปกปองรักษาธรรมวินัยไว ขอสําคัญอยูทวา จะตองระวังรักษาทาทีทถกตองนีไว อยาทํา  ี่  ี่ ู ้ ด ว ยความรู สึ ก เป น ฝ ก ฝ า ย แต ทํ า ด ว ยเจตนาที่ มุ ง จะดํ า รง พระพุทธศาสนา รักษาพระธรรมวินัยของพระพุทธเจาไวใหบริสทธิ์ ุ ในเรื่องพระธรรมวินัยนั้น การรักษาไวใหบริสุทธิ์บริบูรณที่สุด เทาที่จะทําได เปนเรื่องสําคัญที่สุด เพราะพระพุทธศาสนาอยูได ดวยพระธรรมวินัยนั้น ไมตองพูดถึงเรืองใหญโต แมแตเพียงวามีภกษุดมสุรา ชาวพุทธ  ่ ิ ื่ ก็ตองสนใจหาทางแกไข ไมใชบอกวาปลอยทานเถิด ใครอยาก ประพฤติอยางไร ก็ตางคนตางประพฤติไป ถาไปวากลาวหรือทําอะไร  เดี๋ยวจะเกิดความแตกแยก ถาชาวพุทธมีทาทีหรือทัศนคติอยางนี้ พุทธศาสนาก็จะดํารงอยูไมได คงจะสูญไปในไมชา  
  • 26. ๑๐ กรณีธรรมกาย ขอใหจําตระหนักไววา ที่พระพุทธศาสนาดํารงอยูยืนยาว มาถึงพวกเราได ก็เพราะพุทธบริษัททุกยุคทุกสมัย ถือวาการ รักษาธรรมวินัย เปนแกนกลางของการรักษาพระพุทธศาสนา เมื่อ พระพุ ท ธเจ า ปริ นิ พ พานใหม ๆ เพี ย งมี ภิ ก ษุ รู ป หนึ่ ง พู ด ว า พระพุทธเจาปรินพพานแลว ตอไปไมมใครจะคอยวากลาว ิ ี เราจะไดทําอะไรโดยสะดวก พระมหากัสสปะไดฟงคําเพียงเทานี้ ก็เรง ชักชวนพระอรหันตทั้งหลายมาประชุมกันสังคายนา รวบรวม คําสังสอนของพระพุทธเจาวางไวเปนหลักของพระศาสนา ดังปรากฏ ่ อยูในพระไตรปฎกสืบมา ความจริงนั้นเปนหนึ่งเดียว และเมื่อเขาถึงความจริง คนก็จะ เปน อัน หนึ่ง อัน เดีย วกัน โดยความจริง นั้น ไมมีอ ะไรที่จ ะทําให เปนอันหนึ่งอันเดียวกันไดจริงเทากับความจริง เพื่อใหพิจารณาเรื่องราวไดชัดเจน ขอโอกาสนําเอาเอกสาร ของวัดพระธรรมกายที่ไดเผยแพร ซึ่งอางถึงขางตนนั้น มาลงพิมพ ไวดวย (ดู ผนวก ๑ ทายภาค ๑) และขออภัยอีกครังหนึง ทีบางครังจะตอง  ้ ่ ่ ้ ยกขึ้นมาเปนบทตั้งในการพิจารณา ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความชัดเจน
  • 27. ปญหาของวัดพระธรรมกาย สวนที่กระทบตอพระธรรมวินัย วัดพระธรรมกาย เผยแพรคําสอนคลาดเคลื่อนไปจากหลักพระพุทธ ศาสนาหลายประการ เชน ๑. สอนวานิพพานเปนอัตตา ๒. สอนเรืองธรรมกายอยางเปนภาพนิมต และใหมธรรมกาย ทีเปนตัว ่ ิ ี ่ ตนเปนอัตตาของพระพุทธเจามากมายหลายพระองค ไปรวมกันอยูในอายตน- นิพพาน ๓. สอนเรืองอายตนนิพพาน ทีปรุงถอยคําขึนมาเองใหม ใหเปนดินแดน ่ ่ ้ ที่จะเขาสมาธิไปเฝาพระพุทธเจาได ถึงกับมีพิธีถวายขาวพระ ที่จะนําขาวบูชาไป ถวายแดพระพุทธเจาในอายตนนิพพานนั้น คําสอนเหลานี้ ทางสํานักพระธรรมกายสอนขึ้นใหม ผิดเพี้ยนออกไปจาก ธรรมวินัยของพระพุทธเจา แตแทนที่จะใหรูกันตามตรงวาเปนหลักคําสอนและ การปฏิบัติของครูอาจารย ทางวัดพระธรรมกายกลับพยายามนําเอาคําสอนใหม ของตนเขามาสับสนปะปนหรือจะแทนทีหลักคําสอนเดิมทีแทของพระพุทธศาสนา ่ ่
  • 28. ๑๒ กรณีธรรมกาย ยิ่ง กวานั้น เพื่อ ใหสําเร็จวัต ถุป ระสงคขางตน วัดพระธรรมกายยังได เผยแพรเอกสาร ที่จว งจาบพระธรรมวินัย ชักจูง ใหคนเขาใจผิด สับ สน หรือ แมแตลบหลูพระไตรปฎกบาลี ที่เปนหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท เชน – ใหเขาใจวาพระไตรปฎกบาลี บันทึกคําสอนไวตกหลน หรือมีฐานะ เปนเพียงความคิดเห็นอยางหนึ่ง เชื่อถือหรือใชเปนมาตรฐานไมได – ใหนําเอาพระไตรปฎกฉบับอื่นๆ เชน พระไตรปฎกภาษาจีน และคํา สอนอื่นๆ ภายนอก มารวมวินิจฉัยพระพุทธศาสนาเถรวาท – ใหเขาใจเขวไปวาหลักการของพระพุทธศาสนาเปนเรื่องอภิปรัชญา ขึนตอการตีความ และความคิดเห็น ตลอดจนการถกเถียงทางวิชาการ ้ – อางนักวิชาการตางประเทศ และการปฏิบัติของตน ดังวาจะใชวินิจฉัย หลักพระพุทธศาสนาได ฯลฯ อีกทั้งสิ่งที่ยกมาอาง เชน คัมภีรของมหายาน และทัศนะของนักวิชาการ  ตะวันตก ก็ไมตรงตามความเปนจริง หรือไมก็เลื่อนลอย นอกจากนั้น ยังนําคําวา “บุญ” มาใชในลักษณะที่ชัก จูง ประชาชนให วนเวียนจมอยูกับการบริจาคทรัพย เพื่อวัตถุประสงคตางๆ ชนิดที่สงเสริมความ  ยึดติดถือมั่นในตัวตนและในตัวบุคคล อันอาจกลายเปนแนวโนมที่บ่นรอนสังคม ั ไทยในระยะยาว พรอมทั้งทําพระธรรมวินัยใหลางเลือนไปดวย พฤติการณของสํานักวัดพระธรรมกายอยางนี้ เปนการจาบจวง ลบหลู ย่ํายีพระธรรมวินัย สรางความสับสนไขวเขวและความหลงผิดแกประชาชน ขอความบรรยายตอไปนี้ ไดเขียนไวเพื่อเปนทางแหงการศึกษา ใหเกิด ความเขาใจที่ถูกตอง พรอมทั้ง เปนเหมือนคําขอรองตอชาววัดพระธรรมกาย ผูยังเห็นแก พระพุทธศาสนา เมื่อรูเขาใจแลว จะไดหันมารวมกันทําบุญที่ยิ่งใหญ และสนอง พระคุณบรรพบุรุษไทย ดวยการรักษาพระธรรมวินัยใหบริสุทธิ์สืบไป
  • 29. รูจักพระไตรปฎก พระพุทธศาสนาไมใชปรัชญา เบื้องแรกตองรูความแตกตางระหวางศาสนากับปรัชญากอน ปรัชญาเปนเรื่องของการคิดหาเหตุผล และถกเถียงกันในเรื่อง เหตุผลนั้นเพื่อสันนิษฐานความจริง เรื่องที่ถกเถียงนั้นอาจจะไม เกี่ยวกับการดําเนินชีวิตที่เปนอยู เชน นักปรัชญาอาจจะถกเถียง กันวา จักรวาลหรือจักรภพเกิดขึ้นเมื่อไรและจะไปสิ้นสุดเมื่อไร โลกจะแตกเมื่อไร ชีวิตเกิดขึ้นเมื่อไร เปนตน นอกจากนั้ น นั ก ปรั ช ญาก็ ไ ม จําเปนตองดําเนินชีวิตตาม หลักการอะไร หรือแมแตใหสอดคลองกับสิ่งที่ตนคิด เขาคิดหาเหตุ ผลหาความจริงของเขาไป โดยที่วาชีวิตสวนตัวอาจจะเปนไปใน ทางที่ตรงขามก็ได เชน นักปรัชญาบางคนอาจจะเปนคนคุมดี- คุมราย บางคนสํามะเลเทเมา บางคนมีทุกขจนกระทั่งฆาตัวตาย แตศาสนาเปนเรื่องของการปฏิบัติ เรื่องของการดําเนินชีวิต หรือการนํามาใชใหเปนประโยชนในชีวิตจริง การปฏิบัตินั้นตองมี หลักการที่แนนอนอยางใดอยางหนึ่ง และจะตองมีจุดหมายชัดเจน ดวยวาตองการอะไร การที่ตอ งมีขอ ปฏิบัติที่แ นน อนและตองมี จุดหมายทีชดเจนนัน ผูปฏิบตกตองยอมรับหลักการอยางใดอยางหนึง ่ั ้  ัิ็ ่
  • 30. ๑๔ กรณีธรรมกาย และก็ตองถามตอไปวาจะยอมรับหลักการที่บุคคลผูใดไดคนพบ หรือแสดงไว ซึ่งเราเรียกวาพระ “ศาสดา” เพราะฉะนั้น ผูปฏิบัติคือศาสนิกชน เริ่มตนก็ตองยอมรับหรือ เชื่อการตรัสรูหรือการคนพบความจริงขององคพระศาสดา หรือ ยอมรับหลักการที่ศาสนานั้นไดแสดงไว ซึ่งเราเรียกวาคําสอน เพราะฉะนั้นศาสนิกจึงมุงไปที่ตัว คําสอนของพระศาสดา หรือ หลักการที่ศาสนาวางไว คําสอนของพระศาสดานั้นก็รวบรวมและ รักษาสืบทอดกันไวในสิ่งที่เรียกกันวาคัมภีร ในพระพุทธศาสนา เรียกคัมภีรทรกษาคําสอนของพระพุทธเจา  ี่ ั ซึ่งเปนพระศาสดาของพระพุทธศาสนาวา “พระไตรปฎก” พระไตรปฎก คือที่สถิตของพระศาสดา คัมภีรศาสนา เชน ในพระพุทธศาสนาคือพระไตรปฎกนี้ เปนมาตรฐาน เปนเกณฑตัดสินความเชื่อและการประพฤติปฏิบัติ เปนที่มา เปนแหลงรักษาหลักการของศาสนานั้นๆ ถาคําสอนหรือ หลั ก การที่ แ ท ข องพระศาสดาที่ รั ก ษาไว ใ นพระไตรป ฎ กหรื อ ใน คัมภีรนั้น สูญสิ้นหมดไป ก็ถือวาศาสนานั้นสูญสิ้น ดังนั้น ศาสนาทั้งหลายจึงถือการรักษาคัมภีรศาสนาของตน เปนเรื่องสําคัญที่สุด และพระพุทธศาสนาก็ถือวาการรักษาคัมภีร พระไตรปฎกเปนเรื่องใหญที่สุด แมแตในประวัติศาสตรชาติไทยของเรา มองยอนหลังไป ไม ตองยาวไกล เพียงแคยุคกรุงธนบุรี และยุครัตนโกสินทร หลังกรุงเกาแตก เมื่อพระเจาตากสินมหาราชกูอิสรภาพได
  • 31. พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๕ รวบรวมคนไทย ตั้งกรุงธนบุรีสําเร็จ ก็ทรงดําเนินงานใหญในการ ฟนฟูพระพุทธศาสนา คือ โปรดฯใหรวบรวมคัมภีรพระไตรปฎก จากหัวเมืองตางๆ มาคัดจัดตั้งเปนฉบับหลวง ที่จะเปนหลักของ พระศาสนาสืบไป เมื่อพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงตั้งกรุงเทพฯเปน เมืองหลวงใหมเสร็จ จัดบานเมืองเรียบรอยแลว ก็โปรดฯใหมีการ สังคายนา และคัดพระไตรปฎกฉบับหลวงขึ้นตั้งไว เปนหลักคูบาน คูเมือง พระพุทธเจาเองไดตรัสไววา เมื่อพระองคปรินพพานไปแลว ิ ธรรมวินัยที่ทรงแสดงแลวและบัญญัติแลว แกสาวกทั้งหลายนั้น จะเปนศาสดาแทนพระองคสืบตอไป ธรรมวินัยนั้นเวลานี้อยูที่ไหน ก็รักษาไวในพระไตรปฎก ธรรมวินัย ก็คือหลักการและหลักเกณฑของพระพุทธศาสนา ที่มาจากพุทธพจนและพุทธบัญญัติ ซึ่งเปนบรรทัดฐานที่ชัดเจน ยิ่งหลักการที่สาคัญ อยางนิพพานซึ่งเปนจุดหมายสูงสุดของ ํ พระพุทธศาสนาดวยแลว ก็จะตองมีความแนนอนวาเปนอยางไร เพราะวาศาสนิกหรือผูปฏิบัติทั้งหลาย ยังไมอาจรูเขาใจหลักการ นี้ดวยประสบการณของตนเอง พระศาสดาจึงตองแสดงไวใหชัด เทาที่จะใชภาษาสื่อสารใหสติปญญาของผูปฏิบัติรูเขาใจได ถามิฉะนั้น เมื่อปฏิบัติไป แทนที่จะบรรลุนิพพานของพระ พุทธศาสนา ก็อาจจะกลายเปนนิพพานของฮินดูไป หรืออาจจะเขา ถึงฌานสมาบัติ แลวก็เขาใจวานีเ่ ปนนิพพาน หรือปฏิบัติไป รูสึกวา จิตไปเขารวมกับสภาวะอยางใดอยางหนึ่ง แลวก็นึกวานั่นเปน นิพพาน
  • 32. ๑๖ กรณีธรรมกาย เพราะฉะนั้น หลักการที่สาคัญนี้ พระศาสดาจะตองวางไว ํ อยางชัดเจนที่สุด เทาที่สติปญญาของคนที่ปฏิบติซึ่งยังไมรูไดดวย ั ตนเอง จะเขาใจได พระไตรปฎกเปนแหลงรวมคําสั่งสอนของพระพุทธเจา ที่ เรียกวา “ธรรมวินย” นี้ ตังแตเรืองนิพพานซึงเปนจุดหมายสูงสุดลงมา ั ้ ่ ่ ทังคําสอนทางปญญา อยางไตรลักษณ ปฏิจจสมุปบาท ทังขอปฏิบติ ้ ้ ั คือไตรสิกขา ตลอดจนวินยเชนทีเ่ รียกวาศีล ๒๒๗ ของพระภิกษุสงฆ ั ศีล ๑๐ ของสามเณร และศีล ๕ ศีล ๘ ของอุบาสกอุบาสิกา ทังหมดนี้้ อาศัยพระไตรปฎกเปนแหลงรวบรวมไว และเปนมาตรฐานทั้งสิ้น ควรจะยกพุทธพจนที่ต รัส เมื่อจะปรินิพพาน มาย้ําเตือ น พุทธศาสนิกชนกันไวเสมอๆ วา โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปฺตฺโต, โส โว มมจฺจเยน สตฺถา (ที.ม.๑๐/๑๔๑/๑๗๘) แปลวา: “ดูกอนอานนท ธรรมและวินัยใดที่เราไดแสดง แลว บัญญัติแลว แกเธอทั้งหลาย,ธรรมและวินัยนั้น เปน ศาสดาของเธอทั้งหลาย เมื่อเราลวงลับไป” เวลานี้ ธรรมวินยทีทรงตังไวเปนศาสดาแทนพระองคอยูทไหน ั ่ ้  ี่ ก็อยูในพระไตรปฎก เพราะฉะนั้นจึงถือวา พระไตรปฎกเปนที่สถิต ของพระพุทธเจา